The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

653-64 จุลสารแพทย์ฉบับที่ 6 WEB

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Developer Software, 2021-07-15 03:46:47

653-64 จุลสารแพทย์ฉบับที่ 6 WEB

653-64 จุลสารแพทย์ฉบับที่ 6 WEB

FACULTY OF MEDICINE

Apr - Jun 2021

การป้องกนั รับมอื ไวรสั โควดิ 19 COVID-19 Research

รเู้ ท่าทัน รบั มอื ป้องกันตวั เอง จากไวรัสโควดิ 19 ให้อยู่รอด ทนุ วิจยั สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
สวมหนา้ กากอนามัย 2 ชน้ั ดีจริง?
Donation
10 คาำ ถามเรือ่ งวัคซีนโควิด 19 และโรคภมู ิแพ/้ โรคหดื
ขอขอบคณุ ผ้บู รจิ าคเงินและอปุ กรณ์ทางการแพทย์ “สภู้ ยั COVID-19”
การเรียนการสอนช่วงโควิด 19

นักศึกษาแพทยเ์ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอนในหลกั สตู รและ
นอกหลกั สูตรสำาหรับปกี ารศึกษา 2564

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กองบรรณาธกิ าร
Website: http://www.med.tu.ac.th / https://www.med-thammasat.org ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สริ ะ นันทพิศาล
Facebook : med.tu / Faculty of Medicine, Thammasat University / พบหมอธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ สั นี ทองอยู่
Youtube : Faculty of Medicine Thammasat University หทยั รัตน์ สาธุธรรม
ชุตนิ ันท์ กลิ่นจนั ทรห์ อม
จลุ สารแพทยธ์ รรมศาสตร์ ธาตรี ทวแี สง
เพ่อื เผยแพร่ขา่ วสาร เรอ่ื งนา่ รู้ และกจิ กรรมต่าง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปณั ฑ์ณฐั ปานพรม
แกอ่ าจารย์ บุคลากร นักศกึ ษา ศษิ ย์เก่า และผ้สู นใจทวั่ ไป รชั ตพ์ ล ชมบญุ

ทีป่ รึกษา เลขานุการบรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ นายแพทยด์ ลิ ก ภิยโยทยั อรพรรณ บญุ เรือง
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ อจั ฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
ผ้ชู ่วยเลขานุการบรรณาธิการ
บรรณาธกิ าร อาทติ ยา เรืองรุ่งชัยกุล
รองศาสตราจารย์ นายแพทยณ์ รงค์กร ซา้ ยโพธิก์ ลาง
จัดทำาโดย : คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
โทรศัพท์ : 0-2926-9004 โทรสาร : 0-2516-3771
E - mail : [email protected]
พิมพท์ ี่ : โรงพิมพม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2564-3104-6

การปอ้ งกัน รบั มือ ไวรัสโควิด 19

รเู้ ทา่ ทัน รับมือ ป้องกนั ตัวเอง จากไวรัสโควิด 19 ใหอ้ ยู่รอด

วันท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2564 ศาสตราจารย์ นายแพทย์อนุชา อภิสารธนรักษ์
อาจารย์ประจำ�ภาควิชาอายุรศาสตร์ และรองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงพรอำ�ภา บรรจงมณี
อาจารย์ประจำ�ภาควิชากุมารเวชศาสตร์โรคติดเช้ือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รว่ มอปั เดตสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของCovid-19พรอ้ มทงั้ ใหข้ อ้ มลู ดา้ นการรบั มอื การปอ้ งกนั ตวั เอง
จากไวรัสโควิด 19 ให้อยรู่ อด ในรายการ Her Day วนั ของเธอ ณ ชอ่ ง 9 MCOT HD

สวมหนา้ กากอนามัย
2 ช้นั ดีจรงิ ?

วันท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
รองศาสตราจารย์ นายแพทยด์ ลิ ก ภิยโยทัย
คณบดีคณะแพทยศาสตร์ ให้ความรู้
เก่ียวกับการใส่หน้ากากอนามัย 2 ช้ัน
เพ่ือลดความเส่ียงที่จะได้รับเชื้อโควิด 19
ไดจ้ ริงหรอื ไม่ ในรายการ เมืองไทยใหญอ่ ุดม
สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ททบ.5
(สามารถติดตามรับชมย้อนหลังได้ท่ี
https://fb.watch/5oxJ-ICMcz/)

-1-

10 คำ�ถาม ?

เรอื่ งวคั ซีนโควิด 19 QA

และโรคภูมแิ พ้/โรคหดื

โดย ศาสตราจารย์ ดร. แพทยห์ ญิงอรพรรณ โพชนุกูล

Q คนทเ่ี ปน็ โรคภูมิแพห้ รอื โรคหดื สามารถรบั วคั ซนี ได้หรอื ไม่ ควรรบั ชนิดไหนดี

A สามารถรับวัคซีนโควิด 19 ได้ตามปกติ ท้ังสองโรคน้ีไม่ได้เพิ่มความเส่ียงในการแพ้วัคซีนมากกว่าคนทั่วไป
โดยสามารถรบั วคั ซนี ชนดิ ไหนก็ได้ การเกดิ การแพช้ นดิ รนุ แรง (anaphylaxis) พบไดน้ อ้ ยมาก ประมาณ 1-11 ครง้ั
ในการฉดี 1,000,000 คร้งั สว่ นอาการทีเ่ กิดขึ้นไดบ้ อ่ ย ไมร่ นุ แรงและหายไดเ้ อง เราเรยี กว่าผลข้างเคียงไม่ใช่อาการ
แพว้ คั ซนี เชน่ ปวดศรี ษะ เมอ่ื ยตวั คลนื่ ไสอ้ าเจยี น งว่ งนอน ออ่ นเพลยี ปวดกลา้ มเนอ้ื มผี น่ื บวมแดงรอ้ นบรเิ วณทฉ่ี ดี

Q คนทเ่ี ปน็ โรคภมู แิ พ้ หรอื โรคหดื กลมุ่ ไหนทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ทจ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งรบี รบั วคั ซนี โควดิ

A ทุกคนไม่ว่าจะมีโรคประจำ�ตัวหรือไม่ก็สมควรต้องรับวัคซีน เพราะสามารถป้องกันโรคหรือหากเกิดการติดเช้ือ
โรคก็ลดความรุนแรงและการเสียชีวิต แต่ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อรุนแรงมักเกิดในผู้ท่ีเป็นโรคหืดท่ีมีอาการมาก
หรือควบคุมอาการยังได้ไม่ดี ซึ่งการติดเชื้ออาจทำ�ให้มีอาการหอบกำ�เริบรุนแรงได้ ดังนั้นคนไข้กลุ่มน้ีจึงต้อง
รบี รับวคั ซีนกอ่ น โดยเฉพาะโรคหดื ในผสู้ ูงอายุหรือทีม่ โี รครว่ มหลายโรค

Q กรณีแพ้อาหารหรือยา รบั วัคซนี ได้หรือไม่

A คนไขท้ มี่ ปี ระวตั แิ พย้ า อาหารทกุ ชนดิ แพแ้ มลง แพผ้ ลติ ภณั ฑจ์ ากยางพารา (latex) สามารถรบั วคั ซนี ไดต้ ามปกติ
ไม่ได้เพิ่มความเส่ียงในการแพ้วัคซีน ยกเว้นมีประวัติแพ้วัคซีนชนิดอื่น ๆ แบบรุนแรง อาจต้องปรึกษาแพทย์
ก่อนรับวคั ซีน

-2-

Q อาการแพ้วคั ซนี มีอะไรบ้าง สังเกตอยา่ งไร

A กอ่ นอน่ื ตอ้ งแยกระหวา่ งภาวะแพว้ คั ซนี รนุ แรง (anaphylaxis) ผลขา้ งเคยี งของวคั ซนี (side effects) และอาการ
เป็นลม (vasovagal syncope) ซ่งึ วธิ แี ยกมดี งั น้ี
1) ภาวะแพว้ คั ซนี รนุ แรงเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าของรา่ งกายผา่ นระบบภมู คิ มุ้ กนั สว่ นใหญป่ ระมาณรอ้ ยละ80มกั เกดิ ขน้ึ
ภายในเวลา 15-30 นาทีหลงั รับวคั ซีน อาการทพ่ี บบ่อยท่สี ดุ คอื ผื่นคนั คล้ายลมพิษ อาจมีอาการบวม
นอกจากน้อี าการทพี่ บร่วมกัน ได้แก่ หายใจเหนื่อย แน่นหนา้ อก ชีพจรเต้นเรว็ คลน่ื ไส้อาเจียน ความดัน
โลหติ ต�ำ่ หมดสติ โดยเกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ เปน็ หลายระบบพรอ้ มกนั อาการเหลา่ นห้ี ายไดด้ ว้ ยการใชย้ า
ฉดี รกั ษาคือ adrenaline หรอื epinephrine แล้วอาการจะคอ่ ย ๆ ดขี ึน้ ภายในเวลา 24 ชั่วโมง
2) ผลข้างเคียงจากวคั ซนี มักจะเกดิ ข้ึนหลงั ฉีดไปหลายชัว่ โมงจนถึง 3 วนั อาการที่เกิดข้ึน เช่น ปวดศีรษะ
ปวดเม่ือยตามตวั ปวดบวมแดงบริเวณทฉี่ ดี อาการมกั หายไปเองได้ โดยไมต่ ้องใหก้ ารรักษา หรือรกั ษา
ตามอาการ
3) อาการเป็นลม เป็นอาการหน้ามืดที่สามารถพบได้บ่อยในผู้ท่ีมีสุขภาพร่างกายหรือจิตใจอ่อนแอ เช่น
คนปว่ ย อดนอน หวิ หรอื อยใู่ นสถานการณห์ รอื เหตกุ ารณท์ ไ่ี ดร้ บั การกระตนุ้ จากสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ อากาศรอ้ น
แสงแดด ความเครยี ด ความวติ กกงั วล ยนื เปน็ เวลานาน เจบ็ ปวด เปน็ ตน้ ซง่ึ ท�ำ ใหร้ ะบบประสาทอตั โนมตั ิ
หยุดท�ำ งานชว่ั คราวสง่ ผลท�ำ ใหเ้ กดิ อาการคลื่นไส้ อาเจียน หน้าซดี เหงอื่ แตก ความดนั โลหิตลดลงและ
เปน็ ลมหมดสติ ภาวะน้หี ัวใจจะเตน้ ช้าลงและไม่มีผ่นื ขึน้ ไมเ่ หมือนภาวะแพ้ชนดิ รนุ แรงที่เต้นเรว็ และมีผ่นื

Q หากใช้ยาประจำ�อยู่ กอ่ นรบั วคั ซีนควรงดยาตัวไหน

A ไม่จำ�เป็นต้องงดยารักษาโรคเดิมก่อนรับวัคซีน กรณีคนไข้โรคภูมิแพ้ หากได้ยาแก้แพ้หรือยาพ่นสูด ให้ใช้ยาเดิม
ตอ่ เน่ืองตามปกติ ไมค่ วรลดหรอื หยุดยากอ่ นมาฉีดเพราะอาจทำ�ให้โรคก�ำ เริบและมีอาการคล้ายแพว้ คั ซีนได้

Q การเตรียมตวั ก่อนรับวคั ซีน ต้องทานยาอะไรป้องกนั ภาวะแพ้

A ไมม่ คี วามจ�ำ เปน็ ตอ้ งทานยาแกแ้ พเ้ พอื่ ปอ้ งกนั การแพว้ คั ซนี เพราะนอกจากจะไมช่ ว่ ยปอ้ งกนั แลว้ กรณใี หย้ าแกแ้ พ้
ก่อนรับวัคซีนยังอาจทำ�ให้ยับยั้งอาการทางผิวหนังซ่ึงเป็นอาการสำ�คัญของการแพ้วัคซีนทำ�ให้สังเกตอาการ
ได้ยากข้ึน ส่ิงสำ�คัญที่ควรเตรียมตัวก่อนรับวัคซีน คือ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียดหรือวิตกกังวลจนเกินไป
ไม่งดอาหารกอ่ นมารบั วัคซีนเพราะอาจท�ำ ให้หน้ามดื เป็นลมไดง้ า่ ย

-3-

Q ขอ้ ห้ามในการรับวคั ซนี โควดิ มีอะไรบา้ ง

A ไมม่ ขี อ้ หา้ มในการใหว้ คั ซนี แตอ่ าจตอ้ งระมดั ระวงั ในกลมุ่ ทม่ี ปี ระวตั แิ พว้ คั ซนี ชนดิ อน่ื แบบรนุ แรงมากอ่ น ควรปรกึ ษา
แพทยเ์ ฉพาะทางภมู แิ พ้ เพอ่ื ทดสอบวา่ แพส้ ว่ นประกอบไหนในวคั ซนี แลว้ เลอื กชนดิ ของวคั ซนี ใหเ้ หมาะสมกบั คนไข้
กรณีผู้เป็นโรคหืดที่เพ่ิงมีอาการกำ�เริบรุนแรงจนได้ยาสเตียรอยด์ชนิดฉีดหรือรับประทาน ควรฉีดวัคซีนหลังจาก
หายหอบไปแล้วอย่างน้อย 2 สัปดาห์ คนไข้ท่ีได้ยากดภูมิคุ้มกันอยู่ก็สามารถรับวัคซีนได้ตามปกติเพราะวัคซีนที่
ให้ไมใ่ ช่วัคซนี ตวั เปน็ (live vaccine)

Q เมือ่ รับวัคซนี แล้วมอี าการแพ้หรืออาการข้างเคยี ง ตอ้ งดูแลตวั เองอย่างไรบ้าง

A การดแู ลรักษาขึ้นอยู่กับอาการของผู้ได้รบั วคั ซีน ดงั นี้
1) ภาวะแพว้ คั ซนี รนุ แรง จ�ำ เปน็ ตอ้ งรกั ษาในโรงพยาบาลดว้ ยการใหย้ าฉดี ทเ่ี ปน็ adrenaline หรอื epinephrine
2) ผลข้างเคียงของวัคซีน หายเองได้ภายใน 1-3 วัน หากมีอาการปวดมาก อาจประคบด้วยความเย็น
บริเวณทฉ่ี ีดวคั ซีน แลว้ ให้ยาแก้ปวดพาราเซตามอล
3) อาการเปน็ ลม จะหายได้เอง หากให้พักผอ่ นอยใู่ นท่ีอากาศถา่ ยเทได้ดี ไม่มคี วามจ�ำ เป็นตอ้ งไดย้ ารกั ษา

Q หากแพ้วคั ซนี โควิดเขม็ แรกแล้ว เราจะรบั เขม็ ที่สองได้หรือไม่

A กรณีฉีดวัคซนี เข็มแรกแล้วมีผลข้างเคยี งหรอื แพเ้ ล็กน้อยแบบไม่รุนแรง สามารถรับวัคซีนเข็มทีส่ องไดต้ ามกำ�หนด
ไมม่ ขี ้อหา้ มในการรับฉีดวัคซนี เข็มตอ่ ไป
กรณีท่ีฉีดวัคซีนเข็มแรกแล้วมีภาวะแพ้รุนแรง (anaphylaxis) แนะนำ�ให้ปรึกษาแพทย์ก่อนรับวัคซีนเข็มที่สอง
เพื่อหาสาเหตุว่าอาการแพ้ชนิดรุนแรงเป็นจากอะไร และปรับการรับวัคซีนเข็มท่ีสองเป็นอีกยี่ห้อท่ีมีส่วนผสม
ทตี่ า่ งจากวคั ซนี เขม็ แรกซงึ่ สาเหตขุ องการแพว้ คั ซนี ชนดิ รนุ แรงมกั เกดิ จากสว่ นประกอบทมี่ อี ยใู่ นวคั ซนี ทพ่ี บบอ่ ยคอื
Polyethylene glycol (PEG) ซ่ึงวคั ซนี และยาทีม่ สี ว่ นประกอบของ PEG ได้แก่ วัคซนี ชนิด mRNA vaccine
(Pfizer หรอื Moderna) หากมปี ระวตั แิ พร้ นุ แรงตอ่ กลมุ่ น้ี อาจใหว้ คั ซนี กลมุ่ อน่ื เชน่ Sinovac vaccine เพราะไมม่ ี
สว่ นผสมเหลา่ นอ้ี ยู่ นอกจากนสี้ ว่ นประกอบอน่ื ในวคั ซนี ทอี่ าจเปน็ สาเหตขุ องการแพ้ คอื polysorbate ซงึ่ มรี ปู รา่ ง
คลา้ ย PEG ท�ำ ใหอ้ าจพบการแพร้ ว่ มกนั ได้ ซึง่ วคั ซีนท่ีมีส่วนประกอบของ polysorbate ได้แก่ วัคซนี ตับอกั เสบ
วคั ซนี ไขห้ วัดใหญ่ วัคซีนปอดบวม วัคซีนโควดิ 19 ของ AstraZeneca Sputnik-V และ Johnson & Johnson

-4-

Q การทดสอบแพ้วคั ซีน ทำ�อยา่ งไร
A การทดสอบการแพว้ คั ซนี จะท�ำ กต็ อ่ เมอ่ื มปี ระวตั กิ ารแพช้ นดิ รนุ แรงตอ่ วคั ซนี มากอ่ นแลว้ ไมส่ ามารถหาวคั ซนี ชนดิ อนื่

ทดแทนได้ ซ่ึงควรปรึกษาแพทย์ผู้เช่ียวชาญโรคภูมิแพ้เพื่อทำ�การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังต่อสารพวก PEG
หรอื polysorbate กอ่ นใหว้ คั ซนี หากวา่ แพก้ เ็ ปลย่ี นชนดิ วคั ซนี เปน็ ชนดิ ท่ีไมม่ ี PEG หรอื polysorbate และการให้
วัคซีนในคนไขก้ ล่มุ นีต้ ้องอยภู่ ายใตก้ ารดูแลของแพทยอ์ ย่างใกล้ชิด กรณีไม่สามารถท�ำ การทดสอบได้ อาจเลือก
ชนดิ ของวคั ซนี โควดิ ทมี่ สี ว่ นผสมแตกตา่ งจากวคั ซนี ชนดิ ทเี่ คยแพก้ ็ได้ แลว้ สงั เกตอาการอยา่ งใกลช้ ดิ หลงั ฉดี วคั ซนี

โดยสรปุ “การแพว้ คั ซีนเกิดขน้ึ นอ้ ยมาก และหากเกิดอาการขน้ึ กส็ ามารถรักษาได้
คนท่ีเปน็ โรคหดื หรือภูมแิ พ้ก็ไม่ไดเ้ สี่ยงตอ่ การแพ้จากการรับวัคซีน”

เอกสารอ้างอิง:
1. Center of Disease Control and Prevention (CDC) 2021
2. American College of Asthma, Allergy and Immunology (ACAAI) 2021
3. J Allergy Clin Immunol Pract 2021;9:1423-37

-5-

นกั ศกึ ษาแพทยเ์ ขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอนในหลักสูตร
และนอกหลักสูตรส�ำ หรับปีการศึกษา 2564

ชว่ งทมี่ กี ารระบาดของโควดิ 19 คณะแพทยศาสตร์ ไดจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในหลกั สตู รและนอกหลกั สตู รส�ำ หรบั
ปกี ารศกึ ษา2564โดยใหน้ กั ศกึ ษารว่ มเปน็ อาสาสมคั รในโรงพยาบาลสนามธรรมศาสตร์และศนู ยร์ บั วคั ซนี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
และนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 ดูงานในโรงพยาบาลสนามธรรมศาสตร์เพ่ิมเติมจากการเรียนปกติในรายวิชาการดูแลสุขภาพ
แบบองคร์ วม 4 โดยสถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว

ทุนวจิ ัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สวรส.)

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทิพย์สุโข อาจารย์
ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ และศูนยแ์ หง่ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
ดา้ นระบาดวทิ ยาประยกุ ต์ ไดร้ บั สนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั จากสถาบนั วจิ ยั
ระบบสาธารณสุข (สวรส.) โครงการวิจัยเร่ือง ประสิทธิผลของ
วัคซีนโควิด 19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง
งบประมาณ 4,096,400 บาท

-6-

คณะแพทยศาสตร์ ขอขอบคุณผู้บริจาคเงินและ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ “สู้ภัย COVID-19” เพื่อป้องกันและ
ลดความเส่ยี งในการตดิ เชื้อไวรสั โควิด 19

รายนามผบู้ รจิ าคเงิน

หอพักซันต้า หอพักเฮ้าส์ หมู่บ้านสยามไฮวิลล์ และ
18-22 Residences จ�ำ นวน 1,000,000 บาท
คุณพรทวิ า นิพารนิ นาคาศยั จำ�นวน 300,000 บาท
ชมรม 6 มติ รไมตรี SME จ�ำ นวน 112,000 บาท
คุณประสพ สนองชาติ จำ�นวน 100,000 บาท
กลุ่มเพอ่ื น Brain จ�ำ นวน 100,000 บาท
กลมุ่ เครอื ขา่ ยผปู้ ระกอบการเอสเอม็ อีไทย จ�ำ นวน 81,000 บาท
คณุ ศริ ลิ กั ษณ์ อัศวรัตน์ จ�ำ นวน 30,000 บาท

ขอขอบคุณผูบ้ ริจาคเงนิ
และอปุ กรณ์ทางการแพทย์

“สภู้ ยั COVID-19”

COVID-19

Coronavirus
Vaccine

-7-

รายนามผู้บริจาคอุปกรณก์ ารแพทย์ รายนามผบู้ ริจาคอาหารและเครือ่ งดม่ื

คุณมาลี นิตยสทุ ธิ ธ.ก.ส. สาขาตลาดไท
บริษัท ซายนล์ ชู น่ั จำ�กดั ศรสี ะอาด ชน้ั สามารถ
คุณวัลยา ด�ำ เนินชาญวนชิ ย์ คุณลัขณานนั ท์ ลกั ษมธี นานันต์
คณุ กฤษฎา-คณุ สมใจ พิเชษฐอ์ าภา คณะนักศึกษาหลกั สูตร ปธพ.๙
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำ กัด (มหาชน) บรษิ ทั โอซูกา้ นวิ ทราซูตคิ อล (ประเทศไทย) จ�ำ กัด
คุณสุเทพ ทัศนานุตยิ กลุ ปธพ.๙. บริษทั ไทยโอซูก้า จ�ำ กดั
คุณเศรษฐกาล เศรษฐภากรณ์ ศภุ ชัยการบัญชี
บริษทั รเี อก๊ ซ์โปรดกั ส์ จำ�กัด คุณสุภาศริ ะ จันทแสนโรจน์
กลุ่มเครือข่ายผู้ประกอบการเอสเอม็ อีไทย กลุ่มป่ินโต
คณุ สุวดี แสงอรณุ วานิช คุณวุฒชาติ นนั ตนะ
บริษัท ยนู เิ วอรแ์ ซล เมทริกซ์ เทคโนโลยี จ�ำ กดั คุณสริ ังรอง โชวว์ วิ ัฒนา
คณุ ธงชัย พสิ ทิ ธิวิทยานนท์ และครอบครวั Food Fairy
วศิ วะเคมี 74 และเพอ่ื น เครือขา่ ยผู้ปกครอง โรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห์ สิงหเสน)ี ๒
คณุ ชยั เกษม นติ ิสริ ิ และครอบครัว ศนู ยค์ รอบครวั พอเพยี ง โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี ๒
คณุ อัมพวัน เจริญกุล คณุ ชัยยุทธ กิตธิ ีระกลุ
คณุ ณัฐิกร คุณพรเกษม ประกอบบุญ WORLD MARKET TRADING
คุณวิภาดา ชนิ ธรรมมิตร์ บรษิ ัท เซป็ เป้ จำ�กัด (มหาชน)
คณุ วิภาดา ชินธรรมมิตร์ และนักเรยี นเกา่ มาแตรร์ ่นุ MD56 สมาคมวิศวกรหญิงไทย
บริษทั เดอะคลู จ�ำ กัด
บริษทั ดารีแคร์ จำ�กดั

ขอขอบคุณผบู ริจาค

-8-

VACCINE
COVID-19
-9-


Click to View FlipBook Version