The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 16 (web)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Developer Software, 2024-01-31 22:13:42

จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 16 (web)

จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 16 (web)

การต้อนรับคณะผู้บริหารจาก University of Health Science Hospital สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและ Korean International Healthcare Foundation พิธีเปิดสำานักงานภาควิชานิติเวชศาสตร์ และสาขานิติเวช พิธีรับมอบทุนการศึกษาสำาหรับนักศึกษา ประจำาปีการศึกษา 2566 พิธีลงนามใน Letter of Intent ร่วมกับสถาบันจากสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี การต้อนรับคณะผู้บริหารจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พิธีเปิดห้องอเนกประสงค์เพื่อการเรียนรู้ และห้องคณะกรรมการนักศึกษาแพทย์ และสมาคมศิษย์เก่าแพทย์ธรรมศาสตร์ Thammasat Open House 2023 และ MedTU Open House 2023 : เปิดบ้านคณะแพทย์ มธ. การต้อนรับผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษาที่มีความร่วมมือทางวิชาการ การต้อนรับคณะดูงาน K-MEDi Hub ประเทศเกาหลีใต้ การต้อนรับคณะดูงานโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี พิธีเปิดศูนย์ไตเทียมแพทย์ธรรมศาสตร์ และศูนย์ตรวจสุขภาพการนอนหลับ การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยและนักศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ในการสรรหา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ พิธีเปิดอาคารชวนชูชาติ (วพน.7) รายการพิเศษ ‘วันธรรมศาสตร์ 9 ธันวาคม’ การเสนอชื่อผู้สมควรดำารงตำาแหน่งคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งานกีฬาบุคลากรศูนย์สุขศาสตร์ ครั้งที่ 11 (11th TU HEALTH SCIENCE GAMES) งานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ พ.ศ. 2567 พิธีมอบใบประกาศนียบัตรหลักสูตร Clinical Sexology และหลักสูตร Sexual Medicine การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการวิจัยทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นทะเบียนเครื่องมือแพทย์ ตามมาตรฐาน ISO 14155 และ ISO 20916 การบรรยาย และปฏิบัติติด้วย STATA/R การอบรมเชิงปฏิบัติการ Peripheral Vascular Exposure Cadaveric workshop for Resident 2024 "Mass Shooting" รับมืออย่างไร เมื่อพิบัติภัยกราดยิง Dynamic functionalities of cellular and exosomal intergrins งานประชุมวิชาการ 4th TU Ed-program ครั้งที่ 3 โครงการโภชนาการดี ชีวีมีสุข การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำาปีงบประมาณ 2567 CTEPH Expert Meeting 17th Year Anti-lgE Translate evidence to practice in Thailand โครงการเวชศาสตร์ฟื้นฟูสังคม ครั้งที่ 11 Activities Academics Activities Academics Awards Personnel รางวัลบัณฑิตแพทยศาสตร์ดีเยี่ยม ประจำาปี 2566 การรับรองมาตรฐานระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ISO 27001 รางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย ประจำาปีงบประมาณ 2567 รางวัลในงานประชุม 45th RCOST & 43rd ASEAN OA Meeting with Guest Nation from Australia (AOA) WORLD’S TOP 2% SCIENTISTS ปี 2023 รางวัลการนำาเสนอผลงานนวัตกรรม ในงาน Seoul International Invention Fair 2023 (SIIF 2023) รางวัลการนำาเสนอผลงานวิจัย ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ “การแพทย์แผนไทยและสาธารณสุขวิจัย ครั้งที่ 4” รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น ประจำาปี 2566 รางวัลการนำาเสนอผลงานวิจัย ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ ด้านการวิจัยของนักศึกษาแพทย์ (International Medical Student Research Conference : IMRC 2023) ประเภท Poster Presentation การได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก “มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก” ประจำาปี 2565 แต่งตั้งรองหัวหน้าสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ การแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งทางวิชาการ การแต่งตั้งบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการให้ดำารงตำาแหน่งที่สูงขึ้น “ไมเกรน” โรคฮิตวัยทำางานนวัตกรรมการรักษา “ตาแห้งเรื้อรัง” FACULTY OF MEDICINE คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Website: http://www.med.tu.ac.th / https://www.med-thammasat.org Facebook: med.tu / Faculty of Medicine, Thammasat University / พบหมอธรรมศาสตร์ Youtube: Faculty of Medicine Thammasat University จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร เรื่องน่ารู้ และกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า และผู้สนใจทั่วไป ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์ บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงค์กร ซ้ายโพธิ์กลาง กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิระ นันทพิศาล รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อัสนี ทองอยู่ หทัยรัตน์ สาธุธรรม รุ่งทิพย์ นามวิชา ธาตรี ทวีแสง ปัณฑ์ณัฐ ปานพรม รัชต์พล ชมบุญ เลขานุการบรรณาธิการ อรพรรณ บุญเรือง ผู้ช่วยเลขานุการบรรณาธิการ อาทิตยา เรืองรุ่งชัยกุล สรัญญา สุวรรณวงศ์ จัดทำาโดย: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์: 0-2926-9004 โทรสาร: 0-2516-3771 E-mail: [email protected] พิมพ์ที่: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2564-3104-6 Oct- Dec 2023 Students / Residencies / Fellowships โครงการเพลงสัมพันธ์ ประจำาปีการศึกษา 2566 การนำาเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต ชั้นปีที่ 4 พิธีไหว้ครูและครอบครูแผนไทย ประจำาปีการศึกษา 2566 ค่ายฝันเป็นหมอขอได้ไหม ครั้งที่ 22 การเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนการฝึกปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ การดูงานด้านการฝึกปฏิบัติหัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ เวชกรรมไทยประยุกต์ และเภสัชกรรมไทยประยุกต์ โครงการผู้บริหารพบผู้แทนคณะกรรมการนักศึกษาแพทย์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน การศึกษาตัวอย่างสมุนไพรจำาแนกตามหลักอนุกรมวิธาน พิธีมอบใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประจำาปีการศึกษา 2564 พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจำาปีการศึกษา 2564


“ไมเกรน” โรคฮิิตวััยทำำ�งาน รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ประวีีณ โล่่ห์์เลขา อาจารย์์ประจำำ�ภาควิิชาอายุุรศาสตร์์ โรคไมเกรนคืืออะไร อัันตรายแค่่ไหน? โรคไมเกรน คืือโรคปวดศีีรษะชนิิดหนึ่่�งซึ่่�งจััดอยู่่�ในกลุ่่�มปวดศีีรษะ ปฐมภููมิิ (Primary Headache) หมายถึึง อาการปวดศีีรษะที่่�เกิิดขึ้้�นเอง ไม่่ได้้เป็็นผลจากโรคหรืือภาวะอื่่�น ๆ เช่่น โรคเนื้้�องอกในสมอง โรคหลอด เลืือดสมอง ภาวะติิดเชื้้�อในสมอง ซึ่่�งในกลุ่่�มนี้้�จะเรีียกว่่า ปวดศีีรษะทุุติิยภููมิิ (Secondary Headache) โรคไมเกรนพบได้้บ่่อย ในวััยทำำงาน หรืืออายุุ ในช่่วง 25-55 ปีี พบในเพศหญิิงมากกว่่าเพศชาย ประมาณ 2-3 เท่่า แม้้ว่่า โรคไมเกรนจะไม่่ใช่่โรคอัันตราย แต่่เนื่่�องจากเป็็นโรคที่่�มีีอาการเรื้้�อรััง โดย เฉพาะในวััยทำำงานจึึงส่่งผลต่่อคุุณภาพชีีวิิต การทำำงานและสัังคมเป็็น อย่่างมาก ไมเกรนเกิิดขึ้้�นได้้อย่่างไร? ในปัจจุับัุัน ยัังไม่่ทราบสาเหตุุ หรืือกลไกการเกิิดโรคที่ชั่�ัดเจนได้ทั้้ ้ �งหมด แต่่เชื่่�อว่่ามีีความสััมพัันธ์์กัับพัันธุุกรรม สิ่่�งแวดล้้อม และ lifestyle ซึ่่�งจะส่่งผล ให้้สมองมีีความไวต่่อตััวกระตุ้้นจากภายนอกที่่�มากกว่่าปกติิ ทำำ ให้้เกิิด อาการปวด นอกจากนี้้�ยัังพบว่่ามีีการหลั่่�งของสารสื่่�อประสาทที่่�เรีียกว่่า CGRP หรืือ Calcitonin Gene-related Peptide ซึ่่�งจะทำำหน้้าที่่�ในการ ช่่วยส่่งสัญญั าณการปวด กระตุ้้นการอัักเสบและส่่งผลให้้เกิิดการขยายตััว ของหลอดเลืือดที่่�เยื้้�อหุ้้มสมองจนเกิิดอาการปวดศีีรษะ ปวดไมเกรนมีีอาการอย่่างไร? อาการปวดศีีรษะไมเกรนมัักเป็็นครึ่่�งซีีก ซ้้ายหรืือขวา แต่่อาจปวดทั้้�ง สองข้้างได้้เช่่นกััน อาการปวดมีลัีักษณะปวดตุ๊๊�บ ๆ ที่ขมั่�ับ ร้้าวไปกระบอกตา ท้้ายทอยได้้ อาการปวดมัักมีีความรุุนแรงสููง (Pain Score >5) และหาก ไม่่ได้้รัับการรัักษา อาจทำำ ให้้มีีอาการปวดต่่อเนื่่�องได้้นานถึึง 4-72 ชั่่�วโมง นอกจากนี้้�อาการปวดอาจมากขึ้้�นเมื่่�อทำำกิิจกรรมทั่่�ว ๆ ไป เช่่น เดิิน วิ่่�ง หรืือขึ้้�นลงบัันได มีีอาการคลื่่�นไส้้ อาเจีียน ไวต่่อแสง หรืือไวต่่อเสีียงร่่วม ด้้วยได้้ ปััจจััยกระตุ้้นอาการปวดศีีรษะไมเกรน มีปัีจัจััยกระตุ้้นหลายอย่่างที่ทำ่�ำ ให้้เกิิดอาการปวดศีีรษะไมเกรน ซึ่่�งใน แต่่ละคนอาจมีีความแตกต่่างกััน ต้้องหมั่่�นสัังเกตว่่าสิ่่�งใดเป็็นปััจจััยกระตุ้้น ของเราและหลีีกเลี่่ย�งปัจัจััยเหล่่านั้้�น เช่่น ความเครียีด พัักผ่่อนน้้อย การอด อาหาร ขาดน้ำำ� หรืือทานอาหารที่มี่�ีสารเคมีถีนอมอาหาร อาหารหมัักดอง ชีีส ผงชููรส ช็็อกโกแลต แอลกอฮอล์์ แสงจ้้า จากแดด แสงไฟ แสงจากหน้้าจอ เสีียงดััง กลิ่่�นบุุหรี่่� กลิ่่�นน้ำำ�หอมฉุุน ๆ อากาศที่่�เปลี่่�ยนแปลง การขึ้้�นลงของ ระดัับฮอร์์โมนโดยเฉพาะฮอร์์โมนเพศหญิิงช่่วงที่มี่�ีประจำำเดืือน หรืือการรัับ ประทานยาคุุมกำำเนิิด รัักษาไมเกรนได้้อย่่างไร - เนื่่�องจากไมเกรนมีลัีักษณะเป็็น ๆ หาย ๆ เป็็นเรื้้�อรัังและไม่่สามารถ รัักษาให้้หายขาดได้้ ดัังนั้้�น การหลีีกเลี่่ย�งปัจัจััยกระตุ้้นจึึงเป็็นส่่วนที่มี่�ีความ สำำคััญที่่�สุุด เพื่่�อปกป้้องโอกาสการเกิิดไมเกรน - หากมีีอาการปวดสามารถรัับประทานยาแก้้ปวดชนิิดต่่างๆ เพื่่�อ บรรเทาอาการได้้ แต่่การรัับประทานยาแก้้ปวดต่่อเนื่่�องในระยะยาวมัักส่่ง ผลเสียต่่ ีอร่่างกาย โดยทั่่�วไปยาในกลุ่่�ม Paracetamol มัักจะไม่่ค่่อยได้้ผลใน การรัักษาไมเกรน และส่่งผลเสียต่่ ีอตัับหากรัับประทานมากเกิินไป ยาในกลุ่่�ม ต้้านการอัักเสบที่่�ไม่่ใช่่สเตียีรอยด์์ (NSAIDs) เช่่น Ibuprofen, Naproxen มัักกััดกระเพาะและส่่งผลเสีียต่่อไตยาในกลุ่่�ม Ergotamine และยาในกลุ่่�ม Triptans มีีผลทำำ ให้้หลอดเลืือดหดตััว ดัังนั้้�นจึึงต้้องระมััดระวัังในการใช้้ เนื่่�องจากส่่งผลข้้างเคีียงทำำ ให้้เจ็็บแน่่นหน้้าอก หลอดเลืือดหััวใจและหลอด เลืือดแดงส่่วนปลายหดตััวแบบรุุนแรงได้้ ควรทำำ�อย่่างไรหากปวดไมเกรนเป็็นประจำำ� - ในกรณีีที่มี่�ีอาการปวดไมเกรนบ่่อย ๆ หรืือมากกว่่า 4 ครั้้�งต่่อเดืือน ขึ้้�นไป อาจพิิจารณาการใช้้ยาป้้องกััน เช่่น ยาลดความดััน ยากัันชััก ยาต้้านเศร้้า ซึ่่�งต้้องใช้้ยาต่่อเนื่่�องในระยะยาว แพทย์์จะเป็็นผู้้แนะนำำถึึงการ ใช้้ยาที่่�เหมาะสม - นอกเหนืือจากการรัับประทานยาป้้องกััน ในปััจจุุบัันมีีการรัักษา และป้้องกัันอาการปวดไมเกรนชนิิดอื่่�น ๆ เช่่น การฉีีด Botulinum Toxin ที่่�บริิเวณหนัังศีีรษะ ทุุก ๆ 3-6 เดืือน และการฉีีดยายัับยั้้�งสาร CGRP รููปแบบใต้้ผิิวหนััง เดืือนละครั้้�ง ซึ่่�งสามารถป้้องกัันอาการปวดไมเกรนได้้ดีี และมีีผลข้้างเคีียงน้้อย สรุุป - ไมเกรนเป็็นโรคเรื้้�อรััง ซึ่่�งพบบ่่อยในวัยทำั ำงาน ส่่งผลต่่อคุุณภาพชีวิีติ การทำำงานและการเข้้าสัังคม - ไมเกรนเป็็นโรคที่่�รัักษาและป้้องกัันได้้ - การหลีีกเลี่่ย�งปัจัจััยกระตุ้้น การพัักผ่่อนที่่�เพียีงพอ ออกกำลัำ ังกาย สม่ำำ�เสมอ ร่่วมกัับรัับประทานยาให้้ถููกต้้องสม่ำำ�เสมอด้้วยคำำแนะนำำ ของแพทย์์ จะช่่วยป้้องกัันจากโรคไมเกรนได้้ - 1 -


นวััตกรรมการรัักษา “ตาแห้้งเรื้้�อรััง” อาจารย์์ นายแพทย์์ดวงมนตรีี โรจน์์ดำำ�รงรััตนา อาจารย์์ประจำำ�ภาคจัักษุุวิิทยา ปัจจุับัุันพบว่่ามีปัีญัหาเรื่่�องฝุ่่�น PM 2.5 และนอกจากนี้้ยั�ังมีีการใช้้ สายตามากขึ้้�นในการมองคอมพิิวเตอร์์ ในทุุกเพศทุุกวัยัทำำ ให้้ในปัจจุับัุัน เกิิดปััญหาเรื่่�องของโรคตาแห้้งมากขึ้้�น โรคตาแห้้ง จะมีีอาการตื่่�นเช้้ามารู้้สึึกว่่าเปิิดตาลำำบากเคืืองตา รู้้สึึกมีีเม็็ดอะไรที่่�ตาอยู่่�ตลอดเวลา หากหยอดน้ำำ�ตาเทีียมในบางคน ก็็จะรู้้สึึกดีีขึ้้�น ซึ่่�งที่่�โรงพยาบาลธรรมศาสตร์์ มีีนวััตกรรมใหม่่แนะนำำ เพื่่�อเป็็นทางเลืือกหนึ่่�งในการรัักษาของผู้้ป่่วยที่่�มีีปััญหาโรคตาแห้้ง นวััตกรรมนี้้�คืือ การใช้้แสงความเข้้มข้้นสููง หรืือเราเรีียกว่่าเป็็น IPL (Intense Pulse Light) ในการรัักษาโรคตาแห้้งกัับคนไข้้ ร่่วมกัับ นวัตักรรมใส่่หน้้ากากที่่�เรียีกว่่า LLLT สามารถที่จ่�ะรัักษาโรคตาแห้้งได้้ โดยพบว่่าเมื่่�อเราทำำ IPL ร่่วมกัับ LLLT อาการตาแห้้งและการอัักเสบ ของคนไข้ล้ดลง บางคนมีปัีญัหาเรื่่�องคัันตา ที่่�เกิิดจากเชื้้�อไรฝุ่่�น จะสามารถ ฆ่่าเชื้้�อไรฝุ่่�นได้้ด้้วย ในคนที่่�เริ่่�มมีีปััญหาเกี่่�ยวกัับเปลืือกตาม้้วนเข้้า มีีเส้้นเลืือดที่่�ไปเลี้้ย�งตรงบริิเวณนั้้�นเยอะ จะสามารถลดการอัักเสบของ เส้้นเลืือดบริิเวณนั้้�นได้้ด้้วย การรัักษาด้้วย IPL จะรัักษาด้้วยการนำำตััวอุุปกรณ์์วางตรงที่่� บริิเวณใบหน้้าของคนไข้้ จะมีีการใช้้แสง IPL ยิิงไปที่่�บริิเวณใบหน้้าของ คนไข้้ บริิเวณรอบ ๆ ดวงตาทั้้�งสองข้้าง ระหว่่างที่่�ยิิงแสง IPL คนไข้้ จะไม่่รู้้สึึกเจ็็บ จะมีีอาการร้้อน ๆ เกิิดขึ้้�นเล็็กน้้อยนิิดหน่่อย หลัังจากนั้้�น จะครอบหน้้ากากหรืือที่่�เรีียกว่่าเป็็น LLLT ซึ่่�งเป็็นนวััตกรรมแสง สีีแดงในการทำำร่่วมกััน คนไข้จ้ะมีีความรู้้สึึกว่่าจะมีีแสงมากขึ้้�นและอุ่่�น ๆ โดยระยะเวลาในการ ทำำงานของอุุปกรณ์์นี้้� จะขึ้้�นอยู่่�กัับตััวไขมัันของตาที่่�มัันมากน้้อยขนาดไหน หลัังจากที่่�เราทำำ IPL เรีียบร้้อยแล้้ว แพทย์์จะทำำการบีีบนวดไขมัันที่่�มีีปััญหาบริิเวณ ดวงตาของคนไข้้ ซึ่่�งไขมัันตััวนี้้�เป็็นไขมัันที่่�มัันไม่่ค่่อยดีี บางคนอุุดตััน อาจนำำมาสู่่�การเป็็นตากุ้้งยิิงได้้ ดัังนั้้�นนวััตกรรม IPL ร่่วมกัับ LLLT และการบีีบนวดไขมัันโดยแท่่งแก้้ว จะสามารถช่่วยรัักษาตากุ้้งยิิง และป้้องกัันการเกิิดได้้ในผู้้ที่่�ไม่่ได้้เป็็นตากุ้้งยิิง หรืือต้้องการที่่�จะ ป้้องกััน สามารถที่่�จะเข้้ารัับการปรึึกษา หรืือรัักษาได้้ที่่�โรงพยาบาล ธรรมศาสตร์์เฉลิิมพระเกีียรติิ


การต้้อนรัับคณะผู้้บริิหารจาก University of Health Science Hospital สาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาวและ Korean International Healthcare Foundation วัันที่่� 5 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. นายแพทย์สิ์ ิระ นัันทพิศิาลผู้้ช่่วยคณบดีฝ่่ ีายบริิหารและวิิเทศสััมพัันธ์์ พร้้อมด้้วย รองศาสตราจารย์์ ดร.พงศกร มาตย์์วิิเศษ อาจารย์์ประจำำสาขาวิิชาปรสิิตวิิทยา (ประธานหลัักสููตรชีีววิิทยาศาสตร์์ประยุุกต์์) และบุุคลากรคณะแพทยศาสตร์์ ให้้การต้้อนรัับคณะผู้้บริิหารจาก University of Health Science Hospital สาธารณรััฐประชาธิิปไตยประชาชนลาว และ Korean International Healthcare Foundation ที่่�มาเยี่่�ยมชมคณะและปรึึกษาหารืือถึึงความร่่วมมืือทางวิิชาการและการเรีียนการสอนที่่�จะเกิิดขึ้้�นในอนาคต ณ ห้้องประชุุมอารีี วััลยะเสวีี คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต พิิธีีเปิิดสำำ�นัักงานภาควิิชานิิติิเวชศาสตร์์ และสาขานิิติิเวช วัันที่่� 5 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ พร้้อมด้้วยคณาจารย์์และบุุคลากร เข้้าร่่วมในพิิธีีเปิิดสำำนัักงานภาควิิชานิิติิเวชศาสตร์์ และสาขานิิติิเวช โดยมีี ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ทศนััย พิิพััฒน์์โชติิธรรม หััวหน้้าภาควิิชา นิิติิเวชศาสตร์์ เป็็นผู้้กล่่าวรายงาน และนำำชมส่่วนต่่าง ๆ ของสำำนัักงาน พิิธีีรัับมอบทุุนการศึึกษาสำำ�หรัับนัักศึึกษา ประจำำ�ปีีการศึึกษา 2566 วัันที่่� 10 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิยิโยทัยั คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ พร้้อมด้้วยคณะผู้้บริิหารร่่วมให้้การต้้อนรัับ คณะกรรมการมููลนิิธิิทุุนแพทย์์เพื่่�อปวงประชาในโอกาสมอบ ทุุนการศึึกษาให้้แก่่นัักศึึกษาแพทย์์เรีียนดีี ประจำำปีีการศึึกษา 2566 ณ ห้้องประชุุมแพทย์์โดม 3 ชั้้�น 2 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต - 3 -


Thammasat Open House 2023 และ MedTU Open House 2023 : เปิิดบ้้านคณะแพทย์์ มธ. วัันที่่� 27-28 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 คณะแพทยศาสตร์์ เข้้าร่่วมกิิจกรรม Thammasat Open House 2023 ณ ยิิมเนเซีียม 4-5 และจััดกิิจกรรม MedTU Open House 2023 : เปิิดบ้้านคณะแพทย์์ มธ. เพื่่�อให้นั้ ักเรียีนระดัับชั้้�น มััธยมศึึกษาจากโรงเรีียนทั่่�วประเทศ ผู้้สนใจในวิิชาชีีพแพทย์์ได้้ทราบถึึง เนื้้�อหาวิิชา กระบวนการเรีียนการสอน รวมถึึงแนะแนวทางในการศึึกษาต่่อที่่�คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ อัันจะเป็็นประโยชน์ต่่ ์อการตััดสิินใจ เลืือกศึึกษาต่่อในอนาคต ณ อาคารศููนย์์ฝึึกทัักษะทางการแพทย์์ธรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต การต้้อนรัับคณะผู้้บริิหารจากคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ วัันที่่� 25 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยัคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ คณะผู้้บริิหาร และบุุคลากร ให้้การต้้อนรัับ ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ พลตรีีหญิิงจัันทราภา ศรีีสวััสดิ์์� รองคณบดีีฝ่่ายวิิชาการ คณะผู้้บริิหารและบุุคลากรจากคณะแพทยศาสตร์์ และคณะสถาปัตยักรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ เข้้าศึึกษาดููงานและเยี่่�ยมชมศููนย์์ฝึึกทัักษะทางการ แพทย์์ธรรมศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต พิธีิีเปิิดห้้องอเนกประสงค์์เพื่่�อการเรีียนรู้ แ้ละห้้องคณะกรรมการ นัักศึึกษาแพทย์์ และสมาคมศิิษย์์เก่่าแพทย์์ธรรมศาสตร์์ วัันที่่� 25 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยัคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ และนายแพทย์์สุุขสัันติิ พัักธรรมนััก นายกสมาคม ศิิษย์์เก่่าคณะแพทยศาสตร์์ ร่่วมเป็็นประธานในพิิธีีเปิิดห้้องอเนกประสงค์์เพื่่�อการเรีียนรู้้ และห้้องคณะกรรมการนัักศึึกษาแพทย์์ และสมาคมศิิษย์์เก่่า แพทย์์ธรรมศาสตร์์ ณ บริิเวณหน้้าห้้องอเนกประสงค์์เพื่่�อการเรีียนรู้้ชั้้�น 1 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต พิิธีีลงนามใน Letter of Intent ร่่วมกัับสถาบััน จากสหพัันธ์์สาธารณรััฐเยอรมนีี วัันที่่� 11 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยัคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ และศาสตราจารย์์ ดร. นายแพทย์์อดิิศว์์ ทััศณรงค์์ คณบดีวิีทยิาลัยัแพทยศาสตร์์นานาชาติิจุุฬาภรณ์์ ร่่วมให้้การต้้อนรัับและลงนาม ใน Letter of Intent เพื่่�อสร้้างความร่่วมมืือระหว่่างทางด้้านวิิชาการ และวิิจััยกัับ คณาจารย์์แพทย์์ จาก Ludwig-Maximilians-Universität (LMU) Munich, LMU University Hospital, Weiden Medical Center, Murnau Trauma Center และ Klinkum Garmisch Partenkirchen สหพัันธ์์สาธารณรััฐ เยอรมนีี (Germany) ณ ห้้องประชุุมแพทย์์โดม 1 ชั้้�น 2 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต พร้้อมกัับเยี่่�ยมชม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์์เฉลิิมพระเกีียรติิ - 4 -


การรัับฟัังความคิิดเห็็นจากผู้้ปฏิิบััติิงานในมหาวิิทยาลััย และนัักศึึกษาของคณะแพทยศาสตร์์ในการสรรหา คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ วัันที่่� 7 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 คณะกรรมการสรรหาคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ จััดกิจิกรรมรัับฟัังความคิิดเห็็นจากผู้้ปฏิิบััติิงานในมหาวิทยิาลัยัและนัักศึึกษาของคณะแพทยศาสตร์์ในการสรรหาคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ ณ ห้้องประชุุมแพทย์์โดม 2 ชั้้�น 2 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต การต้้อนรัับคณะดููงานโรงเรีียนอััสสััมชััญอุุบลราชธานีี วัันที่่� 21 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ให้้การต้้อนรัับคณาจารย์์ และนัักเรีียนโรงเรีียนอััสสััมชััญ อุุบลราชธานีีเข้้าเยี่่ย�มชมห้้องปฏิิบััติิการกายวิภิาค สถานวิทยิาศาสตร์์พรีีคลินิิก และรัับฟัังการแนะแนวการศึึกษาต่่อในคณะแพทยศาสตร์์ เพื่่�อให้นั้ ักเรียีนได้ท้ราบ ถึงแนวึทางการศึึกษาต่่อ และเป็็นข้้อมููลเบื้้�องต้้นในการตััดสิินใจ สามารถวางแผน การศึึกษาของตนเองในอนาคต พิิธีีเปิิดศููนย์์ไตเทีียมแพทย์์ธรรมศาสตร์์ และศููนย์์ตรวจสุุขภาพการนอนหลัับ วัันที่่� 28 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ พร้้อมด้้วยคณะผู้้บริิหาร บุุคลากร และเจ้้าหน้้าที่่� ร่่วมพิิธีีเปิิดศููนย์์ไตเทีียมแพทย์์ธรรมศาสตร์์ และศููนย์์ตรวจสุุขภาพ การนอนหลัับ ณ ศููนย์์การแพทย์์ธรรมศาสตร์์คููคตตำำบลคููคตอำำเภอลำำลููกกา จัังหวััดปทุุมธานีี การต้้อนรัับคณะดููงาน K-MEDi Hub ประเทศเกาหลีีใต้้ วัันที่่� 15 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. นายแพทย์์สิิระ นัันทพิศิาล ผู้้อำำนวยการศููนย์วิ์ ิจััยทางคลินิิก รองศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิง สุุดาทิิพย์์ โฆษิติะมงคล รองผู้้อำำนวยการศููนย์วิ์ ิจััยทางคลินิิก และบุุคลากรศููนย์วิ์ ิจััย ทางคลินิิก พร้้อมด้้วยศาสตราจารย์์ ดร. ทัันตแพทย์์หญิิงศิริิวรรณ สืืบนุุการณ์์ รองอธิิการบดีีฝ่่ายวิิจััยและนวััตกรรม ศาสตราจารย์์ ดร.เกศรา ณ บางช้้าง ผู้้อำำนวยการศููนย์วิ์ ิจััยค้้นคว้้าและพััฒนาตััวยา และศาสตราจารย์์ ดร. แพทย์์หญิิง จัันทรา เหล่่าถาวร ที่่�ปรึึกษา ให้้การต้้อนรัับคณะผู้้บริิหารจาก K-MEDi Hub องค์์กรพััฒนางานวิิจััยทางการแพทย์์ ประเทศเกาหลีีใต้้ (สาธารณรััฐเกาหลีี) ที่่�มาเยี่่�ยมชมศููนย์์วิิจััยทางคลิินิิกและเข้้าร่่วมประชุุมหารืือถึึงความร่่วมมืือ ด้้านการวิิจััยและนวััตกรรมทางการแพทย์์ที่่�จะมีีขึ้้�นในอนาคต การต้้อนรัับผู้้เชี่่�ยวชาญจากสถาบัันการศึึกษา ที่่�มีีความร่่วมมืือทางวิิชาการ วัันที่่� 3 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ และคณาจารย์์ เข้้าร่่วมต้้อนรัับ Professor Michael Wilkes, M.D, M.P.H., Ph.D. Director of Global Health, University of California, Davis School of Medicine ประเทศสหรััฐอเมริิกา วัันที่่� 11 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ ศาสตราจารย์์ ดร. เภสััชกรหญิิงอรุุณพร อิิฐรััตน์์ และคณาจารย์์สถานการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ เข้้าร่่วมต้้อนรัับ Associate Professor Dr. Eun Jeong Park จาก Graduate School of Medicine, Mie University ซึ่่�ง University of California, Davis School of Medicine ประเทศ สหรััฐอเมริิกา และ Graduate School of Medicine, Mie University ประเทศญี่่�ปุ่่�น เป็็นสถาบัันการศึึกษาที่่�มีีความร่่วมมืือทางวิิชาการกัับคณะ แพทยศาสตร์์ - 5 -


งานกีีฬาบุุคลากรศููนย์์สุุขศาสตร์์ ครั้้�งที่่� 11 (11th TU HEALTH SCIENCE GAMES) วัันที่่� 22 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยัคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ คณาจารย์์ และบุุคลากร เข้้าร่่วมงานกีีฬาบุุคลากร ศููนย์สุุขศ์าสตร์์ ครั้้�งที่่� 11 (11th TU HEALTH SCIENCE GAMES) ภายใต้รูู้ปแบบงาน “NATIONAL SUPERHERO DAY” ไม่่ว่่าใคร...ก็็เป็็นซุุปเปอร์์ฮีีโร่่ได้้ ซึ่่�งในปีีนี้้� คณะแพทยศาสตร์์ สัังกััดทีีมสีีเขีียว ร่่วมกัับฝ่่ายบริิหารโรงพยาบาล สาขาการพยาบาลศัลยักรรม สาขาการพยาบาลหอผู้้ป่่วยวิิกฤต สาขาการพยาบาล กุุมารเวชกรรม และศููนย์์นวััตกรรมสุุขภาพธรรมศาสตร์์ งานส่่งท้้ายปีีเก่่าต้้อนรัับปีีใหม่่ พ.ศ. 2567 วัันที่่� 27 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 คณะแพทยศาสตร์์ จััดงานส่่งท้้ายปีีเก่่า ต้้อนรัับปีีใหม่่ พ.ศ. 2567 ณ บริิเวณโถงชั้้�น 1 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ และลานอเนกประสงค์์ อาคารเรีียนและปฏิิบััติิการรวม ชั้้�น 4 มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต การเสนอชื่่�อผู้้สมควรดำำ�รงตำำ�แหน่่งคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ วัันที่่� 13 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 บุุคลากรคณะแพทยศาสตร์์ เข้้าร่่วมเสนอ ชื่่�อผู้้สมควรดำำรงตำำแหน่่งคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ณ บริิเวณชั้้�น 1 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต ศููนย์์การแพทย์์ธรรมศาสตร์์คููคต และศููนย์์แพทยศาสตรศึึกษา ชั้้�นคลิินิิก (โรงพยาบาลสระบุุรีี จัังหวััดสระบุุรีี โรงพยาบาลสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี โรงพยาบาลพุุทธโสธร จัังหวััดฉะเชิิงเทรา และโรงพยาบาลชุุมพร เขตรอุุดมศัักดิ์์� จัังหวััดชุุมพร) รายการพิิเศษ ‘วัันธรรมศาสตร์์ 9 ธัันวาคม’ วัันที่่� 9 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยัคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ รองศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงอัจัฉรา ตั้้�งสถาพรพงษ์์ รองคณบดีฝ่่ ีายการคลัังและบริิหาร รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์สมบััติิ มุ่่�งทวีีพงษา รองคณบดีฝ่่ ีายวิิจััยและนวัตักรรม พร้้อมด้้วยแพทย์์และนัักศึึกษาแพทย์ร่่ ์วมเป็็น ส่่วนหนึ่่�งในรายการพิิเศษ ‘วัันธรรมศาสตร์์ 9 ธัันวาคม’ เพื่่�อรัับบริจิาคสนัับสนุุน โครงการจััดซื้้�ออุุปกรณ์์และเครื่่�องมืือทางการแพทย์์ ศููนย์์การแพทย์ธ์รรมศาสตร์์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์์เฉลิิมพระเกียีรติิ ทางสถานีีโทรทัศน์ั ช่่ ์ อง 9 MCOT HD พิิธีีเปิิดอาคารชวนชููชาติิ (วพน.7) วัันที่่� 8 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยัคณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ พร้้อมด้้วย รองศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงอััจฉรา ตั้้�งสถาพรพงษ์์ รองคณบดีฝ่่ ีายการคลัังและบริิหาร และบุุคลากร เข้้าร่่วมพิธีิีเปิิด อาคารชวนชููชาติิ (วพน.7) ณ อาคารชวนชููชาติิ (วพน.7) โรงพยาบาล ธรรมศาสตร์์เฉลิิมพระเกีียรติิ โดยมีีคุุณชวน หลีีกภััย นายกรััฐมนตรีีคนที่่� 20 และประธานที่่�ปรึึกษา วพน.7 เป็็นประธานในพิิธีี - 6 -


พิิธีีมอบใบประกาศนีียบััตรหลัักสููตร Clinical Sexology และ หลัักสููตร Sexual Medicine หน่่วยเพศวิิทยาคลิินิิกและเวชศาสตร์์ทางเพศ ภาควิิชาสููติิศาสตร์์- นรีีเวชวิทยิา คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ร่่วมกัับ คลินิิกสุุขภาพเพศ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์์เฉลิิมพระเกีียรติิ รัับรองมาตรฐานโดยสมาคม เพศวิทยิาคลินิิกและเวชศาสตร์ท์างเพศ (ประเทศไทย) จััดอบรมหลัักสููตร Clinical Sexology ระหว่่างวัันที่่� 4 ตุุลาคม-27 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 และหลัักสููตร Sexual Medicine ระหว่่างวัันที่่� 5 ตุุลาคม-28 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 ซึ่่�งได้้รัับเกีียรติิจาก รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ เป็็น ผู้้มอบใบประกาศนีียบััตรแก่่ผู้้ที่่�จบหลัักสููตรในวัันที่่� 27-28 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 การอบรมเชิิงปฏิิบััติิการ เรื่่�องการวิิจััยทางคลิินิิก ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการขึ้้�นทะเบีียนเครื่่�องมืือแพทย์์ ตามมาตรฐาน ISO 14155 และ ISO 20916 วัันที่่� 4-6 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 ศููนย์วิ์ ิจััยทางคลินิิก คณะแพทยศาสตร์์ ร่่วมกัับ โครงการยกระดัับศัักยภาพและความพร้้อมของศููนย์์วิิจััยทางคลิินิิกแห่่งชาติิ (NCRN) และ สถานบริิหารการจััดการงานวิิจััยคลิินิิก (ACRO) ภายใต้้การสนัับสนุุนของหน่่วยบริิหารและจััดการทุุนด้้านการเพิ่่�มความสามารถ ในการแข่่งขัันของประเทศไทย (บพข.) จััดอบรมเชิิงปฏิิบััติิการ เรื่่�องการวิิจััยทางคลินิิก ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการขึ้้�นทะเบีียนเครื่่�องมืือแพทย์์ตามมาตรฐาน ISO 14155 และ ISO 20916 ณ โรงแรมสวิิสโซเทล กรุุงเทพฯ การบรรยาย และปฏิิบััติิด้้วย STATA/R วัันที่่� 6 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 Assoc. Prof. Cameron Hurst, Molly Wardaguga Research Centre, Charles Dawin University, Brisbane ประเทศออสเตรเลีีย เป็็นวิิทยากรบรรยายเรื่่�อง Propensity score methods: Analysis of data arising from non-randomized clinical studies (theory) ณ ห้้อง Smart classroom ชั้้�น 6 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต การอบรมเชิิงปฏิิบััติิการ Peripheral Vascular Exposure Cadaveric workshop for Resident 2024 วัันที่่� 24 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 ภาควิิชาศัลยศัาสตร์์ จััดอบรมเชิิงปฏิิบััติิการ Peripheral Vascular Exposure Cadaveric workshop for Resident 2024 ณ ศููนย์์ฝึึกทัักษะทางการแพทย์์ธรรมศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต - 7 -


โครงการโภชนาการดีี ชีีวีีมีีสุุข วัันที่่� 23 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 ศููนย์์การแพทย์ธ์รรมศาสตร์คูู์คต จััดโครงการโภชนาการดีี ชีีวีีมีีสุุข โดยถวายความรู้้ความเข้้าใจที่่� ถููกต้้องในการบริิโภคอย่่างเหมาะสมแด่่พระสงฆ์์ รวมทั้้�งปรัับเปลี่่�ยน พฤติิกรรมในการบริิโภค ลดหวาน มััน เค็็ม และส่่งต่่อความรู้้ไป ยัังฆราวาสและญาติิโยมในการเลืือกอาหารมาถวายแด่่พระสงฆ์์ เพื่่�อห่่างไกลต่่อการเกิิดโรคไม่่ติิดต่่อเรื้้�อรัังหรืือโรคแทรกซ้้อนอื่่�น ๆ ตามมา ณ วััดโพสพผลเจริิญ ตำำบลคููคต อำำเภอลำำลููกกา จัังหวััด ปทุุมธานีี งานประชุุมวิิชาการ 4th TU Ed-program ครั้้�งที่่� 3 วัันที่่� 22 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 หน่่วยโรคระบบการหายใจและเวชบำำบััดวิิกฤต คณะแพทยศาสตร์์ ร่่วมกัับ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย สงขลานคริินทร์์ จััดงานประชุุมวิิชาการ 4th TU Ed-program ครั้้�งที่่� 3 หััวข้้อ Practical Point in Pulmonary Medicine โดยมีี ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงอััสมา นวสกุุลพงศ์์ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยัสงขลานคริินทร์์ และรองศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงภััทริิน ภิิรมย์์พานิิช ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงพิิชญาภา รุุจิวิิิชชญ์์ และอาจารย์์ นายแพทย์ฉั์ตัรกริินทร์์ เทพวิิมลเพชรกุุล คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ร่่วมเป็็นวิทยิากร ณ ห้้องประชุุมแพทย์์ โดม 3 ชั้้�น 2 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต Dynamic functionalities of cellular and exosomal intergrins วัันที่่� 14 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 Associate Professor Dr. Eun Jeong Park จาก Graduate School of Medicine, Mie University ประเทศญี่่ปุ่�่�น เป็็นวิิทยากรในงานสััมมนา Dynamic functionalities of cellular and exosomal intergrins ณ ห้้อง 4312 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต “Mass Shooting” รัับมืืออย่่างไร เมื่่�อพิิบััติิภััยกราดยิิง วัันที่่� 25 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 อาจารย์์ แพทย์์หญิิงเยาวภา ศิิริิปการ อาจารย์์ภาควิิชาเวชศาสตร์์ฉุุกเฉิิน อาจารย์์ นายแพทย์์ปิิยะพงศ์์ บุุญญสถิิตย์์ และรองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์อมรพล กัันเลิศิ อาจารย์ภ์าควิิชาศััลยศาสตร์์ เป็็นวิิทยากรบรรยายในหััวข้้อ Introduction to mass casualty and mass shooting, Survive in hospital mass shooting และ Rescue the victim of mass shooting ณ ห้้องสโมสร ชั้้�น 4 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต - 8 -


โครงการเวชศาสตร์์ฟื้้�นฟููสัังคม ครั้้�งที่่� 11 วัันที่่� 27 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 ภาควิิชาเวชศาสตร์์ฟื้้�นฟูู จััดโครงการเวชศาสตร์์ฟื้้�นฟููสัังคม ครั้้�งที่่� 11 หััวข้้อ Approaching of Spasticity and Movement disorder โดยมีีการบรรยายในช่่วง เช้้า ณ ห้้องประชุุมสโมสรชั้้�น 4 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ และอบรมเชิิงปฏิิบััติิการในช่่วงบ่่าย ณ ศููนย์์เวชศาสตร์์ฟื้้�นฟูู ชั้้�นใต้ดิ้ ิน อาคารดุุลโสภาคย์์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์์เฉลิิมพระเกียีรติิ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต 17th Year Anti-lgE Translate evidence to practice in Thailand วัันที่่� 8 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 ศาสตราจารย์์ ดร. แพทย์์หญิิง อรพรรณ โพชนุุกููล อาจารย์์ประจำำภาควิิชากุุมารเวชศาสตร์์ และ ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงพิิชญาภา รุุจิิวิิชชญ์์ อาจารย์์ ประจำำภาควิิชาอายุุรศาสตร์์ ร่่วมเป็็นวิิทยากร ในงาน 17th Year Anti-lgE Translate evidence to practice in Thailand โดย ศาสตราจารย์์ ดร. แพทย์์หญิิงอรพรรณ โพชนุุกููล บรรยายใน หััวข้้อเรื่่�อง lgE Mediated Allergic Disease and Experience Sharing on Biologic Treatment และ ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงพิิชญาภา รุุจิิวิิชชญ์์ บรรยายในหััวข้้อเรื่่�อง Basic Knowledge and Severe Allergic Asthma ณ ห้้องประชุุม แพทย์์โดม 3 คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ศููนย์รั์ ังสิติ การอบรมเชิิงปฏิิบััติิการเพื่่�อพััฒนาศัักยภาพอาสาสมััคร สาธารณสุุข ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2567 วัันที่่� 30 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 ศููนย์์การแพทย์์ธรรมศาสตร์์ คููคต จััดอบรมเชิิงปฏิิบััติิการเพื่่�อพััฒนาศัักยภาพอาสาสมััคร สาธารณสุุข ประจำำปีีงบประมาณ 2567 ในหััวข้้อเรื่่�อง การคััดกรอง และประเมิินสุุขภาพผู้้สููงอายุุ แก่่อาสาสมััครสาธารณสุุขในเขตพื้้�นที่่� รัับผิิดชอบ หมู่่� 4 หมู่่� 5 และหมู่่� 18 โดยแบ่่งออกเป็็น 3 ฐาน คืือ ฐานที่่� 1 การคััดกรองและประเมิินสุุขภาพผู้้สููงอายุุตามแบบคััดกรองผู้้สููงอายุุ ในชุุมชน เขตสุุขภาพที่่� 4 ฐานที่่� 2 เรื่่�องการคััดกรองโรคความดัันโลหิตสููิง และ ฐานที่่� 3 เรื่่�องการคััดกรองโรคเบาหวาน ณ ห้้องประชุุม ชั้้�น 2 ศููนย์์การแพทย์์ธรรมศาสตร์์คููคตตำำบลคููคตอำำเภอลำำลููกกา จัังหวััด ปทุุมธานีี CTEPH Expert Meeting วัันที่่� 7 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 Nick H.Kim, MD Pulmonologist Director, Pulmonary Vascular Medicine, Professor of Medicine UC San Diego, School of Medicine, California, USA ร่่วมเป็็นวิิทยากรในการประชุุม CTEPH Expert Meeting ณ ห้้องประชุุมศููนย์์หััวใจ อาคารดุุลโสภาคย์์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์์ เฉลิิมพระเกีียรติิ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต - 9 -


โครงการเพลงสััมพัันธ์์ ประจำำ�ปีีการศึึกษา 2566 วัันที่่� 4-6 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 นัักศึึกษาคณะแพทยศาสตร์์ เข้้าร่่วมกิิจกรรมโครงการเพลงสััมพัันธ์์ ประจำำปีีการศึึกษา 2566 เพื่่�อเป็็นการให้้นัักศึึกษาสามารถร้้องเพลงเชีียร์์และเพลงประจำำ คณะแพทยศาสตร์์ ได้้ถููกต้้อง รวมถึึงส่่งเสริิมให้้นัักศึึกษา ทุุกหลัักสููตรมีีความสามััคคีีในหมู่่�คณะ ซึ่่�งจััดขึ้้�น ณ ศููนย์์ประชุุมคณะ แพทยศาสตร์์ ชั้้�น 8 อาคารศููนย์์ฝึึกทัักษะทางการแพทย์์ธรรมศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต พิิธีีไหว้้ครููและครอบครููแผนไทย ประจำำ�ปีีการศึึกษา 2566 วัันที่่� 19 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ จััดพิิธีีไหว้้ครููและครอบครููแผนไทย ประจำำปีีการศึึกษา 2566 และจััดพิิธีี มอบเสื้้�อกาวน์์ให้้กัับนัักศึึกษา หลัักสููตรการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์บััณฑิิต ชั้้�นปีีที่่� 4 ณ ห้้องสโมสร ชั้้�น 4 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต โดยมีี รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ เป็็นประธานในพิิธีีกล่่าว เปิิดงาน โดยพิิธีีดัังกล่่าวจััดขึ้้�นเป็็นประจำำทุุกปีี เพื่่�อแสดงความกตััญญููและน้้อมรำำลึึกพระคุุณบููรพาจารย์์ ที่่�สั่่�งสอนและประสิิทธิ์์�ประสาทสรรพ วิิทยาการ และถืือเป็็นโอกาสให้้นัักศึึกษาใหม่่สถานการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ได้้มอบตััวเป็็นศิิษย์์ การนำำ�เสนอผลงานวิิจััยของนัักศึึกษา หลัักสููตรแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์บััณฑิิต ชั้้�นปีีที่่� 4 วัันที่่� 9 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 นัักศึึกษาหลัักสููตรแพทย์์แผนไทย ประยุุกต์บั์ ัณฑิิต เข้้าร่่วมนำำเสนอผลงานวิิจััย รายวิิชา ผท.470 ปัญัหาพิิเศษ ทางการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ 2 ณ บริิเวณโถงชั้้�น 1 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต


การเตรีียมความพร้้อมนัักศึึกษา ก่่อนการฝึึกปฏิิบััติิงานเชิิงวิิชาชีีพ วัันที่่� 30 ตุุลาคม-3 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์์ แผนไทยประยุุกต์์ จััดโครงการเตรียีมความพร้้อมนัักศึึกษาก่่อนการฝึึก ปฏิิบััติิงานเชิิงวิิชาชีีพ ให้้กัับนัักศึึกษาหลัักสููตรการแพทย์์แผนไทย ประยุุกต์บั์ ัณฑิิตชั้้�นปีีที่่� 4 ณ ศููนย์ฝึ์ ึกทัักษะทางการแพทย์ธ์รรมศาสตร์์ และอาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต ค่่ายฝัันเป็็นหมอขอได้้ไหม ครั้้�งที่่� 22 วัันที่่� 21-23 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 คณะกรรมการนัักศึึกษาคณะ แพทยศาสตร์์ จััดกิจิกรรมค่่ายฝัันเป็็นหมอขอได้้ไหม ครั้้�งที่่� 22 เพื่่�อให้้ นัักเรีียนระดัับชั้้�นมััธยมศึึกษาตอนปลายจากโรงเรีียนทั่่�วประเทศ ผู้้สนใจในวิิชาชีีพแพทย์์ได้้ทราบถึึงเนื้้�อหาวิิชา กระบวนการเรีียน การสอน รวมถึึงแนะแนวทางในการศึึกษาต่่อที่่�คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ อัันจะเป็็นประโยชน์์ต่่อการตััดสิินใจเลืือก ศึึกษาต่่อในอนาคต ณ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต การดููงานด้้านการฝึึกปฏิิบััติิหััตถเวชกรรมไทยประยุุกต์์ เวชกรรมไทยประยุุกต์์ และเภสััชกรรมไทยประยุุกต์์ วัันที่่� 6-7 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์์แผนไทย ประยุุกต์์ นำำนัักศึึกษาหลัักสููตรการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์บััณฑิิต ชั้้�นปีีที่่� 4 เข้้าศึึกษาดููงานด้้านการฝึึกปฏิิบััติิหัตถั เวชกรรมไทยประยุุกต์์ เวชกรรมไทยประยุุกต์์ และเภสััชกรรมไทยประยุุกต์์ ณ โรงพยาบาล เจ้้าพระยาอภัยัภูเบูศร คลินิิกบ้้านอาจารย์ฉั์ตัรชัยั และคลินิิกอายุุรเวท จัังหวััดปราจีีนบุุรีี โครงการผู้้บริิหารพบผู้้แทนคณะกรรมการนัักศึึกษาแพทย์์ วัันที่่� 8 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิิยโยทััย คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ พร้้อมด้้วยผู้้บริิหาร และ คณาจารย์์ เข้้าพบผู้้แทนคณะกรรมการนัักศึึกษาแพทย์์ เพื่่�อให้ผู้้ ้บริิหาร พบปะแลกเปลี่่ย�นรัับฟัังความคิิดเห็็นกัับผู้้แทนคณะกรรมการนัักศึึกษา แพทย์์ ณ ห้้องประชุุมอารีี วััลยะเสวีี คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย ธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต - 11 -


การอนุุรัักษ์์ภููมิิปััญญาของหมอพื้้�นบ้้าน วัันที่่� 11 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์์แผนไทย ประยุุกต์์ นำำนัักศึึกษาหลัักสููตรการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์บััณฑิิต ศึึกษาหาความรู้้เกี่่ย�วกัับสมุุนไพรในป่่าเขา เพื่่�ออนุุรัักษ์์ภููมิปัิญญัาของ หมอพื้้�นบ้้าน โดยมีี อาจารย์์สมพร ขาวสุุวรรณ และอาจารย์์ ดร.นริินทร์์ กากะทุุม เป็็นวิทยิ ากรให้้ความรู้้ ณ ศููนย์ศึึ์กษาธรรมชาติิและท่่องเที่ย่�ว เชิิงนิิเวศเจ็็ดคด-โป่่งก้้อนเส้้า อำำเภอแก่่งคอย จัังหวััดสระบุุรีี การศึึกษาตััวอย่่างสมุุนไพรจำำ�แนกตามหลัักอนุุกรมวิิธาน วัันที่่� 25 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ศููนย์รั์ ังสิตินำำนัักศึึกษา หลัักสููตรการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์บั์ ัณฑิิตศึึกษาหาความรู้้เกี่่ย�วกัับ สมุุนไพรในป่่าเขาและศึึกษาตััวอย่่างสมุุนไพรจำำแนกตามหลัักอนุุกรม วิธิาน โดยมีี รองศาสตราจารย์รุ่์ ่�งระวีี เต็็มศิริิฤกษ์กุุล์ และศาสตราจารย์์ ดร. เภสััชกรหญิิงอรุุณพร อิิฐรััตน์์ เป็็นวิิทยากรให้้ความรู้้พิิเศษ เกี่่�ยวกัับพืืชสมุุนไพร ณ อุุทยานธรรมชาติิวิิทยาสิิรีีรุุกขชาติิ มหาวิทยิาลัยัมหิิดลตำำบลศาลายา อำำเภอพุทธุมณฑล จัังหวััดนครปฐม - 12 -


พิิธีีมอบใบประกอบวิิชาชีีพเวชกรรม ประจำำ�ปีีการศึึกษา 2564 วัันที่่� 24 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 คณะแพทยศาสตร์์ จััดพิธีิีมอบใบประกอบวิิชาชีีพเวชกรรม ให้กั้ ับบััณฑิิตที่สำ่�ำเร็จ็การศึึกษา ประจำำปีีการศึึกษา 2564 ณ ห้้อง 801 ชั้้�น 8 อาคารศููนย์์ฝึึกทัักษะทางการแพทย์์ธรรมศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต พิิธีีพระราชทานปริิญญาบััตร ประจำำ�ปีีการศึึกษา 2564 วัันที่่� 30 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2566 พระบาทสมเด็็จพระวชิิรเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว พร้้อมด้้วย สมเด็็จพระนางเจ้้าฯ พระบรมราชิินีี ทรงพระกรุุณา โปรดเกล้้าโปรดกระหม่่อม เสด็จ็พระราชดำำเนิินในพิธีิีพระราชทานปริญญิาบัตัรแก่่ผู้้สำำเร็จ็การศึึกษาคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ประจำำปีีการศึึกษา 2564 ณ อาคารกิิตติิยาคาร มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต


รางวััลบััณฑิิตแพทยศาสตร์์ดีีเยี่่�ยม ประจำำ�ปีี 2566 วัันที่่� 23 กัันยายน พ.ศ. 2566 แพทย์์หญิิงภริิม ไพราม บััณฑิิตคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ (แพทย์ธ์รรมศาสตร์์ รุ่่�นที่่� 27) เข้้ารัับพระราชทานใบประกาศเกีียรติิคุุณและเข็็มกลััดล็็อกเกตสมเด็็จพระมหิิตลาธิิเบศร อดุุลยเดชวิิกรม พระบรมราชชนก รางวััลบััณฑิิต แพทยศาสตร์์ดีีเยี่่�ยม ประจำำปีี 2566 จากมููลนิิธิิสมเด็็จพระมหิิตลาธิิเบศร อดุุลยเดชวิิกรม พระบรมราชชนก จากสมเด็็จพระกนิิษฐาธิิราชเจ้้า กรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุุมารีี ณ แฟชั่่�นแกลลอรี่่� ชั้้�น 1 ศููนย์์การค้้าสยามพารากอน การรัับรองมาตรฐานระบบบริิหารจััดการความมั่่�นคงปลอดภััยสารสนเทศ ISO 27001 วัันที่่� 4 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ดิ์ลิก ภิยิโยทัยั คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ และคณะผู้้บริิหาร รัับมอบใบรัับรอง มาตรฐานระบบบริิหารจััดการความมั่่�นคงปลอดภััย ISO 27001 ของงานเทคโนโลยีีทางการศึึกษา จากคณะผู้้บริิหารบริิษััท คิิว-ไอเอสโอ คอนซััลแต๊๊นท์์ จำำกััด ซึ่่�งเป็็นการเสริิมความมั่่�นคงให้้ระบบเครืือข่่าย และสร้้างเกราะป้้องกัันให้้ข้้อมููลขององค์์กรด้้วยระบบมาตรฐาน การจััดการสารสนเทศ 27001 ณ ห้้องประชุุม Smart Classroom อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยิาลัยธัรรมศาสตร์์ ศููนย์รั์ ังสิติ - 14 -


รางวััลการนำำ�เสนอผลงานนวััตกรรม ในงาน Seoul International Invention Fair 2023 (SIIF 2023) รองศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิงสุุดาทิิพย์์ โฆสิติะมงคล และคณะ ได้้รัับรางวััลเหรีียญทอง จากนวััตกรรมเรื่่�องการออกแบบเครื่่�องมืือ ตรวจวััดร้้อยละของโปรตีีนในน้ำำ�นมแม่่ (Detector design of percentage of protein in breast milk) ในงาน Seoul International Invention Fair 2023 (SIIF 2023) จััดขึ้้�นโดย Korea Invention Promotion Association (KIPA) สมาคมส่่งเสริิมการประดิิษฐ์์ของ สาธารณรััฐเกาหลีี ภายใต้้การสนัับสนุุนของรััฐบาลเกาหลีี ระหว่่าง วัันที่่� 1-4 พฤศจิิกายน 2566 ณ COEX Convention & Exhibition Center กรุุงโซล สาธารณรััฐเกาหลีี รางวััลในงานประชุุม 45th RCOST & 43rd ASEAN OA Meeting with Guest Nation from Australia (AOA) คณาจารย์์ คณะแพทยศาสตร์์ เข้้าร่่วมงานประชุุม 45th RCOST & 43rd ASEAN OA Meeting with Guest Nation from Australia (AOA) ซึ่่�งจััดขึ้้�น ระหว่่าง วัันที่่� 20-22 ตุุลาคม พ.ศ. 2566 ณ Royal Cliff Hotel เมืืองพััทยา และได้้รัับรางวััลดัังนี้้� WORLD’S TOP 2% SCIENTISTS ปีี 2023 ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์อนุุชา อภิิสารธนรัักษ์์ อาจารย์์ประจำำ ภาควิิชาอายุุรศาสตร์์ และ ศาสตราจารย์์ ดร. เภสััชกรหญิิงอรุุณพร อิิฐรัตน์ั ์ หััวหน้้าศููนย์์ความเป็็นเลิศทิางวิิชาการด้้านการแพทย์์แผนไทย ประยุุกต์์ ติิดอัันดัับ World’s Top 2% Scientists ปีี 2023 (หรืือ A list of top 2 percent of the world scientists) ประเภท Single recent year data (คิิดเฉพาะผลงานปีี ค.ศ. 2022) โดยมีีฐานข้้อมููล ผลงานตีีพิิมพ์์และถููกอ้้างอิิงอัันดัับต้้นของโลก จััดโดย มหาวิิทยาลััย สแตนฟอร์์ด สหรััฐอเมริิกา - ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์บััญชา ชื่่�นชููจิิตต์์ อาจารย์์ประจำำภาควิิชา ออร์์โธปิิดิิกส์์ ได้้รัับรางวััลสมาชิิกดีีเด่่นด้้านวิิชาการของราชวิิทยาลััยแพทย์์ออร์์โธปิิดิิกส์์แห่่งประเทศไทย ประจำำปีี 2566 - ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์บุุญชนะ พงษ์์เจริิญ ได้้รัับรางวััล Best Research Award 2023 จากผลงานวิิจััยเรื่่�อง Comparison of Functional Recovery Between Unicompartmental and Total Knee Arthroplasty: A Randomized Controlled Trial รางวััลการวิิจััยแห่่งชาติิ : รางวััลผลงานวิิจััย ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2567 ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ภาสกร ศรีทิี ิพย์สุุ์ โข อาจารย์์ประจำำภาควิิชากุุมาร เวชศาสตร์์ และคณะวิิจััย ได้้รัับรางวััล การวิิจััยแห่่งชาติิ : รางวััลผลงานวิิจััย ประจำปีำ ีงบประมาณ 2567 (สาขา วิิทยาศาสตร์์การแพทย์์) สำนัำ ักงาน การวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) จากผลงาน วิิจััยเรื่่�อง ประสิิทธิิผลของวััคซีีนโควิิด-19 ในประเทศไทย: การศึึกษา ในสถานการณ์์จริิง (ปีีที่่� 1) (COVID-19 Vaccine Effectiveness in Thailand: a Real World Study (1st Year)) - 15 -


รางวััลการนำำ�เสนอผลงานวิิจััย ในงานประชุุมวิิชาการนานาชาติิ ด้้านการวิิจััยของนัักศึึกษาแพทย์์ (International Medical Student Research Conference : IMRC 2023) ประเภท Poster Presentation นัักศึึกษาคณะแพทยศาสตร์์ ชั้้�นปีีที่่� 5 หลัักสููตรแพทยศาสตรบััณฑิิต (หลัักสููตรภาคภาษา อัังกฤษ) เข้้าร่่วมนำำเสนอผลงานวิิจััยในเวทีีการประชุุมวิิชาการนานาชาติิ ด้้านการวิิจััยของ นัักศึึกษาแพทย์์ (International Medical Student Research Conference : IMRC 2023) ประเภท Poster Presentation ซึ่่�งจััดขึ้้�นระหว่่างวัันที่่� 9-10 ธัันวาคม พ.ศ. 2566 ณ ศููนย์จำ์ ำลอง การแพทย์์ทหาร วิิทยาลััยแพทยศาสตร์์พระมงกุุฎเกล้้า กรุุงเทพมหานคร และได้้รัับรางวััลดัังนี้้� - นายภีีมพล สมรพิิทัักษ์์กุุล และนางสาววริิศรา วััชราภรณ์์ ได้้รัับรางวััลชนะเลิิศ จาก ผลงานวิิจััย เรื่่�อง Increased Intervals between pediatric tracheostomy tube changes: Is it a safe technique? - นายศิิรชััช หาญวิวัิัฒนกููล นางสาวอิิสรีย์ี ์ เหล่่านิิพนธ์์ และนายวิรัิลพััชร วิิไลชนม์์ ได้รั้ับ รางวัลัรองชนะเลิศอัิ ันดัับ 1 จากผลงานวิิจััย เรื่่�อง Comparative Study on the Effectiveness and Safety of 0.13% CBD Acne Cream with 2.5% Benzoyl Peroxide versus 1% Standardized Clindamycin Gel with 2.5% Benzoyl Peroxide for Treatment of Acne Vulgaris : A Randomized Controlled Trial - นายศิิรชััช หาญวิิวััฒนกููล นายแพทย์์รุุจ นานา และนางสาวพรฑิิตา แซ่่หลี่่� ได้้รัับรางวััล Popular vote จากผลงานวิิจััย เรื่่�อง Antibiotic self-medicating, adverse outcomes, and associated factors among Thai medical students รางวััลการนำำ�เสนอผลงานวิจัิัย ในงานประชุุมวิิชาการระดัับชาติิ “การแพทย์์แผนไทยและสาธารณสุุขวิิจััย ครั้้�งที่่� 4” นายวิิชกร วงษ์สุุ์วรรณ นัักศึึกษาระดัับบััณฑิิตศึึกษา หลัักสููตรวิทยิาศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ ได้รั้ับรางวัลัการนำำเสนอผลงานภาคบรรยาย ระดัับดีีเยี่่ย�ม จากผลงานวิิจััย เรื่่�อง คุุณสมบััติิการเป็็นพรีีไบโอติิกของยาไทย กลุ่่�มบรรเทาอาการท้้องอืืดท้้องเฟ้้อหลัังผ่่านแบบจำลำองการย่่อย ในงานประชุุมวิิชาการระดัับชาติิ “การแพทย์์แผนไทยและ สาธารณสุุขวิิจััย ครั้้�งที่่� 4” ซึ่่�งจััดขึ้้�นระหว่่างวัันที่่� 16-17 พฤศจิิกายน 2566 ณ โรงแรมคริิสตัลัอำำเภอหาดใหญ่่ จัังหวััดสงขลา รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น ประจำำปี 2566 ผู้้ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. แพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ภููริิทััต กนกกัังสดาล ได้รั้ับรางวัลนัักวิิจััยรุ่่�นใหม่่ดีีเด่่นระดัับส่่วนงาน ประเภทอาจารย์์ ประจำำปีี 2566 ซึ่่�ง จะได้้รัับโล่่เชิิดชููเกีียรติิและเงิินรางวััลในงานวัันนัักวิิจััยมหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ประจำำปีี 2566 - 16 -


รองศาสตราจารย์ 1. รองศาสตราจารย์ดร.จุไรรัตน์ บุญรวบ สาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2. รองศาสตราจารย์นายแพทย์ภัทรวินภัทรนิธิมา สาขาวิชาอายุรศาสตร์ 3. รองศาสตราจารย์ดร.นายสัตวแพทย์ปธานินจันทร์ตรี สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงนิธิตา สัตตรัตน์ไพจิตร สาขาวิชาโสตศอนาสิกวิทยา 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิดา มณีอินทร์ สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชน ชำานาญการ 1. คุณเสริมเกียรติทานุชิต นักวิจัยชำานาญการ การแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งทางวิชาการ การแต่งตั้งบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการให้ดำารงตำาแหน่งที่สูงขึ้น การได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก “มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก” ประจำาปี 2565 แต่งตั้งรองหัวหน้าสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. แพทย์แผนไทยประยุกต์ภูริทัตกนกกังสดาล ได้รับการแต่งตั�งให้ ดำารงตำาแหน่งรองหัวหน้าสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ศาสตราจารย์ดร. นายแพทย์ประกิตพันธุ์ ทมทิตชงค์อาจารย์ ประจำาภาควิชาศัลยศาสตร์และ ศาสตราจารย์นายแพทย์ก้องเกียรติ กูณฑ์์กันทรากร อาจารย์ประจำาภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับพระราชทาน เคร่�องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที�เชิดชูยิ�งช้างเผือก “มหาปรมาภรณ์ ช้างเผือก”ประจำาปี2565เน่�องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที�8กรกฎาคม2565


Click to View FlipBook Version