The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีการศึกษา 2564 15032565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Developer Software, 2022-03-15 05:14:44

รายงานประจำปีการศึกษา 2564 15032565

รายงานประจำปีการศึกษา 2564 15032565

รายงานประจาปี 2564

31 พฤษภาคม-18 มิถุนายน พ.ศ. 2564
อบรมหลกั สูตรเวชศาสตรท์ างเพศ Diploma in Sexual Medicine

1 มิถุนายน พ.ศ. 2564
รายงานความก้าวหนา้ หลักสูตรแพทยศาสตรบณั ฑิตฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563 ตามเกณฑม์ าตรฐานสากล

WFME Global Standards for Quality Improvement Basic Medical Education
1 มิถนุ ายน-31 สิงหาคม พ.ศ. 2564

สมคั รสอบ Modified Eassay Question (MEQ) สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาหลกั สูตรแพทยศาตรบัณฑิต
ประจาปี 2563 (2564) รอบท่ี 3
2 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564

สถานการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์จัดอบรมหวั ข้อ
“แนวคิดในการออกแบบการวิจยั และพฒั นาเชิงนวตั กรรม”

10-11 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
กิจกรรมการพัฒนาการเรียนการสอน “สร้างสื่อการเรยี นอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละวิจยั แพทยศาสตรศึกษา”

สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์

50

รายงานประจาปี 2564

14 มิถนุ ายน-2 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
อบรมหลักสตู รหลกั สตู รระยะส้นั เพศวิทยาคลินิก Diploma in Clinical Sexology

15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
เปิดบ้านออรโ์ ธฯ ธรรมศาสตร์ Open House For Residency Program
ตรวจประเมินรับรองมาตรฐานหลักสตู รการฝึกอบรมแพทยป์ ระจาบา้ น
เพือ่ วฒุ บิ ัตรแสดงความรคู้ วามชานาญในการประกอบวชิ าชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์

16-28 มิถุนายน พ.ศ. 2564
งานปฐมนเิ ทศและอบรมความรทู้ างวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาหรับแพทยผ์ ู้ชว่ ยสอนสาขาต่าง ๆ ช้นั ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564

16-30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
งานปฐมนเิ ทศและการอบรมความรูท้ างวิทยาศาสตรก์ ารแพทยส์ าหรับแพทย์ประจาบ้าน

และแพทยป์ ระจาบา้ นต่อยอด ประจาปีการศึกษา 2564

51

รายงานประจาปี 2564

24-25 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
การประชมุ เชิงปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมสาหรบั tutor รายวชิ า พศ.200-300 การแพทยท์ ี่
มีจิตวญิ ญาณความเปน็ มนษุ ย์ 1-2 และรายวิชา พศ.400 กฎหมายและจรยิ ศาสตร์ทางการแพทย์ 1

30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
ปจั ฉิมนิเทศแพทย์ประจาบา้ นและแพทย์ประจาบา้ นตอ่ ยอด สาขาจกั ษวุ ิทยา
พิธีมอบใบประกาศนียบัตรแดผ่ ้ผู ่านการฝึกอบรมแพทย์ผชู้ ่วยสอนและแพทย์ผูช้ ว่ ยสอนต่อยอด
พิธีรบั ใบประกาศนียบตั รแพทยป์ ระจาบา้ นและแพทยป์ ระจาบา้ นต่อยอด ประจาปีการศึกษา 2563
ปฐมนิเทศแพทยป์ ระจาบา้ น สาขาศลั ยศาสตร์ และแพทย์ประจาบ้านต่อยอด ปกี ารศึกษา 2564
ปัจฉิมนิเทศประจาบา้ น สาขาศลั ยศาสตรท์ วั่ ไป สาขาประสาทศัลยศาสตร์ สาขาศลั ยศาสตรย์ ูโรวิทยา

ปีการศึกษา 2564

เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564
อบรมหลกั สตู รผ้บู ริหาร เรือ่ ง Leading in the New Normal ในรปู แบบ Virtual Live online

ผ่านระบบ Zoom Application จานวน 3 Sessions

52

รายงานประจาปี 2564

1-2 กรกฏาคม พ.ศ. 2564
การประชมุ วชิ าการเทา้ เบาหวานแบบออนไลน์ “Small Step to Giant Leap, Demi-decade”

โดย ภาควชิ าเวชศาสตรฟ์ ืน้ ฟู
14 กรกฏาคม พ.ศ. 2564

การประกวดการนาเสนอผลงานวิจยั คณะแพทยศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ 2564 แบบออนไลน์
17 มิถุนายน พ.ศ.2564 และ 15 กรกฏาคม พ.ศ. 2564

การประชุมเชิงปฏิบตั ิการจดั ทาแผนและสรุปผลงานดาเนนิ งานประจาปี 2563
ของสถานการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์

19 กรกฏาคม-31 สิงหาคม พ.ศ. 2564
สมคั รสอบหตั ถการ (Manual skill) ในการประเมินทกั ษะทางคลนิ ิก (Objective Structured Clinical

Examination (OSCE)) สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาหลกั สตู รแพทยศาสตรบัณฑิต
ประจาปีการศึกษา 2564 คร้งั ที่ 2
26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

กิจกรรมการให้ความร้ดู า้ นสมุนไพรกับการรักษาโรค โดยมีการเผยแพรผ่ า่ นสื่อออนไลน์ Social Media
ของสถานการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์

53

รายงานประจาปี 2564

29 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
ปฐมนิเทศนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564

31 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
สถานการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์เขา้ รับการตรวจประเมนิ การประกันคณุ ภาพระดบั สถาน ประจาปีการศึกษา 2563

2 สงิ หาคม พ.ศ. 2564
งานปฐมนเิ ทศนักศึกษาและพบผูป้ กครอง ประจาปีการศึกษา 2564

5-6 สงิ หาคม พ.ศ. 2564
งานประชุมวิชาการกมุ ารเวชศาสตร์ ประจาปี 2564 “New Normal in Pediatric Pratice” แบบออนไลน์

7-31 สิงหาคม พ.ศ. 2564
กิจกรรมแรกพบสหพนั ธน์ ิสิตนักศึกษาแพทย์แห่งประเทศไทย (สพท.)

13 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การประชมุ สัมมนาเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนกลมุ่ ยอ่ ยและบทบาทของอาจารย์ประจากลมุ่ ย่อย

54

รายงานประจาปี 2564

18 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การประเมินคณุ ภาพตามแนวทางเกณฑค์ ุณภาพการศกึ ษาเพือ่ การดาเนินการที่เป็นเลิศ

(Education Criteria for Performance Excellent: EdPEx) แบบออนไลน์

16 สิงหาคม-14 กันยายน พ.ศ. 2564 และ 4 ตลุ าคม–วนั ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2564
เปิดใหบ้ รกิ ารคลินิกพิเศษแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

โดยไม่มีคา่ ใชจ้ า่ ย

19 สิงหาคม-14 กันยายน พ.ศ. 2564
อบรมเขม้ ขน้ ระยะสน้ั ระบาดวิทยาคลินิก ประจาปี 2564
"Short Intensive Course Diploma in Clinical Epidemiology 2021"

22 สิงหาคม พ.ศ. 2564
กิจกรรมการรบั น้องเขา้ คณะ

เดือนสิงหาคม-เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2564
การประเมินคณุ ภาพภายในหลักสูตร ปีการศึกษา 2563 รูปแบบออนไลน์

55

รายงานประจาปี 2564

2 กันยายน พ.ศ. 2564
สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตรค์ รอบครัวเขา้ รับการตรวจประเมนิ การประกันคุณภาพ

ระดับสถาน ประจาปีการศกึ ษา 2563

3 กนั ยายน พ.ศ. 2564
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่อง การจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการภาควิชากุมารเวชศาสตร์

4 กนั ยายน พ.ศ. 2564
กิจกรรมการตอบปญั หาแพทยศาสตรว์ ิชาการ ครั้งท่ี 17

6 กนั ยายน พ.ศ. 2564
ประเมินคณุ ภาพภายในระดบั หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต

สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ โดยใชเ้ กณฑ์ IQA ประเมนิ โดย
สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รูปแบบออนไลน์

56

รายงานประจาปี 2564

7 กันยายน พ.ศ. 2564
ประเมินคุณภาพภายในระดบั หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ า

วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ โดยใช้เกณฑ์ IQA ประเมินโดย
สานักงานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม รูปแบบออนไลน์

10 กันยายน พ.ศ. 2564
จดั อบรมการใชส้ ถิติในการวิจยั (แบบออนไลน)์ โดยศนู ย์วิจยั ทางคลินิก

ประเมินคุณภาพภายในระดับหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต
สาขาวชิ าเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตรค์ รอบครวั โดยใช้เกณฑ์ IQA ประเมนิ โดย
สานกั งานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม รปู แบบออนไลน์

14 กันยายน พ.ศ. 2564
พิธีลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือทางวชิ าการ เพอื่ ดาเนินการจดั สรา้ ง
หลกั สตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ ากฎหมายทางการแพทย์และสขุ ภาพ

และสาขาวิชาการบริหารโรงพยาบาลและธรุ กจิ สขุ ภาพ ระหวา่ ง
คณะแพทยศาสตร์ คณะนติ ิศาสตร์ และคณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบัญชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

57

รายงานประจาปี 2564

ประเมินคณุ ภาพภายในระดับหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวชิ าระบาดวิทยาคลินกิ โดยใช้เกณฑ์ IQA ประเมนิ โดย

สานักงานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม รปู แบบออนไลน์
พิธีมอบทนุ การศึกษา มลู นธิ แิ พทย์เพื่อปวงประชาบริจาคทนุ การศึกษา ประจาปี 2564

16 กนั ยายน พ.ศ. 2564
ประเมินคุณภาพภายในระดบั หลักสูตรหลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต

สาขาวชิ าชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นกาเนิด (หลักสูตรนานาชาติ) โดยใช้เกณฑ์ IQA ประเมินโดย
สานักงานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม รูปแบบออนไลน์
22 กนั ยายน พ.ศ. 2564
งานเกษียณอายรุ าชการ ประจาปีงบประมาณ 2564

คณบดแี ละตวั แทนมอบของทีร่ ะลกึ ให้กับผู้เกษียณอายรุ าชการ และบุคลากรเขา้ ชมกิจกรรมจากวิดที ศั น์

58

รายงานประจาปี 2564

กิจกรรมเมือ่ เศร้า...เราสรา้ ง คร้งั ที่ 1 โรคเครยี ด โรคซมึ เศร้า การสงั เกตตวั เองและการสังเกตเพื่อน
โดยงานกิจการนักศึกษา

การแถลงนโยบายและแนวทางการบริหารสถานจากผสู้ มคั รและผตู้ อบรบั การทาบทามผู้สมควรดารง
ตาแหนง่ หัวหนา้ สถาน ผ่านระบบออนไลน์

งาน Open House ครง้ั ที่ 1 แบบ virtual meeting สาขาจิตเวชศาสตร์

23 กันยายน พ.ศ. 2564
การตรวจประเมนิ คุณภาพภายในหลักสูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ัณฑิต (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ.2562

และหลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2561) ประจาปีการศึกษา 2563

59

รายงานประจาปี 2564

24 กนั ยายน พ.ศ. 2564
วนั มหิดล ประจาปี 2564

27 กนั ยายน พ.ศ. 2564
ภาควิชาระบาดวิทยาคลนิ ิก เข้ารับการตรวจประเมินคณุ ภาพภายในระดับภาควชิ า ประจาปีการศึกษา 2563

29 กนั ยายน พ.ศ. 2564
โครงการผบู้ ริหารพบนกั ศึกษาขึ้นทกุ ปีการศึกษา เพื่อรบั ฟงั ปัญหา ทาความเขา้ ใจ

และตอบสนองความตอ้ งการของนกั ศึกษา (แบบออนไลน)์

การส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาแพทย์ครง้ั ที่ 1:
Justice…..ความยุติธรรมของผ้ปู ว่ ย VS นักศึกษาแพทย์

ประเมินคณุ ภาพภายในระดบั หลกั สตู รหลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสตู รปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต
สาขาวชิ าชีวเคมแี ละชีววิทยาโมเลกุล โดยใชเ้ กณฑ์ IQA ประเมนิ โดย

สานกั งานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม รูปแบบออนไลน์

60

รายงานประจาปี 2564

4-15 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
กิจกรรมการพบอาจารย์ที่ปรกึ ษา (ออนไลน)์

8 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
โครงการเปิดโลกจกั ษวุ ิทยาธรรมศาสตร์ (Open house) ภาควชิ าจกั ษวุ ิทยา

Hybrid conference TU eye Open house, First Look First Love

61

รายงานประจาปี 2564

11 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
พิธีมอบตวั ศิษยแ์ พทยแ์ ผนไทย ของนักศึกษาหลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑิต ช้นั ปีที่ 2

14 และ 28 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
การอบรมให้ความรู้โครงการการจดั การความรสู้ ่กู ารประเมินการจดั การความรู้ในองคก์ รด้วย KMA

(ออนไลน์)-หลกั สูตรที่ 1 การจดั การความรูจ้ ากทฤษฎสี ู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management Implementation)

18-20 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
การประเมินคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาแพทยศาสตร์
โดยคณะประเมินมาตรฐานระบบคณุ ภาพจาก The Strategic Initiative for Developing Capacity of Ethical
Review (SIDCER) รว่ มกับ Forum for Ethical Review Committees in Asia and Western Pacific (FERCAP)
ซ่งึ อยูภ่ ายใตอ้ งคก์ ารอนามยั โลก TDR/WHO และมาตรฐานของสานกั งานการวิจยั แหง่ ชาติ (National Ethics

Committee Accreditation System of Thailand) หรอื NECAST (ต่ออายุการรบั รองครง้ั ท่ี 4)

62

รายงานประจาปี 2564

21-23 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
ประชุมราชวิทยาลยั แพทยอ์ อร์โธปิดกิ สแ์ หง่ ประเทศไทยครัง้ ที่ 43

(The 43rd Annual Meeting of RCOST, RCOST2021)

23-24 ตุลาคม พ.ศ. 2564
การประชมุ วชิ าการแพทย์ภาคกลางจักษวุ ิทยา ครงั้ ที่ 19
“19th Specialty Day – EYEmazing: Re-think, Reform, Re-open”

6-7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
การอบรมเครอื ขา่ ยจกั ษแุ พทย์ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก และภาคอีสานตอนลา่ ง ครงั้ ที่ 8

63

รายงานประจาปี 2564

กิจกรรมคา่ ยฝนั เป็นหมอขอได้ไหม คร้ังที่ 20

8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
กิจกรรมทาบุญอทุ ศิ ส่วนกศุ ลแดอ่ าจารยใ์ หญ่ ประจาปีการศึกษา 2564

11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
พิธีมอบเสื้อกาวนใ์ หแ้ ก่นักศึกษาหลักสตู รแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑิต ช้ันปีที่ 4

64

รายงานประจาปี 2564

18 พฤศจิกายน และ 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
อบรมใหค้ วามรูโ้ ครงการการจัดการความรสู้ ูก่ ารประเมนิ การจดั การความรู้ในองคก์ รด้วย KMA ดว้ ยรูปแบบ
ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Zoom Meeting -หลักสตู รที่ 2 การประเมนิ ระบบการจัดการความรขู้ ององคก์ รดว้ ย

KMA (Knowledge Management Assessment)
17 พฤศจิกายน และ 14-22 ธันวาคม พ.ศ. 2564
กิจกรรมค่ายคุณธรรม และเตรยี มความพร้อมของนักศกึ ษาเพือ่ กา้ วสู่ช้ันพรีคลินิก

26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
งานประชมุ วิชาการราชวิทยาลยั จักษแุ พทยแ์ หง่ ประเทศไทย คร้ังท่ี 46

29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
อบรมใหค้ วามรรู้ ะบบบริหารความเสี่ยงคณะแพทยศาสตร์ (ออนไลน)์

2 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
พิธีไหวค้ รู และมอบโล่ประกาศเกียรตคิ ุณ ใบประกาศนียบัตร เกียรติบตั ร รางวลั และทนุ การศึกษาใหก้ ับ

อาจารยแ์ พทย์และนักศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564

65

รายงานประจาปี 2564

3 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
งานประชุมวิชาการประจาปี ครัง้ ท่ี 8 หนว่ ยโรคระบบการหายใจและเวชบาบดั วกิ ฤต ภาควิชาอายุรศาสตร์

8 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
ผา่ นการรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ จากสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร์ (สมพ.)

9 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
งานประชมุ วิชาการประจาปี ครั้งท่ี 8 หนว่ ยโรคระบบการหายใจและเวชบาบัดวกิ ฤต ภาควิชาอายุรศาสตร์

การปอ้ งกนั และเสรมิ สรา้ งภูมิตา้ นทานโรคติดเชื้ออยา่ งตอ่ เนือ่ งสาหรบั นักศึกษาแพทยแ์ ละ
แพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ ชนั้ ปีที่ 1 และเฝา้ ระวงั วณั โรค/ปอด สาหรบั นกั ศึกษาแพทย์ ชัน้ ปีที่ 4-6

3 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสนบั สนุนบคุ ลากรทาการวิจัย โดย ภาควชิ าระบาดวิทยาคลินิก

เรือ่ ง “Data collection method and REDCap for clinical research

4-6 ธันวาคม พ.ศ. 2564
การประชมุ วชิ าการประจาปี ครัง้ ท่ี 46 ราชวิทยาลัยศลั ยแพทยแ์ ห่งประเทศไทย
หัวข้อ “Theme: Achieving the Excellent Outcome in Essential Surgery”

กิจกรรม Born to be Surgeon (BTS 2021) ภาควิชาศลั ยศาสตร์

66

รายงานประจาปี 2564

15 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
กิจกรรมเมื่อเศรา้ ...เราสร้าง ครง้ั ที่ 2 burn out จากการเรียนสงั เกตไดอ้ ย่างไร

22 ธันวาคม พ.ศ. 2564
การศึกษาดงู านของคณะผบู้ ริหาร คณจารย์ และเจา้ หนา้ ทโ่ี รงพยาบาลมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี

ในการเตรียมความพร้อมในการเปิดศนู ย์สนบั สนนุ วิจยั ทางคลินิก
และความเชยี่ วชาญเฉพาะทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ

30 ธันวาคม พ.ศ. 2564
พิธีมอบใบประกาศนียบตั รหลักสูตรเวชศาสตร์ทางเพศ (Diploma in Sexual Medicine)

และหลักสูตรเพศวิทยาคลินิก (Diploma in Clinical Sexology)

.

67

รายงานประจาปี 2564

ผลงานวิจยั /วชิ าการ

ผลงานวิจยั /วชิ าการของคณาจารย์ จานวน
จานวนผลงานวิจัยหรอื งานสรา้ งสรรคท์ ีต่ ีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมลู เป้าหมายระดับ 141 เรื่อง
นานาชาติ (Scopus)
จานวนผลงานวิจัย/งานสรา้ งสรรคง์ /สิ่งประดิษฐ์ท่ไี ด้รับการจดทะเบียนสิทธิบตั รหรอื อนุ 4 เรอ่ื ง
สิทธิบัตรทงั้ ในและตา่ งประเทศ
จานวนผลงานวิจัย/นวัตกรรม/งานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์และแก้ไขปญั หาชุมชน/ 68 เรื่อง
สงั คม/ประเทศชาติ
ผลงานวิจยั /นวัตกรรม/งานสรา้ งสรรคท์ ีไ่ ด้รบั รางวลั ระดบั ชาติและ/หรอื ระดบั นานาชาติ 6 เรือ่ ง
เงินทนุ สนับสนนุ การวจิ ัยจากแหล่งทุนภายนอก 128,566,002 บาท

ผลงานตีพิมพข์ องนักศึกษาและผสู้ าเรจ็ การศึกษาท่ไี ด้รบั การตีพิมพห์ รอื เผยแพร่

Scopus/PubMed TCI นาเสนอผลงานต่อที่ประชุมวชิ าการทม่ี ี

รายงานการประชุม (Proceeding)

ระดบั ปรญิ ญาโท 41 12

ระดบั ปรญิ ญาเอก 14 5 -

68

รายงานประจาปี 2564

คณาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาทีไ่ ด้รับรางวัล

รางวลั การนาเสนอผลงานวจิ ยั การประชุมวชิ าการประจาปี 2564 สมาคมโรคสมองเสือ่ มแหง่ ประเทศไทย
รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ธรรมนาถ เจริญบุญ อาจารย์ประจาภาควิชาระบาดวิทยาคลินิก ได้รับรางวัล
ชนะเลิศอันดับที่ 1 การนาเสนอผลงานวิจัยประเภท Electronic Poster Presentation จากผลงานวิจัยเร่ือง Clinical risk
score for predicting vascular dementia after ischemic stroke in Thailand

รางวัลการประกวดผลงานวิจยั ในการประชุมวชิ าการประจาปี 2564 สมาคมสภาองค์กรโรคหดื แหง่ ประเทศไทย
รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์กัมพล อานวยพัฒนพล อาจารย์ประจาภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ได้รับรางวัล
ชนะเลิศ จากผลงานวิจัยเร่ือง Asthma Exacerbation 2021; ER setting vs. ICU setting และนายแพทย์ภัทรพงษ์
ฤทธิภักดี แพทย์ประจาบ้านช้ันปีที่ 3 ภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัลชมเชย จากผลงานวิจัยเร่ือง Prevalence,
clinical features and lung functions of asthma in Thai elderly patients

รางวลั แพทย์สตรปี ฏบิ ัติการดีเดน่ ดา้ นสโู้ ควิด ประจาปี 2564
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอัจฉรา ต้ังสถาพรพงษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ได้รับรางวัลแพทย์สตรีปฏิบัติการ
ดีเด่นด้านสู้โควดิ ประจาปี 2564 จากสมาคมแพทย์สตรแี ห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถมั ภ์

69

รายงานประจาปี 2564

งานวันนักวิจัยมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจาปี 2563-2564

ผ้ไู ด้รับโปรดเกล้าฯ แต่งต้งั ให้ดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ ประจาปี 2563
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทิพย์สุโข
ผ้ไู ด้รบั รางวัลผลงานวิจยั ดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี)
ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ภาคภูมิ เขียวละม้าย
ผลงานวิจยั เรื่อง การวิเคราะห์โครงสร้างของวสั ดุเชิงประกอบไฮดรอกซีอาพาไทด์ทีเ่ ตรียมจากเปลือกไข่ไก่และ
พอลิคาโปรแลคโทนสาหรับการนาไปประยกุ ต์ใช้งานเปน็ โครงเลี้ยงเซล
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณัฐพล ธรรมโชติ
นายแพทย์สภุ กิจ คณิตเนตร (โรงพยาบาลสายไหม)
ผลงานวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพของการฉีดยาสเตียรอยด์ (ก่อนการผ่าตดั ) ทางเส้นเลือดดาในการระงบั ปวด
หลงั การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมครั้งแรก
ผ้ไู ด้รับรางวลั นักวิจัยร่นุ ใหม่ดีเด่นระดับคณะ ประเภทอาจารย์
อาจารย์ ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
ผ้ไู ด้รบั รางวลั ประกาศเกียรติคณุ ทางด้านการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนา ขอเจริญพร
รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์กมั พล อานวยพัฒนพล
ผ้ไู ด้รับทุนวิจยั โครงการขนาดใหญ่ผ่านคณะ/หน่วยงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอจั ฉรา ต้งั สถาพรพงษ์
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สมบตั ิ ม่งุ ทวีพงษา

70

รายงานประจาปี 2564

รางวัลนกั กิจกรรมดเี ด่น หรอื สรา้ งชือ่ เสียงให้มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2562
นายอภิสิทธ ต้ังสินมั่นคง และนางสาวชมขวัญ เดชะอาไพ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 ประธานโครงการและทีม Face
Shields for Our Fighters ได้รับรางวัลชมเชยด้านบาเพ็ญประโยชน์ ประเภททีม จากมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

รางวลั บัณฑิตแพทยศาสตรด์ เี ยีย่ ม ประจาปี 2564
แพทย์หญิงฐิติชญา ลีลายนะ บัณฑิตคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (แพทย์ธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 25)
ได้รับรางวัลบัณฑิตแพทยศาสตรด์ ีเยีย่ ม ประจาปี 2564 จากมลูนิธิสมเดจ็ พระมหติลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

รางวัลวิทยานพิ นธด์ ีเด่น มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2563
นางสาวปิยนุช คงทิม นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก
(ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทพิ ย์สโุ ข อาจารย์ท่ปี รกึ ษา)
วิทยานิพนธ์เร่ือง “PREDICTION OF ALLOGENEIC STEM CELL TRANSPLANT OUTCOMES USING A COMPOSITE
RISK MODEL OF THE REFINED-DISEASE RISK INDEX AND HEMATAPOIETIC STEM CELL TRANSPLANT
COMORBIDITY-AGE INDEX IN PATIENS WITH AML AND MDS”

71

รายงานประจาปี 2564

รางวลั การนาเสนอผลงานวจิ ยั งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติการแพทย์แผนไทย คร้งั ที่ 3 ณ คณะ
การแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วันท่ี 5-6 พฤษภาคม พ.ศ.2564 รปู แบบออนไลน์
นางสาวนันทิกา พรหมมี นักศึกษาระดับปริญญาเอก หลกั สูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์
ได้รบั รางวัลชนะเลิศ ในการนาเสนอผลงาน Poster Presentation จากผลงานวิจัยเรอ่ื ง ฤทธิล์ ดไข้ทถ่ี ูกเหนีย่ วนาให้เกดิ ไข้
ด้วยไลโปโพลีแซคคาไรด์ในหนูขาวใหญ่ของตารับยาไทยชื่อประสะจันทน์แดง (รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิง
อรุณพร อิฐรัตน์ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา)

นางสาวกาญจนา เทอดศักดิ์ศรี นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์
แผนไทยประยุกต์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง ในการนาเสนอผลงาน Poster Presentation จากผลงานวิจัย
เรื่อง ฤทธิ์ยับยั้งแอลฟากลูโคซิเตสและแอลฟาอะไมเลสในหลอดทดลองของสารสกัดเปลือกสมุลแว้ง อบเชยญวณ
และอบเชยเทศ (อาจารย์ ดร.ปรรณณวชั ญ์ ไชยวฒั นนนั ทน์ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา)

นางสาวยุพาภรณ์ วิเชียร นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย
ประยุกต์ ได้รบั รางวัลรางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั สอง ในการนาเสนอผลงาน Oral Presentation จากผลงานวิจัยเร่อื ง การศึกษา
ฤทธิ์ต้านไวรสั Influenza A (H1N1) ของสารสกดั ใบย่านางในหลอดทดลอง (อาจารย์ ดร.สุมาลี ปานทอง อาจารย์ทป่ี รึกษา)

การประชุมวชิ าการระดับชาติมหาวิทยาลัยทกั ษิณ ครงั้ ที่ 31 ประจาปี 2564 ภายใต้หัวขอ้ : วิจัยกบั การ
นวตั กรรมสงั คมยุคหลังโควดิ -19 (Research and Social Innovations in the Post COVID-19 Era) ใน
วนั ท่ี 20-21 พฤษภาคม 2564 ณ อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
นางสาวกนกกร วิจิตรสกุล นกั ศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีวเคมีและชีววิทยา
โมเลกุล ได้รับรางวัลระดับดีมาก จากผลงานวิจัย เร่ือง การยับย้ังการเพิ่มจานวนและการเหนี่ยวนาให้เกิดการตาย
แบบ apoptosis ของเซลล์มะเรง็ ลาไส้ใหญ่ด้วยยางรงทอง

นางสาวฐิตาพร ชัยศิลป์ นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก หลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล
ได้รับรางวลั ระดบั ดี จากผลงานวิจัย เรือ่ ง การสังเคราะห์และประเมินฤทธิท์ างชีวภาพของอนพุ นั ธ์เฮสเพอริดิน

72

รายงานประจาปี 2564

รางวัลการนาเสนอผลงานในการประชุมประจาปี Thai-American Physician Foundation (TAPF)
Annual Meeting 2021 [Virtual Meeting] วันท่ี 31 กรกฎาคม 2564
นางสาวอาริศา จินดาพร นักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) ช้ันปีที่ 6 ได้รับรางวัล Best
Oral Research Award by Medical Student การนาเสนอผลงานวิจัย เร่ือง Thammasat – Siriraj Thai Pediatric sleep
questionnaire: Translation and cross cultural adaptation

นายคณชยั บุญภิรักษ์ นักศึกษาหลักสตู รแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) ชั้นปีที่ 6 นาเสนอผลงาน เร่อื ง The
Impact of COVID-19 in the Management of the Otolaryngology Outpatient Department: A Retrospective Review
ได้ รั บ 3 ร า งวั ล ได้ แ ก่ (1) Third Place Oral Research Award by Medical Student (2 ) Best Public Health
Implementation Oral Research Award (COVID-19 ) แล ะ (3 ) Best Popular Election Oral Research Presentation
Award by Medical Student

73

รายงานประจาปี 2564

การส่งเสริมและพฒั นาบุคลากรและนกั ศกึ ษา

คณะแพทยศาสตร์ มีนโยบายส่งเสรมิ และพฒั นาบุคลากรและนกั ศึกษา โดยการให้ทุนสนบั สนนุ การศึกษาต่อ
การเขยี นตารา/สื่อการสอน และรางวลั การตีพิมพ์บทความวิชาการให้กับบุคลากร และสนับสนุนทุนให้กบั นกั ศึกษาไป
นาประชุม อบรม สัมมนา และการนาเสนอผลงานท้ังในและต่างประเทศ อีกท้ังยังให้การดูแลช่วยเหลือนักศึกษาที่
ประสบปญั หาด้านการเงิน ทกุ ปกี ารศึกษา

บุคลากร
1. ทุนการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ปรญิ ญาเอก วุฒิบัตร หรือประกาศนียบัตรในต่างประเทศ จานวน 6 ทุน
(อาจารย์สงั กัดโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติ)
2. ทนุ พฒั นาบุคลากรภาครัฐศึกษาต่อปรญิ ญาเอกต่างประเทศ (ทุน สวทช.) จานวน 1 ทนุ
3. ทุนส่งเสรมิ บณั ฑติ ฯ แผนกแพทยศาสตรม์ ูลนิธิอานนั ทมหิดล จานวน 1 ทุน
4. ทุนการเขยี นตารา/สื่อการสอน
4.1 ทนุ จากคณะแพทยศาสตร์ สาหรบั สือ่ การสอน จานวน 1 ทนุ และทนุ การเขยี นตารา จานวน 6 ทุน
4.2 ทุนจากมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ สาหรับการเขียนตารา จานวน 1 ทุน
5. รางวัลการตีพิมพ์บทความวิชาการ จานวน 9 รางวัล

นกั ศึกษา
1. ทนุ การศึกษาจากภายนอก จานวน 44 ทุน เป็นเงิน 2,611,400 บาท และทุนภายใน จานวน 80 ทุน เป็นเงิน
506,700 บาท
2. ทุนช่วยเหลอื จากมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
2.1 ทุนช่วยเหลือทนุ ละ 5,000 บาท จานวน 113 ทนุ
2.2 ทุนช่วยเหลือทนุ ละ 2,500 บาท จานวน 63 ทุน
3. ทุนช่วยเหลือจากคณะแพทยศาสตร์
3.1 ทุนช่วยเหลือทุนละ 10,000 บาท จานวน 73 ทนุ
3.2 ทนุ ช่วยเหลือทุนละ 5,000 บาท จานวน 13 ทนุ
3.3 ทนุ ช่วยเหลือทนุ ละ 2,500 บาท จานวน 7 ทนุ
3.4 ทนุ ช่วยเหลือทนุ ละ 2,000 บาท จานวน 1 ทนุ
3.5 ทุนอดุ หนนุ อุปกรณเ์ พ่อื การเรยี นผ่านระบบออนไลน์ทนุ ละ 8,000 บาท จานวน 16 ทนุ
4. สนับสนุนค่าอินเตอร์เน็ตรายเดือนให้กับนักศึกษาที่ยื่นคาร้องขอรับการช่วยเหลือท้ังหมด 750 คน (เดือนละ
300 บาท เปน็ เวลา 3 เดือน)
5. ทนุ การศึกษาเตม็ จานวนให้สาหรับนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท-เอก ปีการศึกษา 2564 จานวน 16 ทุน
6. ทนุ ปรญิ ญาเอก มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2564 จานวน 3 ทนุ

74

รายงานประจาปี 2564

7. ทุนผู้ช่วยสอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2564 สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาโท และ
ระดับปรญิ ญาเอก จานวน 2 ทุน

8. ทนุ สนับสนนุ นักวจิ ยั หลังปรญิ ญาเอกศักยภาพสูง (Thammasat Postdoctoral Fellowship )
นอกเหนือจากนี้ คณะแพทยศาสตร์ ยังมีการส่งเสริมนักศึกษาให้เกิดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยการปรับปรุง
สถานที่สาหรับให้นักศึกษาได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง Self-directed learning (SDL) ให้มีศักยภาพรองรับความ
ต้องการที่แท้จริงของนักศึกษา ดูแลบริหารจัดการเองโดยนักศึกษา ท้ังนี้เพื่อสร้างให้เกิดบรรยากาศสังคมแห่งการ
เรียนรอู้ ย่างแท้จรงิ (school of active learner) ภายใต้โครงการ 24/7 Learning Area (SDL) เพื่อให้นักศึกษามีพนื้ ที่การ
เรียนรู้ที่สะดวก สะอาด ปลอดภัย และทันสมัย เข้าถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการ (internet access online) ได้อย่าง
สะดวก รวดเร็ว เพื่อศึกษาหาความรไู้ ด้ 24 ช่ัวโมง ตลอดสัปดาห์ ซ่ึงมีนักศึกษาเข้าใช้อย่างต่อเนื่องท้ังกอ่ นเข้าเรียน
หลังเลิกเรียน และตอนเย็น

คณะแพทยศาสตร์ มีนโยบายปลกู ฝังให้นกั ศึกษามีจิตอาสา ทาประโยชน์ต่อสาธารณะ จึงได้ส่งเสรมิ กจิ กรรมบาเพ็ญ
ประโยชน์หลายโครงการให้กบั นักศึกษา ซ่ึงนอกจากจะเป็นการปลกู ฝังให้นักศึกษาทาประโยชน์เพือ่ สังคมแล้วยังเป็น
การปลูกฝังการทางานเป็นทีมให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น โครงการฟังด้วยใจให้ด้วยรัก ในช่วงการแพร่ระบาดของ
โควิด-19 นักศึกษาสมัครเป็นจิตอาสาในศูนย์วัคซีนธรรมศาสตร์ และ home isolation ของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์
และ ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตรค์ คู ต

75

รายงานประจาปี 2564

ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC)

ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) ได้ก่อต้ังขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2563 เพื่อให้บริการงานวิจัย
ทางคลินิกให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลอย่างเต็มรูปแบบ โดยแบ่งเป็น 3 งาน ได้แก่

1. งานทดลองวิจัยทางคลินิก
2. งานสนบั สนนุ การวจิ ยั ทางคลินิก
3. งานคลินิกวจิ ัย

ผลการดาเนินงานของศนู ย์วิจยั ทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC)

ชือ่ โครงการ ผลการดาเนนิ งาน
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการวจิ ยั จานวน 46 โครงการ และได้รบั การ Awarded จานวน 14 โครงการ
ทางคลินิก (Feasibility Study) ได้แก่ Neurology ( 2 โครงการ) Hematology ( 3 โครงการ) Pediatrics (
1 โครงการ) Dematology (2 โครงการ) GI ( 3 โครงการ) Nephrology (
โครงการการให้บริการทบทวน Clinical Trial 1 โครงการ) Infectious disease ( 2 โครงการ)
Agreement; CTA และ Material Transfer CTA จานวน 19 โครงการ และ MTA จานวน 4 โครงการ
Agreement; MTA
โครงการวจิ ยั ที่ขอใช้บริการ CRC ประเภท Sponsor Initiated Trials; SIT มีจานวนโครงการทีข่ อใช้บริการ
ทั้งหมด 12 โครงการ (อยู่ระหว่างดาเนนิ การวจิ ยั ) โดยมีทงั้ ที่ขอใช้
บรกิ ารแยกเปน็ รายกจิ กรรม รายบุคคล และรายคลนิ ิกวิจัย และมี
จานวน 5 โครงการที่ได้ปดิ โครงการเรียบร้อยแล้ว

ประเภท Investigator Initiated Trials; IIT มีจานวนโครงการทข่ี อใช้
บรกิ ารทั้งหมด 6 โครงการ มจี านวน 5 โครงการทีก่ าลงั ดาเนินการวจิ ยั
อยู่ และอีก 1 โครงการได้ปดิ โครงการเรียบร้อยแล้ว

ในปี พ.ศ.2565 ศนู ย์วจิ ยั ทางคลินิก จะเปิดให้บริการตรวจวเิ คราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ดังนี้
1. การตรวจภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนของโคโรน่าไวรสั (Covid-19) ชนิด s-RBD Ag
2. การตรวจหาความสามารถภูมิคุ้มกันต่อการยับยั้งไวรัส (Neutralizing Antibody) ของเชื้อไวรัสโคโรน่า

2019 (SARS-CoV-2): Nab
3. การตรวจหาภมู ิคุ้มกันต่อโปรตีน Nucleocapsid ของเชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019 (SARS-CoV-2); Anti-N
4. การตรวจ TB-Elispot / Fluoro-spot (รองรบั สาหรบั รพธ.และหน่วยงานภายนอก)

76

รายงานประจาปี 2564

สานกั งานคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวิจัยในคน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
(สาขาแพทยศาสตร)์

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สาขาแพทยศาสตร์) : Human Ethics
Committee of Thammasat University (Medicine) หรือเรียกย่อว่า “คณะกรรมการฯ” หรือ “EC” ทาหน้าที่เป็น
คณะกรรมการด้านจรยิ ธรรมการวิจยั ในคน พิจารณาให้ความเห็นชอบเชิงจรยิ ธรรมแก่โครงการวิจยั ที่ดาเนินการโดย
บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ แพทย์ประจาบ้าน แพทย์ใช้ทุน นักศึกษาที่เรียนในหลักสูตรของคณะแพทยศาสตร์
อาจารย์ที่สอนในหลักสูตรคณะแพทยศาสตรม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือโครงการวิจัยอื่นที่มีการร้องขอให้คณะ
กรรมการฯ พิจารณาโดยทีโ่ ครงการวิจยั ท้ังหมดหรอื ส่วนหนึ่งส่วนใดได้ดาเนินการในคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล
ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ศูนย์บริการปฐมภูมิคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (คูคต) ในกรณีที่
โครงการวิจัยไม่ได้ดาเนินการในสถานที่ดังกล่าวให้ผู้วิจัยยื่นให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยประจาสถานที่ที่
ดาเนินการพิจารณา ท้ังนีเ้ พื่อให้เป็นไปตามข้อบงั คับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับ
ที่ 5 ) พ.ศ. 2544 หมวด 6 การศึกษาและการทดลองในมนุษย์ ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป
เล่มที่ 118 ตอน 12 ลงวันที่ 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2544

77

รายงานประจาปี 2564

คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์

การบริการ
คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ เปิดให้บริการตรวจ หัตถบาบัด ประคบสมุนไพร/เฉพาะที่ อบสมุนไพร

ยาสมุนไพร มารดา หลงั คลอด และนวดสขุ ภาพ
ผลิตภณั ฑ์ยา

78

รายงานประจาปี 2564

หนว่ ยห้องปฎบิ ัติการวิจัยกลาง

หน่วยห้องปฎิบัติการวิจัยกลาง คณะแพทยศาสตร์ รับบริการงานตรวจวิเคราะห์ สาหรับนักวิจัยท้ังภายในและ
หน่วยงานภายนอกที่มาขอใช้บริการ ท้ังหมด 4 ประเภท ได้แก่

1. งานตรวจวเิ คราะห์ปริมาณสารพนั ธุกรรมและโปรตีน โดยเทคนิค Real time PCR และ Western blot analysis
2. งานตรวจวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรรศน์ Bright field microscopy, Phase contrast microscopyและ Inverted

fluorescent microscopy
3. งานตรวจวเิ คราะห์สมนุ ไพรและอาหาร โดยใช้ HPLC, GC-MS, Microplate reader และ AAS
4. งานตรวจวเิ คราะห์ทางคลินิกด้วยเทคนิค Enzyme-liked immunosorbent assay (ELISA)

เคร่อื งวิเคราะห์สารแบบโครมาโตกราฟฟีของเหลว (HPLC)
สาหรับให้บริการตรวจวเิ คราะห์ แยกสารและหาชนิดและปริมาณสารต่างๆ ทั้งในเชิงคุณภาพและเชงิ ปรมิ าณ

โดยสามารถใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกวา้ งขวาง เช่น ในการวเิ คราะห์ทางอาหาร ยา สมนุ ไพร blood urine เปน็ ต้น

เครอ่ื งแก๊สโครมาโตกราฟพรอ้ มตรวจวัดแบบวิเคราะห์มวล (GC-MS)
สาหรับตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณของสารที่สนใจในตัวอย่างได้ในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดย

ลักษณะของสารหรือตัวอย่างที่จะวิเคราะห์จะต้องมีคุณสมบัติในการระเหยกลายเป็นไอได้ง่าย เช่น แอลกอฮอล์
น้ามนั หอมระเหย สารพิษตกคา้ งในผัก สารในยาขับปสั สาวะ เป็นต้น

เครอ่ื งวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในสารละลาย (Atomic absorption spectrophotometer)
สาหรับตรวจวิเคราะห์ หาธาตุต่างๆ ได้มากกว่า 67 ธาตุ ท้ังในเชิงวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์ปริมาณ

สามารถใช้งานหลายๆ ด้าน เช่น การวิเคราะห์ทางการแพทย์ สมุนไพร การวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา การวิเคราะห์
เพอ่ื การเกษตร เป็นต้น

เคร่อื งวิเคราะห์สารปรอทอัตโนมัติ (Mercury analyzer)
สาหรับตรวจวเิ คราะห์ หาปริมาณของสารปรอทในตวั อย่างที่สนใจ

79

รายงานประจาปี 2564

สือ่ ส่งิ พิมพ์ของคณะ

วารสาร ASIAN MEDICAL JOURNAL AND ALTERNATIVE MEDICINE (AMJAM)
วารสาร AMJAM เป็นวารสารออนไลน์ (Open Access Journal) ตีพิมพ์บทความหลากลายสาขาวิชา เช่น

Health Science, Medicine และ Alternative Medicines มี Editorial BOARD เป็นผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศที่มี
ชื่อเสียง ปัจจุบัน วารสาร AMJAM อยู่ในฐานข้อมูลของ TCI ระดับ 2 ในปี 2564 วารสาร AMJAM ได้รับการตีพิมพ์
จานวน 4 ฉบบั

จุลสารแพทยธ์ รรมศาสตร์
จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ จดั ทาขนึ้ เพือ่ เผยแพรข่ ่าวสาร เร่ืองน่ารู้ และกจิ กรรมต่าง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ แก่อาจารย์ บุคลากร นกั ศึกษา ศิษย์เกา่ และผู้สนใจทว่ั ไป โดยจะตีพมิ พ์ปีละ 4 ฉบับ

80

รายงานประจาปี 2564

ตาราของคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์

กรณีศึกษาในกุมารเวชปฏบิ ัติ (Case studies in pediatric practices)

รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงพชรพรรณ สุรพลชยั
ศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงสุขเกษม โฆษิตเศรษฐ
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงอิสราภา ชน่ื สุวรรณ
ผู้ช่วยรองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงขนิษฐา คูศวิ ไิ ลส์
ผู้ช่วยรองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงพรทิพา อิงคกุล
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงผกาทิพย์ ศลิ ปมงคลกุล
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงกติ วิ รรณ โรจนเนอื งนิตย์

การบาดเจบ็ ทางออร์โธปิดิกส์ (Orthopaedic Trauma)

ศาสตราจารย์ นายแพทยย์ งยทุ ธ ศิริปการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ จน จิตะพนั ธ์กลุ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยช์ นิ กาจ บุญญสิริกลู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยส์ คุ ณิศ ฉา่ ชน่ื
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ ดนิ ันท์ อภวิ ัฒน์การุญ

กายวิภาคศาสตรข์ องระบบกลา้ มเนือ้ และกระดูกจากกรณีศึกษาและรูปภาพ
รองศาสตราจารย์เกลด็ แก้ว ด่านวิวัฒน์

81

รายงานประจาปี 2564

ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศภุ เกต แสนทวสี ุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมรณัฏฐ์ ทับเปีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฎ งามจรยิ าวตั ร
รองศาสตราจารย์ ดร.นันทิยา สมภาร
ดร.อัจฉราพร แถวหมอ

ยาและโภชนเภสัชทใ่ี ชใ้ นการรักษาภาวะไขมนั ในเลือดผิดปกติ
รองศาสตราจารย์ ดร.นนั ทิยา สมภาร

การรกั ษาโรคเบาหวานดว้ ยยาแผนปัจจบุ นั และพชื สมุนไพร
รองศาสตราจารย์ ดร.จริญญาพร เนาวบตุ ร

กายวิภาคคลินิกของหลงั และไขสันหลงั
รองศาสตราจารย์ นายแพทยข์ จร ลกั ษณช์ ยปกรณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนศิ รา ทรงทวสี ิน

82

รายงานประจาปี 2564

สรรี วิทยาระบบหายใจ
รองศาสตราจารย์ ดร.พรพรหม ยอ่ ยสงู เนนิ

ระบบประสาทควบคุมการเคลือ่ นไหวของร่างกาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จนั ทรมิ า เจริญพนั ธ์ุ

ภาวะธารงดุลของร่างกายมนุษย์และสารสอ่ื ประสาทในสมอง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรศิ นา ปิยะพนั ธ์ุ

83

รายงานประจาปี 2564

พิมพ์ที่: โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2565
โทรศัพท์ 0-2564-3104 ถงึ 6
โทรสาร 0-2564-3119

http://www.thammasatprintinghouse.com

84


Click to View FlipBook Version