The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattanichamaytang, 2022-01-07 03:29:33

4281819C-0922-473D-B1A2-384AE96B4F28

4281819C-0922-473D-B1A2-384AE96B4F28

สวัสดี ฉันชื่อเหม่ยลี่

3

ส่วนฉัน ชื่อหวังอี้ป๋อ

0



เหม่ยลี่ : พรุ่งนี้ คุณครูมีสุ่มตอบคำถามเรื่องกลไก
ราคาด้วยแหละป๋อ แต่ฉันเรียนไม่รู้เรื่องเลย

ป๋อ : ฉันเองก็ไม่รู้เหมือนกันวันนี้ ไป
บ้านฉั นไปหาข้อมูลกันเถอะ

ในใจเหม่ยลี่ \\\❤️‍ ❤️‍ ❤️‍ ❤️‍

เหม่ยลี่ :พรุ่งนี้ นะ ฉันจะเอา
คะแนนมาให้เยอะๆเลย ❗️

ป๋อ : ไปกันเถอะมันจะเย็นเกินไป

><

0 ⁉️

ณ หมู่บ้านของป๋อ❣️

ป๋อ :โหมีข้อมูลเยอะแยะเลย

เหม่ยลี่ : เริ่มจาก “ความหมายของ
ตลาด”ก่อนละกันนะ

D

D

ความหมายของตลาด

ตลาด หมายถึง ปริมาณความต้องการ
ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ที่มีต่อสินค้า
หรือบริการ อย่างใด อย่างหนึ่ ง มีความ
เต็มใจซื้อ และมีความสามารถในการซื้อ

ขายสิ นค้าหรือบริการตามที่ต้องการ
ประเภทของตลาด

เหม่ยลี่ :อ๋อมันเป็นแบบนี้ นี่ เอง❕❕✨

ป๋อ : .ต่อไปจะเป็นตลาด"แข่งขันสมบูรณ์"และ
ตลาด" แข่งขันไม่สมบูรณ์"

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คืออะไร

ตลาดสินค้าหรือบริการประเภทหนึ่ งที่มีลักษณะดังนี้ คือ
1) มีหน่ วยผลิตหรือผู้ขายรายเล็กๆ จำนวนมากจนกระทั่งไม่มีรายใดมี
อิทธิพลต่อการกำหนดปริมาณและราคาในตลาด ผู้ขายแต่ละราย จึงเป็น
ผู้รับราคา (price taker) คือ ต้องขายสินค้าตามราคาตลาดเท่านั้ น
2) สินค้าหรือบริการของผู้ผลิตแต่ละรายมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ
จึงสามารถทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ นั่ นคือ ถ้าผู้ขายรายใดขายสินค้าใน
ราคาที่สูงกว่าราคาตลาด ผู้บริโภคจะไม่ซื้อสินค้าจากผู้ขายรายนั้ นเลย
3) การเข้าและออกจากตลาดของผู้ผลิตแต่ละรายเป็นไปอย่างเสรี ไม่มี
อุปสรรคหรือการกีดกัน
4) การเคลื่อนย้ายทรัพยากรการผลิตและสินค้าเป็นไปอย่างเสรี สะดวก
รวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างน้ อย โดยนั ยของลักษณะในข้อนี้ ราคา
สินค้าในแต่ละท้องที่จะมีแนวโน้ มเท่ากัน
5) ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรอบรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารอย่างสมบูรณ์ ไม่ว่า
ด้านราคา ปริมาณ คุณภาพ แหล่งซื้อขาย ฯ ล ฯ ในโลกของความเป็นจริง
ไม่มีสินค้าหรือบริการชนิ ดใดที่มีโครงสร้างตลาดที่มีคุณสมบัติครบถ้วน
ทั้ง 5 ประการนี้ อย่างไรก็ตาม หากตลาดนั้ นมีคุณสมบัติอย่างน้ อย 3
ประการแรก ก็พอจะอนุโลมได้ว่า ตลาดดังกล่าวใกล้เคียงกัลป์ตลาด
แข่งขันสมบูรณ์มากที่สุด เช่น โครงสร้างของตลาดข้าวเปลือกใน
ประเทศไทย เป็นต้น ตามแบบจำลองของตลาดแข่งขันสมบูรณ์นั้ น ใน
ระยะยาวผู้ผลิตแต่ละรายจะมีกำไรปกติเท่านั้ น เพราะถ้ารายใดมีกำไรเกิน
ปกติ จะชักนำให้มีผู้ผลิตรายใหม่ เข้ามาในตลาดมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้
อุปทานสินค้าในตลาดมีมากขึ้น ส่งผลให้ราคาหรือรายรับเฉลี่ยลดลง และ
กำไรจะค่อยๆ หดหายไปในที่สุด

WWW.ดิ๊งด่อง .com

ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ คืออะไร

ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ เป็นลักษณะของตลาดสิ นค้าอุตสาหกรรม

เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ประกอบด้วยตลาด 3 ลักษณะ
คือ ตลาดผูกขาด ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด และตลาดผู้ขายน้ อยราย เส้น
อุปสงค์หรือเส้ นราคาและเส้ นรายรับส่ วนเพิ่มในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ซึ่ง
ประกอบด้วยตลาดทั้งสามลักษณะนั้ นมีลักษณะเหมือนกันการอธิบาย
ดุลยภาพในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ จะใช้เส้ นอุปสงค์และเส้ นรายรับเพิ่มใน
ลักษณะเดียวกันซึ่งในบทนี้ จะศึกษาลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ และศึ กษาตลาดผูกขาดก่อน

ลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

1. ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะของตลาด
จะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายมีจำนวนไม่มากอาจเนื่ องจาก
เป็นกิจการที่ผูกขาดโดยรัฐ หรือการให้สัมปทานแก่เอกชนโดยรัฐ จำนวนผู้
ผลิตไม่มากอาจด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ซับซ้อน การลงทุนที่สูงเกินไป
เป็นต้น

2. ลักษณะสินค้าไม่เหมือนกันทุกประการ สินค้ามีลักษณะคล้ายกันแต่
ไม่เหมือนกันอาจจะแตกต่างกันที่คุณภาพ การบริการ การโฆษณา บรรจุ
หีบห่อ หรือต่างกันที่ รุ่น

3. การเข้าหรือออกจากการผลิตทำได้ยาก การเข้าไปผลิตแข่งขัน
หรือออกจากการผลิตทำได้ยากเนื่ องจาก ต้องมีลิขสิทธิ์ มีเทคโนโลยี และ
มีการลงทุนที่สูงในการผลิต ดังนั้ นการเข้าไปผลิตแข่งขันทำได้ยากและ
การจะออกจากการแข่งขันหรือเลิกกิจการก็ทำได้ยากเช่นกันเนื่ องจากการ
ลงทุนที่สูงและสั ญญาการลงทุนบางประการ

4. ความรู้ในเรื่องการตลาดไม่สมบูรณ์ ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความ
รู้เรื่องการตลาดหรือข้อมูลการตลาดอย่างสมบูรณ์ ทำให้ราคาแตกต่างกัน

การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

WWW.ดิ๊งด่อง .com

เหม่ยลี่ : อันนี้ ฉันรู้ฉันจะอถิบายให้ฟัง

ป๋อ : ต่อไปจะเป็นอุปสงค์และอุปทาน

DO ⁉️

อุปสงค์และอุปทานคืออะไร❓

อุปสงค์ หมายถึง ความสามารถในการซื้อสินค้าและบริการ ใน
ปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง ในราคาต่าง ๆ ซึ่ง
ความต้องการที่สามารถซื้อสินค้าและบริการได้จริงนั้ น ต้องมาจาก

ความต้องการ และมีเงินพอที่จะจ่ายได้ด้วยนั่ นเอง
กฎของอุปสงค์ สินค้าราคาถูกลง —> ซื้อเพิ่มขึ้น

สินค้าราคาแพงขึ้น —> ซื้อน้ อยลง



อุปทาน คือ ปริมาณความต้องการในการเสนอขายสินค้า หรือ
บริการชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ ง โดยที่ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตมีความ
เต็มใจที่จะเสนอขาย และมีความสามารถในการจัดหาสินค้า-บริการ
มาขายได้ในช่วงเวลาหนึ่ ง บนระดับราคาต่าง ๆ ที่ตลาดกำหนด

กฎของอุปทาน สินค้าราคาแพงขึ้น —> ผลิตเพิ่ม
สินค้าราคาถูกลง —> ลดการผลิต.

^^



การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจนั้ นฉันไป
ถามแม่มา ฉันจะอถิบายให้ฟังเองนะ!

❤️‍

หวังอีป๋อคนนี้ จะอธิบายเอง

มันคืออะไรกันน้ า ⬆️ ⬇️
D
o
การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ



ราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น - อุปทานสูงขึ้น อุปสงค์ต่ำลง
ราคาและสินค้าบริการต่ำลง - อุปทานต่ำลง อุปสงค์ต่ำขึ้น



ราคาดุลย์ภาพ คือ ราคาที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ = ราคาที่ผู้ผลิตต้องการขาย.

^ ^

ข้อมูลอยากสุดท้าย

ปัจจัยในการกำหนดราคา
สภาวะทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจดี

-ประชาชนมีรายได้ดีปริมาณเงินในตลาดก็มากและคนมีกำลังซื้อมากขึ้น
เท่ากับว่า ผู้ขาย=ตั้งราคาสินค้าสูง
เศรษฐกิจตกต่ำ

-ประชาชลรายได้ลดลงปริมาณในตลาดน้ อย คนก็จะมีกำลังซื้อน้ อยเช่นกัน
ผู้ชาย = ตั้งราคาสินค้าต่ำ



การแข่งขันของตลาด
ตลาดที่มีสิ นค้าประเภทเดียวกัน
‼️
-สิ นค้าลักษณะเหมือนกัน
-มีผู้ชายหลายคน

ผู้ขาย = กำหนดราคาสินค้าเท่าๆกัน



ตลาดที่มรผู้ขายเพียงไม่กี่เจ้า
_สินค้าที่มีการลงทุนสูงเช่น ธุรกิจน้ำมัน
-มีผู้ขายเพียงคนเดียว/กำหนดราคาได้ตามความต้องการ

ผู้ขาย = กำหนดราคาสินค้าสูง



^^
o

b
อ๋ออออแบบนี้ นี่ เอง

หวังอี้ป๋อ : ขอบคุณนะเหม่ยลี่ที่วันนี้ เธอมาช่วย
ฉันหาข้อมูลในวันนี้ น่ ารักมากเลยล่ะ ฉันให้นะ

เหม่ยลี่ : อื้อ!! ขอบคุณนะ อยากให้ช่วย
อีกเมื่อไหร่บอกได้เลยนะ☺️

D( ><
(
~
เขินนน

นางสาวพิชชาพร พุทธตรัส เลขที่31 ม.3/13


Click to View FlipBook Version