คำนำ
ใบความรู้เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา อัล-ฟิกฮฺ เพื่อให้ได้ความรู้ในเรื่อง ความหมายความสำคัญ
องค์ประกอบของการแบ่งมรดก เงื่อนไขของการสืบมรดก ผู้มีสิทธิรับมรดก ประเภทของทายาท หลักการใน
การรับมรดก ขนั้ ตอนและวิธีการแบ่งมรดกใหแ้ ก่ทายาท การกนั สิทธิ และไดศ้ ึกษาอย่างเขา้ ใจเพ่อื เป็นประโยชน์
กับการเรยี น
ผจู้ ดั ทำหวงั วา่ ใบความร้เู ล่มนี้จะเป็นประโยชน์กบั ผู้อ่าน หรือนักเรียน นกั ศกึ ษา ท่ีกำลงั หาข้อมูลเรื่อง
นอี้ ยู่ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัย มา ณ ที่น่ีด้วย
กล่มุ ผ้จู ดั ทำ
วนั ท่ี 10/08/2564
สารบญั หนา้
1
เร่อื ง 1
ความหมายความสำคญั 1
องค์ประกอบของการแบง่ มรดก 2
เง่อื นไขของการสบื มรดก 3
ผู้มสี ิทธิรับมรดก 13
ประเภทของทายาท 16
หลกั การในการรบั มรดก 19
ข้ันตอนและวิธกี ารแบง่ มรดกให้ แก่ทายาท 23
การกันสิทธิ
บรรณานกุ รม
1
การแบ่งมรดก
• ความหมายและความสำคญั
มรดก คอื ทรัพยส์ นิ หรือสทิ ธิท่ผี ู้ตายได้ทง้ิ ไว้ ซงึ่ ทายาทโดยชอบธรรมมีสิทธไิ ด้รบั ดว้ ยการสนิ้ ชวี ติ ของผตู้ าย
(อัลฟิกฮุล-อิสลามีย์ 8/243) การแบ่งมรดก เป็นระเบียบตามหลักการของศาสนาอิสลามที่ได้รับการยืนยันด้วย
ตัวบทอัลกุรฺอาน อัลหะดีษ และอิจญ์มาอฺ ซึ่งมีความสำคัญเช่นเดียวกับหลักการที่ว่าด้วยการละหมาด การจ่าย
ซะกาฮฺ การทำธุรกรรมต่างๆและบทลงโทษตามลักษณะอาญา โดยจำเป็นในการบังคับใช้และนำมาปฏิบัติ ไม่
อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงหรือฝ่าฝืน ไม่ว่ากาลเวลาจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปนานเพียงใดก็ตาม(อัลฟิกฮุ้ลมันฮะญีย์
5/71,72) และผู้ใดปฏิเสธบญั ญัติของศาสนาในเร่ืองการแบ่งมรดก ผ้นู ั้นเปน็ ผู้ปฏเิ สธ (กาฟิร) ออกนอกจากศาสนา
อสิ ลาม (อา้ งแล้ว 5/68)
ท่านนบีมฮุ ำหมดั ( )صلى الهل عليه وسلمได้กลา่ ววา่ : “จงแบ่งทรพั ย์สินในระหว่างผ้สู บื ทอดตามนัยแห่ง
คัมภีร์ของอลั ลอฮฺ” (รายงานโดยบรรดาเจา้ ของสุนัน)
• องคป์ ระกอบของการแบง่ มรดก
องค์ประกอบของการแบง่ มรดกมี 3 ประการ คือ
1.เจา้ ของมรดกหรือผ้ตู าย (อัล-มุวัชริซฺ)
2.ผสู้ บื (รับ) มรดก (อลั -วารซิ ฺ)
3.ทรัพย์สินหรือสิทธิของเจ้าของมรดกหรือผู้ตาย เรียกในภาษาอาหรับว่า อัลเมารูซฺ,อัล-มีรอซฺ และอัล-
อิรซฺ (ه اَل ِإ ْر ُثه، ه اَل ِم ْي َرا ُثه، )ال َم ْو ُر ْو ُثهเมื่อขาดองค์ประกอบข้อหนึ่งข้อใดจาก 3 ประการนี้ ก็ไม่มีการสืบมรดก
(อลั ฟิก ฮุลอิสลามีย์ 8/248,249)
• เงื่อนไขของการสืบมรดก
การแบ่งมรดกมเี งอื่ นไขอยู่ 4 ประการดว้ ยกนั
1.มันใจวา่ เจ้ามรดกเสยี ชีวิตหรือนับวา่ เป็นการเสยี ชีวติ โดยการชข้ี าดของตลุ าการ
2
2.มันใจวา่ ทายาทมีชวติ อยู่ภายหลังจากเจ้ามรดกเสียชวี ติ
3.มีความเกี่ยวพันกันทางเครือญาตหิ รือการแตง่ งานหรือจากทางการปลดปล่อยทาส
4.รสู้ ายสัมพนั ธท์ น่ี ำไปสู่การไดร้ ับมรดกอย่างละเอียดสำหรับกอฎี(ผู้พิพากษา) (Musthafa Khin,
Musthafa Bukha,Ali Charbaji, 1992:5/74)
ดังนั้นก่อนการแบ่งมรดกของผู้ตายให้แกท่ ายาทของเขาจะต้องตรวจดูเง่ือนไขในการสบื มรดกว่ามีครบทกุ
ข้อหรือไมเ่ ชน่ กระทำหลงั จากมนั ใจวา่ เจ้ามรดกเสยี ชวี ิตไปแลว้ ไม่วา่ จะเสียชวี ิต ตามธรรมชาตหิ รือเสียชวี ิตโดยการ
ชี้ขาดของตุลาการหรือศาล และทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย ทุกคนจะต้องมีชวิตอยู่หลังจากเจ้ามรดก
เสยี ชวี ิตและทายาทเหล่าน้ันจะต้องมคี วามเกยี่ วพันกบั ผตู้ าย ไม่วา่ จะในด้านการสมรส ด้านเครอื ญาติ หรอื ด้านการ
ปล่อยทาส
• ผ้มู ีสิทธิรับมรดก
ผูม้ ีสิทธิรบั มรดกของผตู้ ายมี 3 ประเภท คือ
1.ผรู้ ับพินยั กรรม
2.ทายาท
3.องค์กรของรฐั
(สำนักงานศาลยตุ ิธรรม,2554:98)
ผู้รับพินัยกรรม หมายถึง บุคคลหรือองค์กรที่ผู้ทำพินัยกรรมกำหนดให้เป็นผู้รับพินัยกรรม ซึ่งสามารถจำแนกได้
3 ประเภทต่อไปนี้
1.เปน็ บคุ คลคนเดยี วหรอื หลายคนที่แนน่ อน เช่น นาย ก หรอื บตุ รของนาย ก
2.เป็นบุคคลหลายคนท่ีไม่แน่นอน เช่น นักศกึ ษา คนยากจน
3.เป็นนิติบุคคล เช่น มัสยิด โรงเรียน โรงพยาบาล (อิสมาแออาลี, 2546:101) ทายาทหมายถึงบุคคลที่มี
สิทธิรับมรดกของผ้ตู ายไมร่ วมถึงผรู้ ับพินยั กรรมโดยผูท้ ี่แตเ่ ปน็ ทายาทของผู้ตายจะต้องมีคุณสมบตั ิดังต่อไปนี้
3
1.ต้องเป็นญาติหรือคู่สมรสที่ถูกต้องตามหลักกฎหมายอิสลามของผู้ตายผู้ที่เป็นญาติ หรือคู่สมรสในทาง
ความเปน็ จรงิ ของผู้ตาย แตไ่ ม่ถูกต้องตามหลักกฎหมายถือว่าเป็นทายาทของ ผตู้ าย เช่นสามีกับภรรยาเมื่อปรากฏ
ว่าการสมรสระหว่างทั้งสองนั้นไม่ถูกต้องตามหลักกฎหมาย ก็จะไม่ ถือว่าทั้งสองคนนั้นเป็นสามีภรรยากัน และ
เช่นเดียวกันจะไม่ถือว่าทั้งสองคนนั้นเป็นทายาทผู้มีสิทธิสืบ มรดกระหว่างกัน บิดากับบุตรก็เช่นเดียวกันเมื่อการ
สมรสระหว่างบิดามารดาของบุตรไม่ถูกต้องตามหลักกฎหมายก็จะไม่ถือว่าบิดากับบุตรเป็นทายาทซึ่งกันและกัน
และจะไม่มีการรับมรดกระหว่างกัน ส่วนมารดากับบุตรถึงแม้ว่าจะเป็นบุตรที่เกิดจากบิดามารดาที่ไม่มีการสมรส
หรอื จากการสมรสท่ีไม่ ถกู ต้องตามหลกั กฎหมายอสิ ลามก็ถือวา่ ระหว่างทง้ั สองนัน้ เป็นทายาทซึ่งกันละกนั และยังมี
การสืบ มรดกระหวา่ งกันดว้ ย
2.ต้องนับถือศาสนาอิสลามเหมือนกับผู้ตาย(เจ้ามรดก) ถ้าหากผู้ตายนับถือศาสนาอิสลาม ทายาทของ
ผตู้ ายกจ็ ะตอ้ งนบั ถอื ศาสนาอิสลามเช่นเดยี วกันจึงจะถือว่าเป็นทายาททม่ี ีสิทธิรับ มรดกของซ่งึ กันและกนั ได้
3.ไม่เป็นผู้ฆ่าเจา้ มรดกไม่ว่าจะดว้ ยเจตนาหรือประมาทอย่างร้ายแรงทายาทคนใดเป็น ผู้ฆ่าเจ้ามรดกหรือ
เปน็ เหตุใหเ้ จา้ มรดกถงึ แกค่ วามตาย ทายาทคนนน้ั จะโดนตัดสิทธไิ ม่ใหไ้ ดร้ บั มรดก
4.จะต้องมสี ภาพเป็นบุคคลขณะท่ีเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย ทายาททห่ี มดสภาพบุคคลม กอ่ นเจ้ามรดกถึง
แก่ความตายหรอื หมดพร้อมกนั กับเจ้ามรดก ทายาทผู้น้ันจะไมม่ สี ิทธิรับมรดกของ ผตู้ าย เว้นแตท่ ายาททเ่ี ป็นทารก
ในครรภ์มารดา ถึงแม้จะยังไม่มีสภาพเป็น โดยสมบูรณ์ กฎหมายอิสลามก็ยังให้สิทธิในการรับมรดกได้หากปรากฏ
ว่าทารกน้นั คลอดออกมามชี ีวิต
5.จะต้องไม่ถูกกันสิทธิในการรบั มรดกโดยผหู้ น่งึ ผใู้ ด
• ประเภทของทายาท
อารฟิ คอลลี อาบูอีด(1991:51-52) ได้แบ่งทายาทผทู้ ม่ี ีสิทธิไดร้ บั มรดกออกเปน็ 4 ประเภทคอื
1.อศั ฮาบุลฟรุ ูฎ()أصحاب الفروض
2.อลั อาศอบะฮฺ อนั นะสาบียะฮ(ฺ )العصبة النسبية
3.อลั อาศอบะฮฺ อสั สะบาบยี ะฮ(ฺ )العصبة النسببية
4.ซะวลุ อัรฮาม()ذوي الارحام
4
ซ่งึ มรี ายละเอียดดังต่อไปน้ี
1.อัศฮาบุลฟูรูฏ( )أصحاب الفروضคือทายาทที่ได้ถูกกำหนดสัดส่วนทิี่สิทธิอย่างชัดเจนในอัลกุรอาน
อัสสนุ นะฮหฺ รอื อิจญม์ าอฺ
อัลฟัรฏฺ ( )الفرضมีความหมายทางด้านภาษามากกว่าหนึ่งความหมายด้วยกัน เช่นส่วนที่กำหนดไว้ ดัง
อลั กรุ อานได้กลา่ วไวว้ ่า
َوإِنه َط َّل ْقتُ ُمو ُه َّنه ِمنهقَ ْب ِلهأَنهتَ َم ُّسو ُه َّنه َوقَ ْده َف َره ْضتُ ْمهلَ ُه َّنه َف ِرهي َضةًه َف ِن ْص ُفه َماه َف َهر
ความว่า“และถ้าหากพวกเจ้าหย่าพวกนางก่อนที่พวกเจ้าจะแตะต้องพวกนางโดยที่พวก เจ้าได้กำหนด
มะฮรั แกน่ างแลว้ ก็จงใหแ้ กน่ างครงึ่ หนงึ่ ของสิง่ ท่ีพวกเจ้ากำหนดไว”้ (อัลบากอเราะฮ:ฺ 237)
ส่วนความหมายในด้านวิชาการคือสัดส่วนที่ถูกกำหนดไวใ้ ห้แก่ทายาทจากกองของมรดก ผู้ตาย และกลุ่ม
ทายาทประเภทนมี้ 2ี ชนดิ ดว้ ยกันคือ
2..อัศฮาบุลฟูรูฏ อันนะสะบียะฮฺ( )العصبة النسبيةคือ กลุ่มทายาทที่มีสิทธิในการรับมรดกแบบ
อัตราส่วนที่ถูกกำหนดไว้อัลกุรอานสุนะฮฺของท่านเราะสูล และในอิจญ์มาอฺ เนื่องจากว่ามีความใกล้ชิดทาง
สายเลือดกับเจ้ามรดกหรือผู้ตาย เช่นบิดาของผู้ตายมารดาของผู้ตาย บุตรหญิงของผู้ตายและพี่หรือน้องหญิงร่วม
บิดามารดากบั ผตู้ ายเป็นตน้
3.อัศฮาบุลฟูรูฏ อัสสะบาบียะฮ์( )العصبة النسببيةคือ กลุ่มทายาทที่มีสิทธิในการรับมรดกแบบ
อัตราส่วนเนื่องจากสาเหตุที่มีการสมรสกันคือสามีและภรรยา ซึ่งถูกกำหนดไว้โดยอัลกุรอานสุนนะฮฺของท่าน
เราะสูล และอจิ ญ์มาอฺ
ทายาทกลุ่มผู้ทไ่ี ด้รับส่วนกำหนดมี 11 รายดงั ต่อไปน้ี (สำนักงานศาลยตุ ิธรรม,2554:99)
1) สามี มีสทิ ธิรบั มรดก 2 สภาพด้วยกันคอื
ไดร้ บั 1 ของกองมรดก หากเจ้ามรดกไม่มผี ูส้ บื สันดานสายชาย กล่าวคือ สามีจะไดร้ ับมรดก 1 ของกองมรดก หาก
22
ผู้ตายที่เป็นภรรยาไม่มีบุตรไม่ว่าจะเป็นบุตรชายหรือบุตรหญิงและไม่มีหลานชายหรือหลานหญิง(บุตรที่เกิดจาก
บุตรชายของผู้ตาย)โดยไม่คำนึงว่าจะเป็นบุตรที่เกิดจากสามีปัจจุบันหรอื สามี อื่นและแม้แต่จะเป็นบุตรนอกสมรส
(บตุ รซนี า)ก็ตาม(Musthafa Khin, Musthafa Bukha,Ali Charbaji, 1992:5/84)
ดงั ท่ีพระองค์อลั ลอฮฺได้ตรัสไวว้ ่า
َولَ ُك ْم ِن ْص ُف َما تَ َر َك أَ ْز َوا ُج ُك ْم ِإن َّل ْم َي ُكن لَّ ُه َّن َولَد
ความว่า“และสำหรับพวกเจ้านั้นจะได้รับครึ่งหนึ่งของมรดกที่บรรดาภรรยาของพวก เจ้าทิ้งไว้หากมิ
ปรากฏว่าพวกนางมบี ุตร”(อันนิสาอฺ:12)
7
4.3 ได้รับ 1 จากส่วนที่เหลือหลังจากที่หักส่วนของคู่สมรสออกแล้ว ในกรณีที่ผู้ตายมีทายาทเฉพาะบิดา
3
มารดา และคสู่ มรส(สามหี รือภรรยา)เท่านน้ั ปัญหานเี้ รยี กวา่ ปญั หา อัลฆุรวาน (ArifKhalil Abueid 1992:57-58)
ดังท่พี ระองคอ์ ลั ลอฮไฺ ด้ตรัสไว้ว่า
َو ِِلَ َب َو ْي ِه ِل ُك ِل َوا ِح ٍد ِم ْن ُه َما ال ُّسدُ ُس ِم َّما تَ َر َك إِن َكا َن لَهُ َو َلد َفإِن َّل ْم َي ُكن
لَّهُ َولَد َو َو ِرثَهُ أَ َب َواهُ َف ِِلُ ِم ِه الثُّلُ ُث َفإِن َكا َن لَهُ إِ ْخ َوة فَ ِِلُ ِم ِه ال ُّسدُ ُس
ความว่า“และสาหรับบิดาและมารดาของเขานั้น แต่ละคนในทั้งสองนั้นจะได้หนึ่ง ส่วนหกจากส่ิงที่เขาได้
ทง้ิ ไวห้ ากเขามบี ตุ ร แต่ถา้ เขาไมม่ ีบตุ รและมีบดิ ามารดาของ เขาเทา่ นั้นทร่ี ับมรดกของเขาแล้วมารดาของเขาก็ได้รับ
หนง่ึ สว่ นสาม ถา้ เขามพี น่ี ้อง หลายคน มารของเขากไ็ ด้รบั หนึ่งสว่ นหก” (อันนิสาอฺ:11)
5) ปู่มสี ภาพการรับมรดก 6 สภาพด้วยกันคือ
5.1 ถกู กนั สิทธิ ถ้าหากเจา้ มรดกมบี ิดา
5.2 ได้รับ 1 ของกองมรดกถ้าหากเจ้ามรดกมีบุตรชาย หรือผู้สืบสันดานสายชายที่เป็นเพศชาย(เช่น
6
หลานชาย เหลนชาย)
5.3 ได้รับ 1 ของกองมรดก และส่วนที่เหลือ ถ้าหากเจ้ามรดกมีบุตรสาว หรือผู้สืบสันดานสายชายที่เป็น
6
เพศหญิง
5.4 ได้รับสว่ นที่เหลือ ถ้าหากเจา้ มรดกไมม่ ีผสู้ บื สันดานสายชายเลย
5.5 ร่วมกันรับส่วนที่เหลือกับพี่น้องร่วมบิดามารดา หรือพี่น้องร่วมแต่บิดาในกรณีที่พี่น้องได้รับส่วนที่
เหลือ โดยแบ่งเท่าๆกัน แต่ปู่ จะต้องได้รับไม่น้อยกว่า 1 ของกองมรดก หรือให้ปู่ ได้รับ 1 ของส่วนที่เหลือ โดย
63
คำนงึ ถึงความได้เปรียบของปู่ เป็นหลกั
5.6 ร่วมกันรับมรดกทั้งหมดกับพี่น้องร่วมบิดามารดา หรือพี่น้องร่วมแต่บิดาถ้าหากเจ้ามรดกไม่มีทายาท
อื่น โดยให้แบ่งคนละเท่าๆกัน หรือจะให้ปู่ขงกองมได้รับ 1 ของกองมรดกนั้น โดยคำนึงถึงความได้เปรียบของปู่
3
เป็นหลกั (Musthafa Khin, Musthafa al-Bukha and Ali al-Sharbaji, 1992:115)
ดงั ทพี่ ระองคอ์ ัลลอฮไฺ ด้ตรสั ไว้ว่า
َو ِِلَ َب َو ْي ِه ِل ُك ِل َوا ِح ٍد ِم ْن ُه َما ال ُّسدُ ُس ِم َّما تَ َر َك إِن َكا َن لَهُ َولَد َفإِن َّل ْم َي ُكن
َلّهُ َولَد َو َو ِرثَهُ أَ َب َواهُ َف ِِلُ ِم ِه الثُّلُ ُث فَإِن َكا َن لَهُ إِ ْخ َوة فَ ِِلُ ِم ِه ال ُّسدُ ُس
8
ความว่า“และสาหรับบิดาและมารดาของเขานน้ั แตล่ ะคนในท้งั สองน้นั จะไดห้ นง่ึ ในหก จากสงิ่ ท่ีเขาได้ท้ิง
ไว้หากเขามีบุตร แต่ถ้าเขาไม่มีบุตรและมีบิดามารดาของ เขาเท่านั้นที่รับมรดกของเขาแล้ว มารดาของเขาก็ได้รับ
หน่ึงในสาม ถ้าเขามีพีน่ อ้ ง หลายคน มารดา ของเขา ก็ไดร้ ับหน่งึ ในหก” (อนั นสิ าอฺ:11)
พระองคอ์ ลั ลอฮฺ ได้ตรสั อกี วา่
َيا َب ِني آدَ َم َلا َي ْف ِت َن َّن ُك ُم ال َّش ْي َطا ُن َك َما أَ ْخ َر َج أَ َب َو ْي ُكم ِم َن ا ْل َج َّن ِة
ความว่า“โอ้ลูกหลานของอาดัมเอ๋ยจงอย่าให้ชัยฏอนหลอกลวงพวกเจ้า เช่นเดียวกับที่ มันได้ให้บิดาของ
พวกเจา้ ออกจากสวนสวรรคม์ าแลว้ ”(อัลอะรอฟ:27)
หลักฐานดังกล่าวข้างต้นมาสนับสนุนและอ้างอิงถึงการรบั มรดกของปู่ ก็เป็นอายะฮฺเดียวกันกับท่ีได้อ้างอิง
ถึงการรับมรดกของบิดา เนื่องจากในทางภาษาอาหรับและจารีตประเพณีจะเรียก ปู่ ว่าบิดาในกรณีที่บิดาได้
เสยี ชีวิตไปแล้ว
6) การรบั มรดกของยา่ และยาย มี 2 สภาพดว้ ยกันคอื
6.1 ถูกกนั สทิ ธโิ ดย
ก. มารดาของผตู้ าย
ข. บดิ าของผตู้ าย(ยกเว้นยายซึ่งจะไมถ่ ูกกนั สทิ ธิโดยบดิ า)
6.2 ไดร้ บั 1 ของกองมรดก ถา้ หากไม่มผี ูก้ นั สิทธิดงั กลา่ วดังหะดิษของท่านเราะสลู ที่วา่
6
)أن النبي الله عليه وسلم أعطي الجدة السدس (أخرجه أحمد
ความว่า“แท้จรงิ ทา่ นเราะสลู ไดม้ อบมรดกให้แก่ยา่ และยายเศษหนึ่งส่วน หก”(บนั ทึกโดยอะหมดั )
7) บุตรหญิงมสี ิทธริ ับมรดก 3 สภาพด้วยกนั คอื
7.1 ได้รับ 1 ของกองมรดกถ้าหากว่ามีเพียงคนเดียว กล่าวคือบุตรหญิงจะได้รับมรดก 1 มีเงื่อนไข
22
อยู่ 2 ประการคอื
ก.ผู้ตายมบี ตุ รหญิงเพียงคนเดียว
ข.ผูต้ ายไมม่ บี ตุ รชาย ซง่ึ เป็นผู้สบื สันดานท่ีอยูใ่ นลำดับเดยี วกัน
ดังทพ่ี ระองค์อัลลอฮตฺ รัสไวว้ า่
َوإِن َكا َن ْت َوا ِحدَةً فَ َل َها ال ِن ْص ُف
ความว่า“และถ้าเปน็ บตุ รหญิงคนเดียวนางจะได้รบั เศษหนึ่งสว่ นสอง” (อันนสิ าอ:ฺ 11)
9
7.2 ไดร้ บั 2 ของกองมรดก ถ้าหากว่ามบี ตุ รหญงิ หลายคน กลา่ วคอื บุตรหญงิ ของผู้ตายต้ังแตส่ องคนข้ึนไป
3
จะได้รับมรดกเศษสองส่วนสามโดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องไม่มีบุตรชายซึ่ง จะนำไปสู่การรับอะเศาะบะฮฺร่วมกันดังท่ี
พระองคอ์ ลั ลอฮฺ ได้ตรสั ไว้วา่
َفإِن ُك َّن ِن َسا ًء َف ْو َق ا ْث َنتَ ْي ِن فَ َل ُه َّن ثُلُثَا َما تَ َر َك
ความว่า“ถ้าหากบุตรเป็ นผู้หญิงเกินกว่าสองคนพวกนางก็จะได้รับเศษสองส่วนสาม จากสิ่งที่เขา (ผู้ตาย)
ทิง้ ไว”้ (อนั นสิ าอ:ฺ 11)
7.3 ร่วมกันรับส่วนที่เหลือกับบุตรชาย ถ้าหากเจ้ามรดกมีบุตรชายอยู่ด้วย โดยให้แบ่งให้บุตรชาย 2 ส่วน
บุตรหญิง 1 ส่วน
8) หลานหญิง(บุตรหญิงของบุตรชายของผูต้ าย)มี 5 สภาพดว้ ยกนั คอื
8.1 ถูกกันสิทธิถ้าเจ้ามรดกมีบุตรชาย หรือมีบุตรสาวตั้งแต่สองคนขึ้นไป และเจ้ามรดกไม่มีผู้สืบสันดาน
สายชายที่เป็นเพศชายที่อยู่ระดับเดียวกันกับทายาทผู้นั้นลงไป ซึ่งถ้ามี ทายาทผู้นี้จะรับส่วนที่เหลือร่วมกั บ
ผู้สืบสันดานนนั้ ในอัตรา 2:1
8.2 ได้รับ 1 ของกองมรดก ถา้ มคี นเดยี ว
2
8.3 ได้รบั 2 ของกองมรดก ถา้ มหี ลายคน
3
8.4 ได้รับ 1 ของกองมรดก ถ้าเจ้ามรดกมีบุตรหญิงหนึ่งคนและเจ้ามรดกไม่มีผู้สืบสันดานสายชายที่เป็น
6
เพศชายที่อยู่ในลำดับเดียวกันกับทายาทผู้นี้ซึ่งถ้ามีทายาทผู้นี้จะรับมรดก ส่วนที่เหลือกับผู้สืบสันดานนั้นใน
อัตราสว่ น 1:2 (หมายถึงหลานหญงิ ได้ 1 ส่วน ผู้สบื สันดานสายชายท่ี เปน็ เพศชายได้2 สว่ น)
8.5 ร่วมรับส่วนที่เหลือกับผู้สืบสันดานสายชายที่เป็นเพศชายที่อยู่ในลำดับเดียวกันถ้าหากเจ้ามรดกมี
ผู้สืบสันดานสายชายที่เป็นเพศชายที่อยู่ในระดับเดียวกันด้วยโดยให้แบ่งระหว่างกันในอัตราส่วน1:2 (หมายถึง
หลานหญิงได1้ ส่วน หลานชายทีเ่ กิดจากบตุ รชายได2้ สว่ น)
ดงั อลั กรุ อานทพ่ี ระองค์อลั ลอฮไฺ ด้ตรสั ไวว้ า่
يُو ِصي ُك ُم َّلَّلاُ ِفي أَ ْو َلا ِد ُك ْم ِللذَّ َك ِر ِم ْث ُل َح ِظ ا ِْلُنثَ َي ْي ِن فَإِن ُك َّن ِن َسا ًء َف ْو َق ا ْث َنتَ ْي ِن
َفلَ ُه َّن ثُلُثَا َما تَ َر َك َوإِن َكا َن ْت َوا ِحدَةً فَلَ َها ال ِن ْص ُف
ความวา่ “อลั ลอฮฺ ได้ทรงสั่งพวกเจา้ ไว้ในลูกๆของพวกเจ้าว่าสำหรับเพศชายนั้น จะได้รับเทา่ กับส่วนได้ของ
เพศหญิงสองคนแต่ถ้าลูกๆเป็นหญิงเกินกว่าสองคน พวกนางก็จะได้สองในสามของสิ่งที่เขาได้ทิ้งไว้และถ้าลูกเป็น
หญงิ คนเดียวนางก็จะ ได้คร่ึงหนึ่ง” (อันนสิ าอ:ฺ 11)
10
อัลกุรอานอายะฮฺดังกล่าวเป็นอายะฮฺที่อ้างอิงหลักฐานทีบ่ ่งบอกถึงสทิ ธิของบตุ รหญิง และยังหมายรวมถึง
หลานหญงิ ของผู้ตายด้วยในนัยเดียวกัน เนื่องจากตวั บทของอายะฮนฺ ี้ได้ใหค้ วามหมายถงึ หลานหญิงหรือเหลนหญิง
ดว้ ย (Wahbah al-Zuhaily :1989,318/8)
9) พ่หี ญงิ หรือน้องหญิงรว่ มบิดามารดามี 5 สภาพด้วยกันคอื
9.1 ถูกกนั สิทธิโดย
ก. บุตรชาย
ข. ผ้สู ืบสนั ดานสายชายท่เี ปน็ เพศชาย
ค. บดิ า
9.2 ไดร้ ับมรดก 1 ของกองมรดก ถา้ หากมคี นเดยี ว
2
9.3 ได้รบั 2 ของกองมรดก ถ้าหากมหี ลายคน
3
9.4 ร่วมกันรับส่วนที่เหลือกับพี่ชายหรือน้องชายร่วมบิดามารดาเดียวกัน ถ้า เจ้ามรดกมีพี่ชายหรือ
น้องชายรว่ มบิดามารดาเดยี วกนั โดยแบง่ กนั ใหฝ้ ่ายชาย2 สว่ นต่อฝ่ายหญงิ 1 สว่ น
9.5 ไดร้ บั สว่ นท่เี หลอื ถา้ เจา้ มรดกมบี ตุ รหญิงหรอื ผู้สบื สนั ดานสายชายท่เี ป็ นเพศหญิง
ดงั อลั กรุ อานทีพ่ ระองคอ์ ลั ลอฮไฺ ดต้ รสั
َي ْستَ ْفتُو َن َك قُ ِل َّلَّلاُ يُ ْف ِتي ُك ْم ِفي ا ْل َك ََل َل ِة ِإ ِن ا ْم ُرؤ َه َل َك لَ ْي َس لَهُ َولَد َو َلهُ أُ ْخت فَلَ َها ِن ْص ُف َما تَ َر َك
َو ُه َو َي ِرثُ َها إِن لَّ ْم َي ُكن َّل َها َولَد فَإِن َكا َنتَا ا ْث َنتَ ْي ِن َف َل ُه َما الثُّلُثَا ِن ِم َّما تَ َر َك
ความว่า“เขาเหล่านั้นจะขอให้เจ้าชี้ขาดปัญหาจงกล่าวเถิดว่าอัลลอฮฺจะทรงชี้ขาดให้แก่พวกเจ้าในเรื่อง
ผู้เสียชวี ติ ขอไม่มบี ิดาและบุตรคือถ้าชายคนหน่ึงตาย โดยท่ีเขาไม่มบี ุตรแต่มีพส่ี าวหรือน้องสาวคนหนึ่งแล้ว นางจะ
ได้รับครึง่ หนึ่งของ มรดกท่เี ขาได้ทงิ้ ไว้และขณะเดียวกันเขาก็จะได้รบั มรดกของนางหากนางไม่มีบุตร แต่ถ้าปรากฏ
ว่าพสี่ าวหรือน้องสาวของเขามีดว้ ยกันสองคน ท้งั สองน้นั จะได้รบั สองในสามจากมรดกทเ่ี ขาได้ทิ้งไว้ แต่ถ้าพวกเขา
มีพน่ี ้องหลายคนท้ังชายและหญงิ สำหรบั ชายจะไดร้ ับเท่ากับสว่ นได้ของหญิงสองคน” (อนั นิสาอฺ:176)
10) พหี่ ญิงหรอื นอ้ งหญงิ รว่ มแตบ่ ิดามี 6 สภาพด้วยกันคอื
10.1 ถกู กันสิทธโิ ดย
ก. บดิ า
ข. บตุ รชายหรือผ้สู บื สนั ดานสายชายที่เปน็ เพศชาย
11
ค. พนี่ ้องชายร่วมบดิ ามารดา
ง. พี่หญิงหรือน้องหญิงร่วมบิดามารดาตั้งแต่2 คนขึ้นไป และไม่มีพี่น้องชายร่วมแต่บิดาต่าง
มารดา ซ่ึงถ้ามีทายาทผู้น้จี ะร่วมกนั รับสว่ นท่ีเหลอื กับพชี่ ายหรอื น้องชายนนั้
จ. พห่ี ญิงหรือนอ้ งหญิงร่วมบิดามารดาที่อยู่ในสภาพท่ีรบั สว่ นท่เี หลอื
10.2 ไดร้ บั 1 ของกองมรดก ถ้าหากมคี นเดยี ว
2
10.3 ได้รบั 2 ของกองมรดก ถา้ หากมหี ลายคน
3
10.4 ได้รบั 1 ของกองมรดก ถา้ เจ้ามรดกมพี หี่ ญงิ หรือน้องหญิงร่วมบดิ ามารดา 1 คน
6
10.5 ร่วมรับส่วนที่เหลือกับพี่หรือน้องชายร่วมแต่บิดา ถ้าเจ้ามรดกมีพี่ชาย หรือน้องชายร่วมแต่บิดา
รวมอยู่ดว้ ย
10.6 รับส่วนทเี่ หลอื ถา้ เจา้ มรดกมบี ุตรหญิงหรอื ผ้สู บื สนั ดานสายชายที่เป็นเพศหญงิ
ดงั ท่พี ระองค์อัลลอฮไฺ ดต้ รัสไว้ในสูเราะอันนสิ าอฺะฮทฺ ่ีอายะฮฺ176 ท่ีได้กล่าวมาแลว้ ขา้ งต้นโดยอุลามาอฺได้มี
มติว่าเจตนารมณ์ของอัลกุรอานโองการนี้ได้หมายรวมถึงพี่หญงิ หรือน้องหญิง ร่วมบิดามารดาและพี่หญิงหรือน้อง
หญิงรว่ มแต่บดิ าด้วย(Musthafa al –khin, Musthafa al-bukha, Ali al-charbaji :1992: 88/5)
11) พห่ี รือนอ้ งร่วมแต่มารดามี 4 สภาพด้วยกนั คือ
11.1 ถูกกันสิทธิโดย
ก. ผู้สบื สนั ดานสายชาย
ข. บดิ าหรอื ปู่หรอื ผทู้ อี่ ยู่ในลำดบั ท่สี งู ขนึ้ ไปจนสุดสาย
11.2 ไดร้ บั 1 ของกองมรดก (ไม่วา่ จะเปน็ หญิงหรอื ชาย) ถ้าหากมีคนเดยี ว
6
11.3 ได้รบั 1 ของกองมรดก (ไมว่ ่าจะเป็นผหู้ ญงิ หรอื ผชู้ าย) ถา้ หากมีหลายคน
3
11.4 ได้รับ 1 ร่วมกับพี่น้องร่วมบิดามารดากรณีที่พี่น้องร่วมบิดามารดามีสิทธิได้รับส่วนที่เหลือ(กรณีนี้
3
เรยี กว่าปญั หามชุ รั รอกะฮฺหรือฮฺมารียะฮฺ)
12
ดังอัลกรุ อานที่พระองค์อลั ลอฮฺ ไดต้ รสั ไว้วา่
َو ِإن َكا َن َر ُجل يُو َر ُث َك ََل َلةً أَ ِو ا ْم َرأَة َولَهُ أَخ أَ ْو أُ ْخت َف ِل ُك ِل َوا ِح ٍد ِم ْن ُه َما ال ُّسدُ ُس
َفإِن َكانُوا أَ ْكثَ َر ِمن َٰذَ ِل َك َف ُه ْم ُش َر َكا ُء فِي الثُّلُ ِث ِمن َب ْع ِد َو ِص َّي ٍة ُيو َص َٰى ِب َها أَ ْو دَ ْي ٍن
َغ ْي َر ُم َضا ٍر َو ِص َّيةً ِم َن َّلَّل ِا َوَّلَّلاُ َع ِليم َح ِليم
ความว่า“และถ้ามีชายคนหนึ่งหรือหญิงคนหนึ่งถูกรับมรดกในฐานะเป็นผู้ที่ไม่มีบิดา และบุตรแต่เขามี
พี่ชายหรือน้องชายคนหนึง่ หรือมีพี่หญิงหรอื น้องหญิงคนหนึ่งแล้ว แต่ละคนจากสองคนนั้นจะได้รับหน่ึงในหก แต่
ถ้าพ่ีนอ้ งของเขามีมากกว่าัพวก เขาก็เป็นผูร้ ับร่วมกันหน่งึ ในสามท้ังนี้หลังจากพนิ ัยกรรมท่ีถูกสงั เสยี ไว้หรือหลังจาก
หนี้สินโดยมิใช่สิ่งที่นำมาซึ่งผลร้ายใดๆ เป็นคำสั่งที่มาจากอัลลอฮฺและอัลลอฮฺเป็นผู้ ทรงรอบรู้ผู้ทรงหนักแน่น”
(อันนสิ าอฺ:12)
2.อลัอะเศาะบะฮฺอนันะสะบียะฮฺ()العصبةالنسبيةคือกลุ่มทายาทฝ่ายผู้ชายที่มีสิทธิใน การรับมรดก
แบบสว่ นเหลือ เนื่องจากพวกเขามีความใกล้ชิดกับผู้ตายทางด้านบิดาของเขา โดยที่ไมม่ ผี ู้หญงิ เข้ามาแทรกระหว่าง
พวกเขากบั ผู้ตายเลย เช่นบุตรชาย หลานชาย (บตุ รชายของบุตรชายของ ผู้ตาย) บิดา อา และน้องหญงิ ของผู้ตาย
ในกรณีที่มีพร้อมกับบุตรหญิง ของผู้ตาย หรือหมายถึง ทายาท ที่มาจากเชื่อสายและเครือญาติฝ่ายบดิ าของผู้ตาย
พวกเขามีสทิ ธิได้รบั มรดกในส่วนที่เหลือ ทายาทผู้รบั สว่ นเหลอื หรือภาคอะเศาะบะฮนฺ ้ีมี 3 ประเภทดัง นี้
1.ผู้รบั ส่วนเหลือโดยตัวเขาเอง العصبةبالنفس
ผู้รับส่วนเหลือโดยตัวเขาเองคือเครอื ญาติฝ่ายผู้ชายทีม่ ีความใกล้ชิดกับผู้ตายโดยตรงโดยที่ไม่มีฝา่ ยผู้หญงิ
มากนั้ ระหว่างเขากบั ผู้ตาย ซ่งึ มีอยู่ 4 ประเภทด้วยกนั คือ
ก.ทายาทของผู้ตายจากด้านบุตรเช่นบุตรชายหลานชาย(บตุ รชายของบุตรชายของผู้ตาย)เหลนชายหรือผู้
สบสันดานสายชายท่เี ป็นเพศชาย
ข. ต้นตระกลู ของผู้ตายหรือทายาททางด้านฝ่ายบิดา เชน่ บดิ า ปู่ หรอื ผู้ทอ่ี ยสู่ ูงขน้ึ ไปจนสดุ สาย
ค. ทายาทของผู้ตายจากฝ่ายบดิ าของผู้ตาย เช่นพี่ชายหรือน้องชายร่วมบิดา มารดากับผู้ตาย หรือร่วมแต่
บดิ ากบั ผู้ตาย และบรรดาบตุ รของพวกเขาถึงแม้จะลงตำ่ ไปจนสดุ สาย
ง. ทายาทของปู่ ของผู้ตาย และบรรดาบุตรของพวกเขา เช่นลุง อา และบตุ รของลงุ อา
ซ่ึงทายาทท้ัง สปี่ ระเภทน้ีสามารถเรียงลำดบั ได้ดังนี้
1. บุตรชาย หรือหลานชาย หรอื เหลนชายหรือชายที่มีตำแหนง่ ที่ตำ่ ลงไปเรอื่ ยๆ
2. บิดา
3. ปู่
13
4. พ่ีชาย น้องชาย ร่วมบดิ ามารดา
5. พชี่ าย น้องชาย รว่ มแต่บิดา
6. บตุ รชายของขอ้ ท่ี 4
7. บตุ รชายของขอ้ ท่ี 5
8 บตุ รชายของขอ้ ท่ี 6
9. บุตรชายของขอ้ ที่ 7
10.ชายทีม่ ตี ำแหน่งต่ำลงไปจากลาดับที่ 6 และ7โดยสลับกนั
11. พชี่ ายหรอื น้องชายของบดิ า ร่วมบดิ ามารดา
12. พีช่ ายหรือน้องชาย ของบดิ าร่วมแตบ่ ิดา
13. บตุ รชายของขอ้ ท่ี 11
14. บุตรชายของขอ้ ท่ี 12
15.ชายทม่ี ตี ำแหน่งต่ำลงไปจากลาดับท่ี 11 และ12โดยสลับกนั
16. พ่ีชายหรือน้องชายของปรู่ ่วมบดิ ามารดา
17. พี่ชายหรอื น้องชายของป่รู ่วมแตบ่ ิดา
18.บุตรชายของลาดับที่ 16
19.บตุ รชายของลาดับที่ 17
20.ผู้ชายที่มีตำแหน่งทีต่ ่ำลงไปจากลาดบั ท่ี 16 และ17
• หลกั การ ในการรับมรดก
ประเภทน้ีจะต้องเรยี งตามลาดับ คือ ถ้าทายาท ลาดับที่หน่ึงมอี ยู่ทายาทลำดับที่หน่ึงเป็นผู้มีสิทธิรับมรดก
ทายาทลำดบั ทสี่ องไมม่ ีสิทธแิ ต่หากทายาทลำดบั ทหี่ น่ึงไม่มี สทิ ธิในการรบั มรดกก็ตกเป็นของทายาทลำดับท่ีสองไป
โดยที่ทายาทลำดับอื่นไม่มีสิทธิ หรือถ้าทายาทประเภทนี้มีคนเดียวก็จะรับมรดกท้ังหมด ถ้า มีผู้รับมรดกภาคฟัรฎู
รว่ มอยู่ดว้ ย ทายาทประเภทนี้ก็รับส่วนท่ีเหลอื แต่หากไมม่ สี ่วนทเี่ หลอื พวกเขากห็ มดสิทธไิ ม่ได้รบั มรดกเลย
2.ผู้รบั สว่ นเหลอื โดยอาศัยผู้อ่ืน( )العصبةبالغيرهผู้รับส่วนเหลอื โดยอาศัยผู้อื่น หมายถึงทายาทฝ่ายผู้หญิง
ที่มีส่วนกำหนดแน่นอนอยู่แล้วแต่หากพวกเขาอยู่พร้อมกับผู้รับส่วนเหลือ ด้วยตนเองที่เป็นผู้ชายที่อยู่ในระดับ
14
เดียวกับเขา ก็จะทำให้พวกเขากลับมารับมรดกในรูปแบบร่วมกันรับ ส่วนเหลือพร้อมกันกับผู้รับส่วนเหลือด้วย
ตนเองทีเ่ ป็นผู้ชายที่อยู่ในระดับเดียวกนั กบั เขาโดยแบ่งให้ฝ่าย ผู้ชาย2สว่ นตอ่ ฝ่ายผู้หญิง1สว่ นและทายาทกลุ่มนี้คือ
ผู้ทร่ี ับมรดกอตั รา12หากมคี นเดยี วและรบั อัตรา 23 หากมีหลายคน ซึ่งมีดงั นี้
ก. บุตรหญงิ
ข. หลานหญิง(บุตรหญิงของบตุ รชายของผู้ตาย)
ค. พหี่ ญงิ หรอื น้องหญงิ รว่ มบดิ ามารดา
ง. พี่หญิงหรือน้องหญงิ รว่ มแต่บิดา
3. ผู้รับส่วนเหลือพร้อมกับผู้อื่น()العصبةمعالغيرหมายถึงทายาทฝ่ายผู้หญิงที่มีส่วนกำหนดอยู่แล้ว
ในตอนแรก แต่เมื่อมีบุตรหญิง หรือหลานหญิง(บุตรหญิงของบุตรชายของผู้ตาย) หรือผู้สืบสันดานสายชายอื่นที่
เป็นหญิงอยู่ดว้ ย พวกนางกจ็ ะกลายมารับอะเศาะบะฮฺทันที ซ่ึงทายาท ประเภทน้ีมแี ค่ 2 คนคือ
1.พห่ี ญงิ หรือนอ้ งหญงิ รว่ มบดิ ามารดากับผู้ตาย
2. พห่ี ญิงหรอื น้องหญงิ รว่ มแตบ่ ิดา
ดังตัวอย่างที่ 1. ผู้ตายทิ้งบุตรหญิงหน่ึงคนและน้องหญิงร่วมบิดามารดาหนึ่งคน พร้อมกับเงินมรดก
1,000,000บาท ในกรณีนี้บุตรหญิงได้รับ 1 ของกองมรดกคิดเป็นเงิน500,000 ส่วนน้องสาวร่วมบิดามารดาได้รับ
2
สว่ นท่เี หลอื คือ500,000บาทตามตารางตอ่ ไปน้ี
ลำดับท่ี ทายาท อตั ราสว่ นท่ี สว่ นทไี่ ดร้ ับ/ จำนวนทไ่ี ดร้ บั
ไดร้ บั กองมรดก
1 บุตรหญิง 1 1 500,000 บาท
2
2 นอ้ งหญิงร่วม ส่วนเหลอื คอื 1 500,000 บาท
บดิ ามารดา 1
2
ตวั อยา่ งท่ี 2 ผหู้ ญงิ คนหน่ึงเสยี ชวี ิตทงิ้ มารดา หลานหญิง (บุตรหญิงของบตุ รชายของผู้ตาย) 1 คน และพ่ี
หญิงร่วมแต่บิดา 1 คน พร้อมเงินมรดก 600,000 บาท ในกรณีนี้มารดาได้รับมรดก 1 ของกองมรดก หลานหญิง
6
ได้รับ 1 ของกองมรดก และพี่หญิงร่วมแต่บิดา ได้กลายมารับมรดกแบบอะเศาะบะฮฺหรือส่วนเหลือ ซึ่งในปัญหา
2
นีอ้ ะเศาะบะฮหฺ รอื สว่ นเหลือคอื 1 ของกองมรดกตามตารางต่อไปนี้
3
15
ลำดับที่ ทายาท อตั ราสว่ นทไี่ ด้รับ ส่วนท่ไี ด้รบั /กอง จำนวนที่ไดร้ บั
มรดก
1 มารดา 1 1 100,000 บาท
6
2 หลานหญิง (บุตรี 1 3 300,000 บาท
2 2 200,000 บาท
ของบตุ รชาย)
3 นอ้ งหญิงรว่ มแต่ สว่ นเหลอื
บดิ ากบั ผ้ตู าย
3.อัลอะเศาะบะฮฺอัสสะบาบียะฮฺ()العصبةالسببيةคือบุคคลที่มีความเป็นญาติกับผู้ตาย โดยไม่ได้เป็น
ญาตทิ างสายเลอื ดกบั ผู้ตายโดยตรงเพียงแตเ่ พราะสาเหตุแหง่ การไถ่ทาสให้เปน็ ไทเท่านั้น
4.ซะวุลอรัฮาม()ذويالأرحامคือญาติของผู้ตายที่ไม่อยู่ในกลุ่มที่รับส่วนกำหนด เช่นบรรดาบุตรท้ังชาย
และหญิงของบุตร( ) العصبةและไม่อยู่ในกลุ่มที่รับส่วนเหลือ ( )أصحابالفروضหญิงของผู้ตายบรรดาบุตรทั้ง
ชายและหญิงของบุตรหญิงของบุตรชายของผู้ตายนอ้ งชายของแม่ของ ผู้ตายน้องหญงิ ของแม่ของผู้ตาย บุตรหญิง
ของพีห่ ญิงหรือน้องหญงิ ของผู้ตาย ซ่ึงพวกเขาจะมสี ิทธิ ได้รบั มรดกของผู้ตายก็ต่อเมื่อไม่มที ายาทของผู้ตายกลุ่มที่
รับสว่ นกำหนด()أصحابالفروضและกลมุ่ ท่ีรับ สว่ นเหลือ ( )العصبةอยู่เลย (Arif Khalil Abu Eid,1992:51,52)
ซึง่ สามารถแยกทายาทภาคซะวุลอรั ฮาม มีดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ตา
2. มารดาของตา หรอื หญงิ ของผู้สืบสายโลหติ ของมาดาของตาโดยตรงขึ้นไป
3. พ่นี ้องของมารดา
4. หลานท่เี กิดจากบุตรหญิง
5. เหลนทเ่ี กดิ จากหลานหญิงท่เี กิดจากบตุ รชาย
6. หลานหญิงท่เี กิดจากพ่ชี ายหรือนอ้ งชายรว่ มบดิ ามารดา และหลานท่เี กิดจากพ่ี หญงิ หรือน้องหญิงร่วม
บิดามารดา
7. หลานหญิงท่เี กดิ จากพ่ชี ายหรือน้องชายร่วมแตบ่ ิดา
8. หลานทเ่ี กิดจากพี่หญิงหรอื น้องหญิงร่วมแตบ่ ิดา
9. หลานทีเ่ กดิ จากพี่น้องรว่ มแตม่ ารดา
16
10. พช่ี ายหรือน้องชายของบดิ าที่รว่ มแต่มารดา
11.พี่หญิงหรือน้องหญิงของบิดาร่วมบิดามารดาหรือร่วมแต่บิดาหรือร่วมแต่การแบ่งมรดกแก่ทายาท
ประเภทนี้ให้แบ่งตามเกณฑ์และส่วนของบุคคลซ่ึงทายาทน้ัน สืบสิทธิมาเป็นประมาณ กล่าวคือ ทายาทใดสืบสิทธิ
จากบุคคลที่มีสิทธิในภาคฟัรฏู หรือ ภาคอะเศาะบะฮฺก็แบ่งส่วนให้ทายาทน้ัน ตามเกณฑ์ของบุคคลผู้มีสิทธิน้ัน
(มนุ ีร มหู ะหมดั , 2534:36-37)
ท่านอีหม่ามชาฟีอีย์ถือว่าทายาทในประเภทนี้ไม่มสี ิทธิในกองมรดกของผู้ตาย ส่วน ท่านอีหม่ามหะนะฟีย์
ถอื วา่ ทายาทประเภทนม้ี ีสิทธใิ นกองมรดกของผู้ตายหากเหลือจากการแบ่งให้
ทายาทประเภทฟัรฏแล้ว (Musthafa Khin, Musthafa Bukha, Ali al Sharbaji, 1992: 190-191)
• ข้ันตอนและวิธกี ารแบง่ มรดกให้ แก่ทายาท
สำหรับขน้ั ตอนการแบง่ มรดกให้แกท่ ายาทนน้ั เบอื้ งตน้ ให้พจิ ารณาดวู า่ ผู้ตายมที ายาท ก่คี น เป็นใครบา้ ง แตล่ ะ
คนมีความสัมพนั ธก์ ับผ้ตู ายในระดบั ใด และกลมุ่ ทายาทเหล่านน้ั มกี ารกันสิทธิ กันบ้างหรือไม่อย่างไร
ถ้าหากผู้ตายมที ายาททีจ่ ะรับมรดกเพยี งคนเดยี วไม่ว่าเขาจะถูกจดั อยู่ในกลุ่มผู้ได้รบั สว่ นกำหนด หรือผ้รู ับส่วน
เหลือ หรือซะวุลอัรฮาม(ญาติห่างๆ)ก็ให้ทายาทผู้นั้นรับมรดกของผู้ตายไป ทั้งหมดได้เลย แต่ถ้าหากว่าผู้ตายมี
ทายาททจ่ี ะรบั มรดกจำนวนหลายคน กจ็ ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งแบ่งมรดก ของผู้ตายให้กบั บรรดาทายาทเหลา่ น้นั โดยอาศัย
ระเบียบขน้ั ตอนต่อไปน้ี
1.พิจารณาจำนวนทายาทของผู้ตาย และแยกแยะไปตามกลุ่มของเขาไม่ว่าจะเป็น ผู้รับส่วนกำหนด
(อัศฮาบลุ ฟรู ูฏ) ผู้รบั ส่วนเหลือ(อะเศาะบะฮ)ฺ หรอื ซะวุลอรั ฮาม
2.แยกผทู้ ไ่ี ม่มสี ิทธิรบั มรดกออกจากผูท้ ม่ี ีสิทธิ
3.กำหนดสัดสว่ นให้แกผ่ ู้ที่มสี ิทธิจากผู้ที่อยู่ในกลมุ่ ผูร้ ับส่วนกำหนด( อัศฮาบุลฟูรฏู ) ว่าใครถูกกำหนดไว้ว่า
ไดร้ ับเทา่ ไหรเ่ ชน่ 1 ,1 , 2, 1 , 1 และ 1
23 34 6 8
4.นำส่วนกำหนดที่ทายาทแต่ละคนได้รับมาบวกกันเพื่อจะหาส่วนร่วม หรือหา ค.ร.น หรือหาส่วนเต็ม
หรืออาจจะเรียกวา่ การหาฐานโจทย์ดังละเอียดท่ีจะได้กล่าวต่อไป
5.หาส่วนที่ทายาทแต่ละคนจะได้รับ โดยการนำเอาส่วน(จากอัตราส่วน)เช่น นำ 4 จาก 1 และนำ 6
4
จาก 1 มาหารกบั สว่ นเตม็ หรือ ค.ร.น หรอื ฐานโจทยซ์ ึ่งในกรณีน้ี(1 กับ 1 ) คือ12 ไดผ้ ลลัพธ์เท่าไหร่ก็นำมาคูณกับ
6 46
เศษของอัตรากำหนดเดิมคือ1ทั้งสองกรณีผลลัพธ์ออกมาก็จะเป็น ส่วนที่ต้องการเช่น4หารกับ12 ได้เท่ากับ 3
17
แล้วนำไปคูณกับ1ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ3หรือนำ 6 ไป หารกับ12 ก็จะได้2 แล้วนำไปคูณกับ1ก็จะได้ผลลัพธ์
เทา่ กบั 2เพราะฉะนน้ั ส่วนที่ทายาทจะได้รบั ใน กรณนี ้คี ือ 3 และ 2
6.นำส่วนเต็มหรือฐานโจทย์ หรือ ค.ร.น .ไปหารกับจำนวนกองมรดก เช่นกอง มรดกเป็นเงินจำนวน
1,200,000 บาท (ก็น 12 ไปหารกบั 1,200,000 กจ็ ะได้100,000)
7.หาจำนวนที่ทายาทแต่ละรายจะได้รับโดยการนำผลลัพธ์จากข้อท่ี 5 (คือ3 หรือ2)มาคูณกับผลลัพธ์ของ
ข้อที6่ คือ100,000 ก็จะไดท้ ราบวา่ ทายาทแตล่ ะรายจะไดร้ บั มรดกของผูต้ าย คนละเท่าไหร่ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี
ตัวอย่างที่ 1 ผู้หญิงคนหนึ่งเสียชีวิตโดยที่ทิ้งสามี มารดา และพี่ชายร่วมแต่มารดา พร้อมกับกองมรดก
เป็นเงนิ 600,000 บาท
ลำดบั ที่ ทายาท อตั ราส่วน ฐานโจทย์หรอื สว่ นทีท่ ายาท จำนวนท่ที ายาท
กำหนด ส่วนเตม็ ได้รบั ไดร้ บั
1 สามี 1 3 300,000 บาท
2
2 มารดา 1 2 200,000 บาท
3
3 พช่ี ายร่วมแต่ 1 6 1 100,000 บาท
มารดา 6
จากตวั อย่างขา้ งต้นสามีของผู้ตายรบั 1 ของกองมรดกเพราะว่าผู้ตายไมม่ ีบุตร คิดเป็นเงิน 300,000 บาท
2
มารดาของผตู้ าย ได้รบั 1 ของกองมรดก เพราะว่าผตู้ ายไม่มบี ตุ รเช่นกนั คิดเป็นเงิน 200,000 บาท สว่ นพชี่ าย
3
ร่วมมารดาได้รับ 1 ของกองมรดก เพราะผู้ตายไม่มีบุตรและเชามีคนเดียวในระดับชั้นพี่น้อง คิดเป็นเงิน 100,000
6
บาท
18
ตัวอย่างท่ี 2 ชายผู้หน่งึ เสยี ชีวติ ทิง้ มารดา บตุ รหญิง 1 คน หลานหญงิ (บตุ รหญงิ ของบตุ รชาย) 1 คน บิดา
และนอ้ งหญิงรว่ มบดิ ามารดา 1 คนพรอ้ มกบั กองมรดกอ180,000 บาท
ลำดับที่ ทายาท อัตราสว่ น ฐานโจทย์หรือ สว่ นท่ีทายาท จำนวนทีท่ ายาท
1 มารดา กำหนด ส่วนเตม็ ได้รับ ไดร้ บั
2 บุตรหญงิ 1 30,000 บาท
3 หลานหญงิ 1 6
4 บิดา 6 3 90,000 บาท
5 1 1 30,000 บำท
2
1 30,000 บำท
1
6
1
6
และสว่ นเหลือ
นอ้ งหญิงร่วม ถูกกันสิทธิโดย --
บดิ ามารดา บิดา
จากตัวอย่างข้างต้นมารดาผู้ตายได้รับ 1 ของกองมรดก เพราะผู้ตายมีบุตร คิดเป็นเงินจำนวน
6
30,000 บาท บุตรหญิงของผู้ตายได้รับ 1 ของกองมรดก เพราะมีคนเดียว คิดเป็นเงินจำนวน 90,000 บาท หลาน
2
หญิงได้รับ 1 ของกองมรดก เพราะผู้ตายมีบุตรหญิง เพียงคนเดียวและผู้ตายไม่มีหลายชายที่อยู่ในลำดับเดียวกัน
6
กับหลานหญิง คิดเป็นเงิน 30,000 บาท บิดาของผู้ตายได้รับและส่วนเหลือ (แต่กรณีปัญหานี้ไม่ปรากฏว่ามีส่วน
เหลืออยู่จึงรับเฉพาะ 1 อย่างเดียว)เพราะผู้ตายมีบุตรหญิงและผู้สืบสันดานสายชายที่เป็นเพศหญิง คิดเป็นเงิน
6
30,000 บาท ส่วนนอ้ งหญงิ ร่วมบิดามารดาถูกกันสิทธโิ ดยบดิ าของผูต้ ายจึงไม่ได้รับสว่ นแบ่งจากกองมรดก
19
• การกนั สทิ ธิ
การกนั สิทธิ หมายถึง การกันสิทธิทายาทของผู้ตายบางคนไม่ให้รับมรดกของผู้ตายเลย หรือให้ได้รับมรดก
น้อยลง เนื่องจากมีบุคคลอหรื่นอยู่อการกีดกันผู้มสี ทิ ธิทีจ่ ะได้รับมรดกไม่ให้ได้รับ มรดกเลย หรือกีดกันไม่ให้ไดร้ บั
สว่ นแบง่ ท่มี ากทส่ี ุดจากกองมรดก(Yasin Ahmad Ibrahim,1998:220)
การกนั สิทธมิ อี ยู่ 2 ลักษณะดงั นี้
1.การกันสิทธิด้วยลักษณะบุคคลหมายถึง การกีดกันบุคคลที่มีสาเหตุจะได้รับมรดก ไม่ให้เขาได้รับมรดก
เลย เพราะเขามีลกั ษณะเป็นบุคคลต้องหา้ มในการรบั มรดก ซงึ่ ลักษณะตา่ งๆทท่ี ำใหบ้ ุคคลกลายเป็นบุคคลต้องห้าม
ในการรับมรดกได้แก่การเป็นทาส การเป็นฆาตกร เป็นบุคคลที่นับถือศาสนาต่างกันกับผู้ตาย ซึ่งผู้ที่ถูกกันสิทธิ
ลกั ษณะนี้เรยี กว่ามะฮฺรมู
2.การกันสิทธิด้วยตัวบุคคล หมายถึง การกันสิทธิบุคคลไม่ให้ได้รับมรดกเลย เรียกว่า ()حجب حرمان
เช่นบุตรชายของผู้ตายจะกันสิทธิหลานชายไม่ให้ได้รับมรดกเลย(ยังมีชีวิตอยู่)และบิดาจะกันสิทธิปู่ ไม่ให้ได้รับ
มรดกเลยหากท้งั สองมีชวติ อยู่พรอ้ มกนั หรือกดี กนั ทายาท ใหม้ ีสิทธิไดร้ ับมรดกน้อยลง หรอื เปลย่ี นสิทธิของทายาท
จากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า ( )حجب نقصانเช่นบุตรของผู้ตายที่เป็นภรรยาจะกันสิทธขิ อง
สามจี าก 1 เปน็ 1 เพราะหากผูต้ ายไม่มีบุตร สามจี ะไดร้ บั มรดกหรอื บุตรของผู้ตายทีเ่ ป็นสามจี ะกันสิทธิภรรยาจาก
24
เป็น เพราะหากผู้ตายไม่มีบุตร ภรรยาของผู้ตายจะได้รับมรดก 1 ซึ่งเป็นส่วนรับที่มากกว่า เป็นต้น
4
(MusthafaKhin, Musthafa Bukha, Ali al Sharbaji, 1992: 5/105-106)
อาริฟ คอลีล อาบอู ดี (1992:88-89) กลา่ วว่า“การกนั สทิ ธใิ นการรบั มรดกนน้ั มี 2 ประเภทดังน้ีคือ
1.การกันสิทธิในรูปแบบท่ีทำให้ผู้ที่มีสทิ ธไิ ด้รับมรดกในสัดสว่ นที่น้อยลง หรือ เรียกว่า ()حجب نقصان
ซึ่งหมายถึง การที่ทายาทบางรายได้ถูกเปลี่ยนแปลงสิทธิจากเดิมที่มีสิทธิได้รับ มรดกมากไปเป็นสิทธิที่จะได้รับ
มรดกน้อยลงไป เนื่องจากสาเหตุที่มีทายาทของผู้ตายบางคนปรากฏมีชีวิตอยู่ เช่น สามีเปลี่ยนจาก 1 เป็น 1
24
ไปเป็นเนื่องจากปรากฏว่าผู้ตายมีบุตรหรือหลาน(บตุ รของบุตรชายผู้ตาย), ภรรยาเปลีย่ นจาก 1ไปเป็น1 เนื่องจาก
48
ปรากฏว่าสามีที่เป็นผู้ตายมีบุตรหรือมีหลาน(บุตรของบุตรชายผู้ตาย),และหลานหญิง(บุตรหญิงของบุตรชายของ
ผู้ตาย)เปลี่ยนจาก 1ไปเป็น1 เมื่อปรากฏว่าผู้ตายมีบุตรหญิงและสำหรับประเภทนี้จะปรากฏเฉพาะในกรณีของ
26
ทายาทประเภท อัศฮาบุลฟูรูฏ หรือผู้รับมรดกแบบเศษส่วนที่มี2สภาพจากส่วนรับที่มากไปยังส่วนรับที่น้อยกว่า
เทา่ น้นั
20
ซึ่งมอี ย5ู่ คนด้วยกนั คือ
1) สามี
2) ภรรยา
3) หลานหญิง(บุตรหญงิ ของบุตรชายของผตู้ าย)
4) พ่ีหญงิ หรอื นอ้ งหญงิ ร่วมแตบ่ ิดากับผู้ตายและ
5) มารดา
2.การกันสิทธิที่ทำให้ทายาทบางคนหมดสิทธิในการรับมรดกไปเลยเมื่อใดที่มีผู้กันสิทธิอยู่ซึ่งเรียกว่า
( )حجب حرمانเช่นการตัดสิทธิปู่ ของผู้ตายไม่ให้ได้รับมรดกเนื่องจากบิดาของผู้ตายยังมีชีวิตอยู่ และตัดสิทธิ
พีช่ ายหรือน้องชายร่วมแตบ่ ดิ าไม่ใหร้ ับมรดกเน่ืองจากผู้ตายมีพี่ชาย หรือ นอ้ งชายร่วมบดิ ามารดาเดยี วกันกับผู้ตาย
ยังมีชีวิตอยู่ตัดสิทธิหลานหญิง(บุตรหญิงของบุตรชายของผู้ต าย)ไม่ให้รับมรดกเนื่องจากผู้ตายมีบุตรชายอยู่”
(Arif Khalil Abu Eid, 1992: 88-89)
ตารางแสดงรายละเอียดของผู้กนั สทิ ธิและผู้เสียสิทธิ
ลำดบั ที่ ผเู้ สียสิทธิ ผู้กันสทิ ธิ
1 ไมม่ ีผูก้ นั สิทธิ
2 บตุ รชาย
บตุ รหญิง ไมม่ ีผ้กู นั สิทธิ
3
บิดา ไม่มีผ้กู นั สิทธิ
4 มารดา ไมม่ ผี ้กู นั สิทธิ
5 สามี ไมม่ ีผ้กู นั สทิ ธิ
6 ภรรยา ไมม่ ีผ้กู นั สทิ ธิ
7 หลายชาย บตุ รชำยของผ้ตู ำย
8 หลานหญิง บตุ รชำยของผ้ตู ำย,บตุ รหญิงของผ้ตู ำยทงั้ แต่สองคนขนึ ้ ไป
ถ้ำไมม่ หี ลำนชำยร่วมกบั หลำนหญิงในกำรรับมรดก
9 ปู่ บดิ ำของผ้ตู ำย
10 ยำ่ บดิ ำของผ้ตู ำยมำรดำของผ้ตู ำย
11 ยาย บิดำของผ้ตู ำยมำรดำของผ้ตู ำย
12 พช่ี ายหรอื น้องชายร่วมบิดามารดา บิดำ บตุ รชำย หลำนชำย
13 พ่ีชายหรอื นอ้ งชายรว่ มบิดา บิดำ บุตรชำย พ่ีชำยหรือน้องชำยร่วมบิดำมำรดำ พี่หญิงหรือ
น้องหญิงร่วมบิดำมำรดำในเมื่อนำงรับมรดกส่วนเหลือร่วมกับ
ผ้อู ่ืน