กระาหรคว้า่าแงปลระะกเาทรศเงนิการค้าระหว่างประเทศ
การซื้อขายสินคาและบริการโดยผานเขตแดนของชาติ
๑ ประเทศที่ทําการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ
ระหวางกัน เรียกวา ประเทศคูคา
สาเหตุความแตกต่าง
ด้านทรัพยากร
การผลิต
ด้านรสนิยม ด้านต้นทุน
ในการบริโภค การผลิตสินค้า
ด้านเทคโนโลยี
ในการผลิต
๘๖
เศรษฐศาสตร์ ๘7
ไม่มีเงื่อนไข
นโยบายการค้าเสรี
ไม่มีการจัดเก็บภาษีศุลกากร ไม่มีการให้สิทธิพิเศษ
ยึดหลักแบ่งงานกันทำา หรือจงใจเลือกปฏิบัติต่อสินค้า
ตามความชำานาญของตน
ประเทศใดประเทศหนึ่ง
ไม่มีข้อจำากัดทางการค้า
ไม่มีการกำาหนดโควต้า
มีเงื่อนไข
นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
มีข้อกำาหนดและมาตรฐาน มีการจำากัดปริมาณการนำาเข้า
ของสินค้านำาเข้า กำาหนดโควต้า
มีการจัดเก็บภาษีศุลกากร
มีการทุ่มตลาด มีการให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ผลิต
ภายในประเทศ เช่น
การจ่ายเงินอุดหนุนการส่งออก
ระบบอตั ราแลกเปล่ยี น
ราคาตอหนวยของเงินตราสกุลหนึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับเงินตราสกุลอ่ืนตามอัตราท่ีกําหนดโดยท่ัวไป
แบงเปน ๒ ระบบใหญ คือ ระบบอัตราแลกเปล่ียนคงท่ี ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว
การเงินระหว่างประเทศ ระบบอตั ราแลกเปล่ยี นคงท่ี
ระบบการเงนิ ทีเ่ กดิ จากการซ้อื ขาย รั ฐ บ า ล ห รื อ ธ น า ค า ร ก ล า ง กํ า ห น ด อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ไ ว ค ง ท่ี
สินคา การกยู ืม การลงทนุ หรือการ ไมเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามกลไกตลาด อาจผูกคาของสกุลเงินตรา
ชว ยเหลือระหวา งประเทศทีต่ องมี ของประเทศไวกับเงินตราสกุลอื่นหรือโลหะมีคา หรือผูกคากับ
การชําระเงนิ ตราตา งประเทศ สกุล สกุลเงินตราท่ีม่ันคงหลายสกุลท่ีเรียกวา ระบบตะกราเงิน (basket
ท่ีประเทศคูคาตอ งการ of currency)
ระบบอัตราแลกเปล่ียนลอยตัว
ข้ึนอยูกับ อุปสงคและอุปทานของเงินตราตางประเทศ
แบงเปน ๒ ระบบ คือ
๑. ลอยตัวเสรีขึ้นลงตามกลไกตลาด
๒. ลอยตัวท่ีมีการจัดการ
ดุลการชาำ ระเงิน
ดุลบญั ชเี ดินสะพัด ดลุ บญั ชที นุ และการเงนิ
ข้าว ข้าว ดลุ บรกิ าร ดลุ รายได้ ๑๐๐ รายการแสดงการเคล่ือนยา้ ย
ของเงินทุนเขา้ และออกประเทศ
ดุลการคา้ ผู้ปตเบพ่ารรื่องะิจแชสาดบ่วคนยภัย
แดลุละเงบนิ รโิจอานค
ดุลการคา้
รายการแสดงความแตกตางระหวางมูลคาการนําเขาสินคากับมูลคาการสงออกสินคาของประเทศ
ในชวงระยะเวลาหนึ่ง อาจเปนดุลการคาเกินดุล ขาดดุล หรือสมดุล
มูลค่าสินค้าส่งออก - มูลค่าสินค้านำาเข้า
ทนุ สาำ รองเงนิ ตราระหวา่ งประเทศ ดลุ การชาำ ระเงิน
เปน สนิ ทรพั ยส ภาพคลอ งทางการเงนิ ระหวา งประเทศทเ่ี กบ็ สะสมไวใ นธนาคารกลาง เกนิ ดลุ ทนุ สำารองฯ
เพอ่ื ชาํ ระหนร้ี ะหวา งประเทศ ซงึ่ ประกอบดว ยทองคาํ เงนิ ตราตา งประเทศสกลุ หลกั
และสิทธิพเิ ศษถอนเงนิ (Special Drawing Rights : SDRs) ดุลการชำาระเงนิ
สทิ ธพิ เิ ศษถอนเงนิ (Special Drawing Rights : SDRs) ขาดดุล ทุนสำารองฯ
เปนทุนสํารองเงินตราระหวางประเทศรูปแบบหนึ่ง ออกโดยกองทุนการเงิน
ระหวางประเทศ (IMF) ท่ีจัดสรรใหกับประเทศสมาชิกและถูกใชเปน
หนวยการเงินทางบัญชี ซึ่งมีมูลคาเทียบกับกลุมเงินตราสกุลหลัก
เชน ดอลลารสหรฐั ยโู ร เยนญป่ี นุ และปอนดสเตอรล ิง
๘๘
เศรษฐศาสตร์ ๘๙
การลงทนุ ระหว่างประเทศ
การที่ผู้ประกอบการนำาเงินทุน สินทรัพย์ และเทคโนโลยีไปลงทุน
ในอีกประเทศหนึ่ง ประกอบด้วยการลงทุนโดยทางตรง และการลงทุนโดยทางอ้อม
หนุ้
การลงทนุ โดยทางตรง การลงทุนโดยทางอ้อม
เอกชนท่เี ปน เจา้ ของทนุ และผปู้ ระกอบการ ผู้เปนเจา้ ของทนุ ไมไ่ ด้ดาำ เนินการเองโดยตรง
เปน บุคคลกลุ่มเดยี วกนั และดาำ เนินกจิ การเอง แตซ่ ้อื หลักทรัพย์ทั้งของภาครฐั และ
ผลตอบแทนของการลงทนุ โดยทางตรง คือ กาำ ไร เอกชนตา่ งประเทศ ผลตอบแทนของการลงทุน
โดยทางอ้อม คือ ดอกเบ้ยี และเงนิ ปนผล
การบรู ณาการทางเศรษฐกิจ
การที่รฐั บาลของประเทศตา่ งๆ ตงั้ แต่ ๒ ประเทศขน้ึ ไป
ตกลงนำาเศรษฐกิจของตนมาเช่อื มโยง เพื่อเสรมิ สร้างและรกั ษาประโยชน์ทางเศรษฐกจิ
(Customs Union) (Economic Union)
เขตการค้า ศสุลหกภาากพร ตลาดร่วม เศสรหษภฐากพจิ ทาสงกหาภราเพมอื ง
เสรี
(Common Market) (Political Union)
(FreAegrTereamdeenAtrse)a /
ระหวอา่ งงคปก์ รระเทศ
องค์การทางการเงนิ ระหวา่ งประเทศ
องค์การสำาคัญซึ่งมีส่วนในการพัฒนา หรือแก้ไขปญหา
ทางเศรษฐกิจของไทยและประเทศสมาชิกในกลุ่ม
กองทนุ การเงนิ ระหวางประเทศ
(International Monetary Fund : IMF)
ธนาคารระหวางประเทศเพอื่ การบรู ณะและการพฒั นา
(International Bank for Reconstruction and Development : IBRD)
หรอื ธนาคารโลก (World Bank)
๙๐
เศรษฐศาสตร์ ๙๑
• อ(งWคoก์ rาlรdกาTรraคdา้ โeลกOrganization : WTO)
• ส(TหhภeาพEuยุโrรoปpean Union : EU)
• (ขNอ้ oตrกtลhงAกาmรeคrา้ iเcสaรnีอเFมrรeกิ eาเTหrนadือe Agreement : NAFTA)
องคก์ ารครวะาหมวรา่ว่ งมปมรือะทเทาศงเศรษฐกิจ
องค์การสำาคัญ ซึ่งมีส่วนในการพัฒนา
หรือแก้ไขปญหาทางเศรษฐกจิ ของไทย
และประเทศในกล่มุ สามาชกิ
• ป(AรSะEชAาคNมcอoาmเซmียนunity)
• ความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ
ในเอเซีย - แปซฟิ ก (เอเปก)
• องค์การประเทศผู้ส่งออกน้ำามันดิบ
(Organization of the Petroleum Exporting Countries)
หรือโอเปก (OPEC)
ประเทศไทยคอื ๔อะ.ไ๐ร :
ประเทศไทย ๔.๐ เปนวิสัยทัศนเชิงนโยบายที่เปล่ียนแปลงเศรษฐกิจแบบเดิม
ไปสูเศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนดวยนวัตกรรม เพื่อใหไทยเปนกลุมประเทศที่มีรายไดสูง
ในชวงปแรก ประเทศไทย ๓.๐ เศรษฐกิจเติบโตอยางตอเน่ือง แตปจจุบันเติบโตเพียง
๓ - ๔ % ตอปเทาน้ัน ซึ่งตกอยูในชวงรายไดปานกลางมากวา ๒๐ ป
พัฒนาเศรษฐกิจ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย
ติดกับดักรายได้ปานกลาง
๙
จาก ๗ - ๘ % ต่อป
ประเทศไทย ๑.๐ ๖
สังคมเกษตรกรรม ๓
ม๓า-ก๔กว%่า ๒ต๐่อปป
ประเทศไทย ๒.๐ ๐ ๒๕๐๐ ๒๕๑๒ ๒๕๒๐ ๒๕๒๘ ๒๕๓๖ ๒๕๔๖ ๒๕๕๖
สังคมอุตสาหกรรมเบา
ยกขีดความสามารถ ๔ กลุ่มเปาหมาย
ประเทศไทย ๓.๐
สังคมอุตสาหกรรมหนัก
เกษตรแบบดั้งเดิม SMEs แบบเดิม บริการมูลค่าต่ำา แรงงานทักษะต่ำา
ประเทศไทย ๔.๐ เกษตรสมัยใหม่ Smart SMEs บริการมูลค่าสูง แรงงานมีความรู้
สังคมขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม ธุรกิจ Start - up มีทักษะสูง
๙๒
เศรษฐศาสตร์ ๙3
ปจจุบันประเทศไทยยังติดอยูในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทำามาก ได้น้อย”
จึงตองปรับเปลี่ยนเปน “ทำาน้อย ได้มาก” จึงตองเปลี่ยนจากการผลิตสินคา “โภคภัณฑ์”
ไปสูสินคาเชิง “นวัตกรรม” และเปล่ียนจากการขับเคล่ือนประเทศดวยภาคอุตสาหกรรม
ไปสูการขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค และนวัตกรรม
การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตสู่การสร้างนวัตกรรม
เดิม ทำามาก ได้น้อย
ทำาน้อย
โผภลคิตภสินัณคฑ้า ์ ททุเรอียดน ททุเรอียดน
ใหม่ ได้มาก
นผวลัติตสกินรคร้าม ความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน
รวมพลังประชารัฐ ด้วยนวัตกรรม
ภาครัฐ กลุ่มสาธารณสขุ สุขภาพ
และเทคโนโลยที างการแพทย์
สนับสนุน
กล่มุ หุ่นยนตอ์ ัจฉรยิ ะ
มหาวิทยาลัย - แคลวบะรคะุมบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
- กลุ่มดิจติ อล และ
ภาคเอกชน สถาบันวิจัย
เทคโนโลยี
ภาคการเงิน เครือข่ายต่างประเทศ และอนิ เทอรเ์ นต็
เชือ่ มตอ่
กลุ่มอตุ สาหกรรม
สรา้ งสรรค์ วฒั นธรรม
๔.๐และบริการท่ีมีคณุ ภาพสงู
กลมุ่ อาหาร เกษตร
และเทคโนโลยชี ีวภาพ
ท่ีมา : คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติ (๒๕๖๐),
(ราง) ยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙)