The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต กรมควบคุมโรค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต กรมควบคุมโรค

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต กรมควบคุมโรค

1

คำนำ

ตามที่สำนักงาน ป.ป.ท. ได้ขับเคลื่อนให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือแนวทางในการ
บริหารจัดการความเสี่ยงของการดำเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต โดยมีศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต
(ศปท.) เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนหน่วยงานภายในสังกัด/กำกับ ทั้งหน่วยงานระดับกรม/เทียบเท่า
รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจังหวัด เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพให้การ
ประเมินความเสี่ยงการทุจริต เป็นเคร่ืองมือลดคดีการทุจริตในภาครัฐ ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
สำนักงาน ป.ป.ท. จะทำการประเมินเชิงคณุ ภาพในการบริหารความเสีย่ งการทจุ ริตหนว่ ยงานภาครัฐ เพื่อให้มี
การนำไปสกู่ ารปฏิบตั ใิ ห้เหน็ ผลเป็นรปู ธรรม เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ให้กับหนว่ ยงานภาครัฐ

กรมควบคุมโรค จึงได้จัดทำคู่มือ การประเมินความเสี่ยงการทุจริต กรมควบคุมโรค ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เพ่ือขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริต ลดความเส่ียงการทุจริตให้ได้
มากที่สุด และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับนี้จะมีส่วนสำคัญในการเพิ่มประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง
การทุจริตของกรมควบคมุ โรคไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

กล่มุ งานจรยิ ธรรม กรมควบคมุ โรค
เมษายน ๒๕๖๕

สารบัญ

บทนำ...................................................................................................................................................... ๑

๑. ความเป็นมา................................................................................................................................... ๑

การขับเคลือ่ นการประเมินความเสยี่ งการทจุ รติ ....................................................................................... ๓

๒. การขบั เคลื่อนการประเมินความเสี่ยงการทุจรติ .............................................................................. ๓
๒.๑ ทฤษฎีเกี่ยวกับสาเหตกุ ารทจุ ริต................................................................................................ ๓
๒.๒ วัตถุประสงค์ ............................................................................................................................ ๔
๒.๓ ประเภทความเสยี่ งการทุจรติ และศัพท์เฉพาะ คำนิยาม........................................................... ๔
๒.๔ ปจั จัยความสำเร็จในการบริหารความเสย่ี งการทจุ ริต ............................................................... ๕
๒.๕ กรอบหรือภาระงานในการประเมินความเส่ยี งการทุจริต ........................................................... ๖
๒.๖ องค์ประกอบของกระบวนการบริหารความเสยี่ งองคก์ ร............................................................ ๖

วิธีการประเมนิ ความเส่ียงการทุจรติ ......................................................................................................... ๘

๓. วิธกี ารประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ ................................................................................................ ๘

หลักธรรมในพระพุทธศาสนา แกป้ ัญหา"ทจุ ริตคอรัปชนั " ๑๙

ตวั อยา่ งรูปแบบพฤติการณ์การทุจริต ๒๕

เอกสารอา้ งอิง .......................................................................................................................................๒๙

คณะผจู้ ัดทำ ๓๐



บทนำ

๑. ความเป็นมา

แผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. ๒๕๖๑ –
๒๕๖๕) ประเดน็ ปฏิรปู ท่ี ๒ ด้านการป้องปราม ไดก้ ำหนดให้ศูนย์ปฏิบตั ิการต่อต้านการทุจริต (ศปท.) ดำเนินการ
วางระบบการประเมนิ ความเส่ียงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบในสว่ นราชการเปน็ ประจำทุกปี และรายงานผลการ
ปฏบิ ตั ติ อ่ ผ้บู ังคับบญั ชา หรือตามระยะเวลาทกี่ ำหนด

ดังนั้น เพื่อให้เป็นการขับเคล่ือนการประเมินความเสี่ยงการทุจริตอย่างเป็นระบบ สามารถนำไปสู่
ผลสัมฤทธิ์ และเป็นเคร่ืองมือหนึ่งในการยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index:
CPI) สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.) ในฐานะเลขานุการ
ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) จงึ ไดพ้ ฒั นาแนวทางการดำเนินการเพ่ือวางระบบการประเมิน
ความเส่ยี งต่อการทุจริตประพฤตมิ ิชอบในส่วนราชการ ขับเคลือ่ นผา่ น ศปท. โดยสำนักงาน ป.ป.ท. ได้เร่ิมและ
ขับเคลอ่ื นการประเมินความเส่ียงการทุจริต ตง้ั แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ มา โดยมกี รอบแนวความคิด
ที่ใช้ควบคู่กับการบริหารจัดการองค์กรที่เชื่อว่าสามารถนำไปสู่การลดการทุจริตประพฤติมิชอบ นำพาหน่วยงาน
ไปส่กู ารเป็นหน่วยงานใสสะอาด เป็นท่ยี อมรบั คอื แนวคดิ ตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี (Good Governance) ซง่ึ
เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะหลักการควบคุม
การทุจริตคอร์รัปชัน หมายถึง การไม่กระทำและไม่สนับสนุนการทุจริต พร้อมทั้งร่วมมือกันควบคุมไม่ให้เกิด
การทจุ ริตในองค์กร ทงั้ น้ี การนำเคร่ืองมอื ประเมินความเส่ียงการทุจริตมาใช้ในองคก์ ร จะชว่ ยเปน็ หลักประกัน
องค์กรในระดับหนึ่งว่าการดำเนินการขององค์กรจะไม่มีการทุจริต หรือในกรณีที่พบการทุจริตที่ไม่คาดคิด
โอกาสท่ีจะประสบปัญหากจ็ ะน้อยกว่าองค์กรอน่ื หรอื หากเกดิ ความเสยี หายข้ึน ก็จะเปน็ ความเสียหายท่ีน้อยกว่า
องค์กรท่ีไมม่ ีการนำเครือ่ งมือประเมินความเสี่ยงการทจุ รติ มาใช้ เพราะได้มกี ารเตรียมการปอ้ งกันล่วงหน้าไว้

กรอบแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทท่ี ๒๑ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ทีม่ ุ่งเน้นให้ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย
อยู่ในอันดบั ๑ ใน ๒๐ หรือมคี ะแนนประมาณ ๗๓ คะแนน ภายในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๗๖ – ๒๕๘๐ แผนย่อยที่ ๑
การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ปรับระบบเพื่อลดจำนวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงาน
ภาครฐั โดยการพฒั นาเคร่อื งมือ เพ่ือสรา้ งความโปร่งใส มงุ่ เน้นการสรา้ งนวัตกรรมและมาตรการในการต่อต้าน
การทุจริตที่มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต รวมถึงการประเมินความเส่ียงด้านการทุจริต
เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือแนวทางในการบริหารจัดการความเสี่ยงของการดำเนินงาน
ท่อี าจก่อใหเ้ กิดการทุจริต



หากการประเมินความเส่ียงการทุจริตของทุกหน่วยงานภาครัฐมีประสิทธิภาพที่ดีจะส่งผลให้ปัญหา
การทุจริตลดลง ลดความสูญเสียทางงบประมาณท่ีเกิดขึ้นกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ประเทศสามารถ
มงี บประมาณไปพฒั นาสร้างคุณภาพชีวิตทีด่ ีให้กบั ประชาชน ลดตน้ ทนุ ในการดำเนนิ คดี สรา้ งความเช่ือมั่นให้กับ
นักลงทุนชาวต่างชาติ เสริมสร้างภาพลักษณ์ของประเทศ และยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption
Perceptions Index: CPI) เนื่องจากคะแนน CPI นั้น เป็นการสะท้อนภาพลักษณ์การทุจริตของประเทศต่าง ๆ
ทัว่ โลก เป็นหน่ึงในเครื่องมือท่ีกลุ่มนักลงทุนใช้ประเมินความน่าสนใจในการลงทุนของแตล่ ะประเทศ โดยมองว่า
การทจุ ริตเป็นหน่ึงในปัจจยั ทเี่ ป็นต้นทุนหรือเปน็ ความเส่ียงในการเข้ามาประกอบธุรกิจ หากประเทศใดมีคะแนน
ดัชนี CPI ที่สูง ย่อมสะท้อนถึงภาพลักษณ์ของประเทศท่ีดีและสร้างความเช่ือมั่น ดึงดูดให้นักลงทุนจาก
ตา่ งประเทศเขา้ มาลงทนุ เพ่ิมขึ้น



การขบั เคล่ือน
การประเมินความเส่ียงการทุจรติ

๒. การขบั เคล่ือนการประเมินความเสยี่ งการทุจรติ

๒.๑ ทฤษฎีเกี่ยวกับสาเหตุการทจุ รติ

องค์ประกอบหรือปัจจัยที่นำไปสู่การทุจริต ประกอบด้วย Pressure/Incentive แรงกดดัน/
แรงจงู ใจ, Opportunity โอกาสซ่ึงเกิดจากช่องโหวข่ องระบบต่าง ๆ คุณภาพการควบคุมกำกับ การควบคุมภายใน
ขององค์กรมีจุดอ่อน และ Rationalization การหาเหตุผลสนับสนุนการกระทำตามทฤษฎีสามเหลี่ยมการทุจริต
(Fraud Triangle) ตามหลักการและทฤษฎี Triangle Fraud ของ Dr. Ronald R. Cressey (๑๙๔๐)

นอกจากหลักการและทฤษฎี Triangle Fraud ยงั มีทฤษฎี Four – Sided Diamond Fraud
ของ David T. Wolfe and Dana R. Hermanson (๒๐๐๔) และทฤษฎี Gone Theory ของ Leonard J.
Brook (๒๐๐๔) โดยหลักทฤษฎีทัง้ สามได้กล่าวถึงสาเหตุจูงใจของพฤติกรรมผู้กระทำผิดหรือสิง่ ที่จะก่อให้เกดิ
การทุจรติ ตามตารางดังนี้

Triangle Fraud Four – Sided Diamond Gone Theory
๑. Opportunity ๑. Capability ๑) G – Greed
๒. Opportunity ๒) O – Opportunity
๒. Pressure ๓) Incentive/Motive ๓) N – Need
๓. Rationalization ๔) Rationalization ๔) E – Expectation

Opportunity คำอธิบายความหมายของคำศพั ท์ ทฤษฎีเกี่ยวกับสาเหตุการทจุ ริต

Pressure โอกาส เหตุการณ์ สถานการณ์ที่เอื้ออำนวย มีสิ่งล่อตาล่อใจ เปิดโอกาส
Incentive/Motive ท่ีจะฉกฉวยผลประโยชน์ เน่ืองจากความบกพร่องหรือจุดอ่อนของ
ระบบงาน หรือชอ่ งวา่ งของกฎระเบยี บทเ่ี ปิดโอกาสให้ทำได้

ความกดดันและแรงกดดัน เม่ือเกิดเหตุการณ์คับขันจากสภาพแวดล้อม
ที่เปน็ อยู่ มีความจำเป็นตอ้ งการใช้เงิน

แรงจูงใจ แรงบันดาลใจ

Capability ๔
Rationalization
Greed คำอธบิ ายความหมายของคำศัพท์ ทฤษฎีเก่ียวกับสาเหตกุ ารทุจรติ
Need
Expectation ความสามารถทเี่ กิดจากอปุ นิสัย ความสามารถเฉพาะตัวของผปู้ ฏิบัติงาน
และลักษณะงานเอ้ือประโยชนท์ จ่ี ะประพฤติมิชอบและทำการทจุ ริตได้

มีเหตุผลเข้าข้างตนเองว่าสามารถทำได้ คนอื่นยังสามารถทำได้ โดยไม่
คดิ ว่าผิด มคี วามสามารถและโอกาสท่ีเกิดจากตำแหนง่ หนา้ ที่

ความโลภ เกดิ ความละโมบโลภมาก เหน็ คนอ่นื ทำผิดแลว้ ไม่ได้รับการลงโทษ
จับไมไ่ ด้ จึงหลงผิดอยากทำบา้ ง ไม่พึงพอใจในสิง่ ท่ตี นมี

ความต้องการอยากได้ ความจำเป็นที่ต้องการใช้เงิน จึงเป็นแรงกดดัน
ใหท้ ำทกุ สิ่งท่ีทำได้เพื่อให้ได้เงินมา

ความคาดหวังว่าสิ่งท่ีตนกระทำ ไม่มีคนอ่ืนล่วงรู้และเอาผิดได้ หรือ
โอกาสที่จะถูกค้นพบการกระทำท่ีผิด ถูกจับได้ และได้รับการลงโทษ
น้อยมาก

๒.๒ วัตถปุ ระสงค์

➢ เพอ่ื ให้เข้าใจจดุ เส่ียงท่อี าจทำใหเ้ กดิ การทุจริต
➢ เพอ่ื สร้างมาตรการควบคมุ เพ่ือลดความเสีย่ งการทจุ รติ
➢ ปรับปรงุ กลไกการทำงาน เพ่ือยบั ยงั้ การทจุ รติ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
➢ เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมให้กรมควบคุมโรค มีการบริหารราชการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม

ตรวจสอบได้
➢ เพื่อสร้างความมั่นใจใหก้ บั ผู้รับบรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสีย

๒.๓ ประเภทความเสีย่ งการทุจรติ และศพั ท์เฉพาะ คำนิยาม

๒.๓.๑ ประเภทความเสย่ี งการทจุ ริต

➢ ความเสี่ยงทุจริตทเี่ กย่ี วข้องกับการพจิ ารณาอนมุ ตั อิ นุญาต ตามพระราชบญั ญัติ
อำนวยความสะดวกในการพจิ ารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘

➢ ความเสี่ยงทจุ รติ ในความโปร่งใสของการใชอ้ ำนาจ และตำแหนง่ หน้าท่ี
➢ ความเสี่ยงทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหาร

จัดการทรัพยากรภาครัฐ



๒.๓.๒ ศัพท์เฉพาะ คำนิยาม

ศัพทเ์ ฉพาะ คำนิยาม
ความเสย่ี งการทจุ ริต (Corruption Risk) การดำเนนิ งานหรือการปฏิบัตหิ น้าที่ทีอ่ าจก่อให้เกิดการทุจรติ และประพฤติมิชอบ
หรืออาจก่อให้เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
ความเสยี่ ง (Risk) ของหน่วยงานในอนาคต
ความนา่ จะเป็นท่ีจะเกิดเหตุการณ์บางอย่าง ซ่งึ มีผลกระทบทำให้การดำเนินงาน
ความเสีย่ ง/ปัญหา ไมบ่ รรลุวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้หรือเบยี่ งเบนไปจากท่ีกำหนดไว้ ทง้ั น้ี ผลกระทบ
ที่เกดิ ขึ้นอาจสง่ ผลในทางบวกหรือทางลบก็ได้
ประเด็นความเสี่ยงการทุจรติ ความเสยี่ ง: เหตุการณ์ทยี่ งั ไม่เกิด ต้องหามาตรการควบคมุ
โอกาส (Likelihood) ปญั หา: เหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึ้นแลว้ ร้อู ยแู่ ล้ว ตอ้ งแก้ไขปญั หา
ผลกระทบ (Impact) เป็นขัน้ ตอนในการคน้ หาว่ามีรูปแบบความเสย่ี งการทุจริตอย่างไรบ้าง
โอกาสหรือความเปน็ ไปได้ท่เี หตุการณจ์ ะเกิดข้นึ
ระดบั ความรุนแรงของความเส่ียงการทจุ รติ ผลกระทบจากเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ขนึ้ ท้งั ทเ่ี ป็นตวั เงนิ หรอื ไมเ่ ป็นตวั เงนิ
(Risk Score) คะแนนรวมท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงระดบั ความรุนแรงของความเส่ียงการทุจรติ ทเ่ี ป็นผล
จากการประเมินความเสี่ยงการทุจริต จาก ๒ ปัจจัย คือ โอกาสเกิด
ผู้รับผิดชอบความเสี่ยงการทุจรติ (Risk Owner) (Likelihood) และผลกระทบ (Impact)
Key Controls in place ผปู้ ฏิบตั ิงานหรือรับผดิ ชอบกระบวนงานหรือโครงการ
มาตรการควบคุมความเสย่ี งการทจุ ริตทีห่ นว่ ยงานมีอยู่ในปจั จบุ ัน
Further Actions to be Taken มาตรการควบคุมความเสย่ี งการทุจรติ ที่หนว่ ยงานจัดทำเพ่ิมเติม

๒.๔ ปัจจัยความสำเรจ็ ในการบรหิ ารความเส่ยี งการทจุ ริต

สำหรบั ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารความเสย่ี งการทจุ ริต ประกอบด้วย
๑) ความม่งุ ม่ันของผนู้ ำองค์กรในการวางระบบการบริหารความเสี่ยงการทุจริตขององค์กร

ที่ยอมรับว่าความเส่ียงการทุจริตมีอยู่จริง หากมีประเด็นการทุจริตต้องยกระดับเป็นบทเรียนเพื่อเรียนรู้และ
หาแนวทางการบริหารจัดการป้องกันการเกดิ ซ้ำ กญุ แจสำคัญท่ีชว่ ยผลักดันให้องค์กรเติบโต ไม่ใช่ความสามารถ
ในการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงการทุจริต แต่คือการที่ผู้นำองค์กรต้องทำให้เรื่องของการบริหารความเสี่ยงการทุจริต
เป็นนโยบายและแนวทางที่ทุกส่วนจะต้องนำไปปฏิบัติ

๒) ความเข้าใจเรื่องความเส่ียงการทุจริตในทิศทางเดียวกันของคนในองค์กร
๓) กำหนดกระบวนการบริหารความเส่ียงการทจุ ริตอยา่ งทั่วถงึ ท้ังองคก์ ร และกระทำการ
อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ มีตัวแทนผู้เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยงการทุจรติ ต้องมีความเท่ียงธรรม
ด้วยการมองจากบุคคลภายนอกมองไปที่กระบวนงานหรือโครงการท่ีทำการประเมนิ (Outside in) และอาจให้มี



ผู้แทนจากภายนอก เช่น ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยง
การทจุ รติ เพ่ือให้มมี ุมมองท่รี อบดา้ น

๔) มีการเปิดเผยแผนและผลของการบริหารจัดการความเสี่ยงการทุจริตในเว็บไซต์ของ
หน่วยงาน และมีการสื่อสารภายในหน่วยงาน ติดตามประเมินผลเพ่ือวัดประสิทธิผลของแผนบริหารจัดการ
ความเสี่ยงการทุจริตอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากรูปแบบความเสี่ยงการทุจริตอาจมีการเปลี่ยนแปลง มาตรการ
ควบคุมความเสี่ยงการทุจริตท่ีกำหนดไว้เพียงพอหรือไม่ มาตรการที่กำหนดไว้ใช้ได้จริงและได้ผลหรือไม่
และสรา้ งความตระหนกั เร่ืองความเสีย่ งการทุจริตในองคก์ ร

๒.๕ กรอบหรือภาระงานในการประเมนิ ความเส่ียงการทุจรติ

สำหรับกรอบหรือภาระงานในการประเมินความเส่ียงการทุจริต มี ๔ กระบวนการ ดังน้ี
Corrective: แก้ไขปัญหาที่เคยรับรูว้ ่าเกิด สิ่งที่มีประวัติอยู่แล้ว ทำอย่างไรจะไม่ให้

เกิดข้ึนซำ้ อีก
Detective: เฝ้าระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเสี่ยง ทำอย่างไรจะตรวจพบ

ตอ้ งสอดส่องตั้งแตแ่ รก ตงั้ ขอ้ บ่งชี้บางเรอ่ื งท่ีน่าสงสัย หรือใหข้ อ้ มลู เบาะแสแก่ผูบ้ รหิ าร
Preventive: ป้องกัน หลีกเลี่ยง พฤติกรรมที่นำไปสู่การสุ่มเส่ียงต่อการกระทำผิด

ในส่วนพฤติกรรมทเี่ คยรบั รูว้ า่ เคยเกิดมาก่อน คาดหมายได้วา่ มโี อกาสสูงที่จะเกิดซ้ำอีก (Known Factor) ท้ังที่
รวู้ า่ ทำไปมคี วามเส่ียงต่อการทุจริต จะตอ้ งหลกี เล่ียงด้วยการปรับ Workflow ใหม่ ไม่เปิดชอ่ งว่างให้การทุจริต
เขา้ มาไดอ้ ีก

Forecasting: การพยากรณป์ ระมาณการสิ่งที่อาจจะเกดิ ขึ้นและป้องกันปราบปราม
ล่วงหน้า (Unknown Factor)

๒.๖ องค์ประกอบของกระบวนการบรหิ ารความเสยี่ งองค์กร

สำหรบั องค์ประกอบของกระบวนการบริหารความเส่ยี งองค์กร มี ๕ องคป์ ระกอบ ดงั น้ี
Governance and Culture: การกำกับดูแลกิจการและวัฒนธรรมองค์กร ได้แก่

โครงสร้างการดำเนินงานตามเป้าหมาย/กลยุทธ์ การกำหนดวัฒนธรรมที่พึงประสงค์ การยึดมั่นต่อค่านิยม
องคก์ ร และการสรา้ งความเขม้ แข็งดา้ นทนุ มนษุ ย์

Strategy & Objective Setting: กลยุทธ์และวัตถุประสงค์ขององค์กร ได้แก่
การวิเคราะห์บริบทของธุรกิจ การกำหนดระดับความสามารถในการรับความเสี่ยง การประเมินทางเลือกของ
กลยุทธจ์ ัดการความเส่ยี งองค์กร และการวางเปา้ ประสงคท์ างธรุ กิจภายใต้ความเสย่ี ง



Performance: เป้าหมายผลการดำเนินงาน ได้แก่ การระบุความเส่ียง การประเมิน
ระดบั ความรุนแรง การจัดลำดับความเสยี่ ง การตอบสนองความเสีย่ ง และการพจิ ารณาภาพรวมของความเส่ียง
องค์กรทงั้ หมด

Review & Revision: การทบทวนและปรับปรุง ไดแ้ ก่ การประเมนิ ความเปล่ียนแปลง
ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการบริหารความเส่ียง การทบทวนความสามารถในการจัดการและระดับความเสี่ยง และการปรับปรุง
พฒั นาระบบการบริหารความเส่ยี งองคก์ ร

Information, Communication & Reporting: ระบบสารสนเทศ การสื่อสาร
และการรายงาน ได้แก่ การใช้สารสนเทศสนับสนุนการบริหารความเสี่ยง การใช้ช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง และการรายงานความสำเร็จ – การดำเนินการ รวมทั้งวัฒนธรรมความเส่ียง
ทีเ่ กิดขนึ้

การประเมินความเสี่ยงการทุจริตมีความแตกต่างจากการตรวจสอบภายใน เนือ่ งจากการบรหิ ารจัดการ
ความเสี่ยง เป็นการทำงานลักษณะท่ีทุกภาระงานต้องประเมินความเสี่ยงก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง และแทรก
กิจกรรมการตอบโต้ความเส่ียงไว้ก่อนเริ่มปฏิบัติงานหลักตามภาระงานปกติของการเฝ้าระวังความเสี่ยงล่วงหน้า
จากทุกภาระงานร่วมกัน โดยเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบปกติท่ีมีการรับรู้และยอมรับจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
เป็นลักษณะ Pre – Decision ส่วนการตรวจสอบภายในจะเป็นในลักษณะกำกับติดตามความเสี่ยง สอบทาน
เป็นลักษณะ Post – Decision ควบคุมและตรวจสอบโดยใช้อำนาจกฎหมาย หน่วยงานจะเน้นท่ีการปฏิบัติ
ตามกฎเกณฑ์ ซ่งึ จำเปน็ แต่ไดผ้ ลน้อย ในการสรา้ ง “คุณภาพ” “คุณค่า” ท่เี กิดจากการตรวจสอบ นอกจากนั้น
ยงั เป็นการเน้น “อดีต” มากกว่า “ปจั จุบนั ” และ “อนาคต”



วธิ ีการประเมนิ ความเสย่ี งการทุจรติ

๓. วิธกี ารประเมนิ ความเส่ียงการทจุ ริต

วิธีการประเมินความเสี่ยงการทจุ ริต มีข้นั ตอนหลกั ๓ ข้นั ตอน และตารางประกอบการประเมนิ ดังนี้
๑. การกำหนดเกณฑ์การประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ
๒. การประเมนิ ความเสยี่ งการทจุ ริต
๓. การจดั ทำแผนบรหิ ารจัดการความเส่ียง

ขั้นตอนท่ี ๑ การกำหนดเกณฑ์การประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ ริต

กอ่ นทำการประเมินความเสี่ยง หน่วยงานตอ้ งกำหนดเกณฑส์ ำหรับใช้ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
ของกระบวนงานหรือโครงการท่ีทำการประเมิน ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจาก ๒ ปัจจัย คือ ด้านโอกาส
และด้านผลกระทบ และการให้คะแนนท้ัง ๒ ปัจจัย ดงั นี้

➢ โอกาสท่ีจะเกิด (Likelihood) พิจารณาความเป็นไปไดท้ ี่จะเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง ในช่วงเวลาหนง่ึ
ในรูปของความถ่ี หรือความนา่ จะเป็นท่ีจะเกิดเหตกุ ารณ์น้นั ๆ

➢ ผลกระทบ (Impact) การวดั ความรนุ แรงของความเสยี หายที่จะเกิดขนึ้ จากความเสยี่ งนน้ั โดยสามารถ
แบง่ เปน็ ผลกระทบทางด้านการเงนิ และผลกระทบท่ีไม่ใช่การเงิน

การประเมินความเส่ียงการทุจรติ ของกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

ประเภทความเสีย่ งการทจุ รติ
➢ ความเสีย่ งทจุ รติ ในความโปรง่ ใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครฐั

โครงการจดั ซือ้ จดั จา้ งทม่ี ีวงเงินสูงสุด
➢ จ้างกอ่ สร้างอาคารศูนย์ปฏบิ ตั ิการภาวะฉุกเฉิน สำนกั งานป้องกันควบคุมโรคท่ี ๘ จังหวดั อุดรธานี จำนวน
๑ หลงั

งบประมาณ
➢ ๗๑,๓๔๗,๔๐๐ บาท (เจด็ สบิ เอ็ดลา้ นสามแสนสหี่ มน่ื เจด็ พันสรี่ ้อยบาทถ้วน)

วิธีจัดซื้อจดั จ้าง
➢ ประกาศเชญิ ชวนทว่ั ไป ด้วยวิธีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e – bidding)

ระยะเวลาดำเนินการ
➢ ๕๔๐ วัน



1) เกณฑ์โอกาสเกดิ การทุจริต (Likelihood)

โอกาสเกิดการทุจริต (Likelihood)
๕ โอกาสเกิดการทุจรติ มากกว่า ๕ ครัง้ ต่อปี
๔ โอกาสเกิดการทุจรติ ไมเ่ กนิ ๔ ครง้ั ตอ่ ปี
๓ โอกาสเกิดการทุจริตไมเ่ กนิ ๓ คร้ังต่อปี
๒ โอกาสเกดิ การทุจริตไม่เกิน ๒ คร้งั ตอ่ ปี
๑ โอกาสเกิดการทจุ ริต ๑ คร้งั ตอ่ ปี

2) เกณฑผ์ ลกระทบ (Impact) ทางดา้ นการเงิน

ระดับความรุนแรงของผลกระทบ (Impact)
๕ กระทบตอ่ งบประมาณและความเชื่อมนั่ ของสังคมระดบั สงู มาก (ตัง้ แต่ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ข้นึ ไป)
๔ กระทบต่องบประมาณและความเชื่อมน่ั ของสังคมระดบั สูง (ต้ังแต่ ๑,๕๐๐,๐๐๐ – ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท)
๓ กระทบต่องบประมาณและความเชื่อมั่นของสังคมระดับปานกลาง (ตั้งแต่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ – ๑,๕๐๐,๐๐๐

บาท)
๒ กระทบตอ่ งบประมาณและความเชื่อมั่นของสงั คมระดบั ต่ำ (ต้งั แต่ ๕๐๐,๐๐๐ – ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท)
๑ กระทบตอ่ งบประมาณและความเชื่อม่ันของสังคมระดบั ต่ำมาก (ตำ่ กว่า ๕๐๐,๐๐๐ บาท)

3) เกณฑ์ผลกระทบ (Impact) ท่ีไมใ่ ชท่ างด้านการเงนิ

ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบ (Impact)
๕ เกดิ การฟ้องร้องต่อศาล หรือหน่วยงานกำกบั ดแู ล องคก์ รตรวจสอบทำการตรวจสอบความเสียหายท่เี กิดขนึ้
๔ รอ้ งเรียนตอ่ สื่อมวลชนและมกี ารออกข่าว
๓ มกี ารส่งหนงั สือรอ้ งเรยี นและตั้งคำถามตอ่ การทำงาน โดยไม่ได้รับคำตอบท่ชี ัดเจน
๒ เรมิ่ มีความกังวลและสอบถามขอ้ มลู
๑ แทบจะไมม่ ี

๑๐

4) เกณฑ์การวัดระดบั ความรนุ แรงของความเสีย่ งการทุจริต

Risk Score

โอกาสเกิด ผลกระทบ

๕ ๑ ๒๓ ๔ ๕
๔ ปานกลาง สงู มาก สงู มาก
๓ ปานกลาง สงู สงู สูงมาก
๒ สูง
๑ ตำ่ ปานกลาง สงู สูง สงู
ตำ่ ปานกลาง สูง
ตำ่ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

ตำ่ ปานกลาง

ตำ่ ตำ่

ระดับความรนุ แรงของความเสีย่ งการทุจรติ

➢ สเี ขยี ว หมายถึง ความเส่ียงระดับต่ำ
➢ สเี หลอื ง หมายถงึ ความเส่ียงระดับปานกลาง
➢ สสี ้ม หมายถึง ความเสี่ยงระดบั สูง
➢ สีแดง หมายถงึ ความเส่ียงระดบั สูงมาก

สี คา่ ความเสยี่ งรวม ระดับความเสี่ยงการทจุ ริต
สเี ขียว ๑–๓ ความเส่ียงระดับตำ่
สเี หลอื ง ๔–๙
สีส้ม ๑๐ – ๑๖ ความเสีย่ งระดับปานกลาง
สแี ดง ๑๗ – ๒๕ ความเส่ยี งระดับสงู

ความเสย่ี งระดบั สงู มาก

ข้ันตอนท่ี ๒ การประเมนิ ความเส่ียงการทจุ ริต

เป็นข้นั ตอนการระบปุ ระเด็นความเสี่ยงการทุจรติ และการจัดระดบั ความรุนแรงของความเส่ียงการทุจริต
การระบุประเดน็ ความเสี่ยงการทุจริตโดยการอธิบายรายละเอียดเหตุการณท์ ี่มีโอกาสเกิดความเสี่ยงการทุจรติ
ในแต่ละขั้นตอนในการดำเนนิ งานของกระบวนงานหรือโครงการทที่ ำการประเมินให้ละเอียดและชดั เจน

การค้นหาความเส่ยี งการทุจริต คน้ หาจากความเสยี่ งทีเ่ คยเกิด หรือคาดว่าจะเกิดซำ้ สงู มีประวัติอยู่แล้ว
(Known Factor) และไม่เคยเกิด หรือไม่มีประวัติมาก่อน แต่มีความเส่ียงจากการพยากรณ์ในอนาคตว่า
มีโอกาสเกิด (Unknown Factor) ในข้ันตอนนเ้ี ป็นการตง้ั สมมติฐาน หรอื เปน็ การพยากรณล์ ว่ งหน้าทอี่ าจเกิดข้ึน

๑๑

ในอนาคตเพิ่มเติม (Scenario) เป็นการมองข้อมูลไปข้างหน้า (Forward – looking information) โดยไม่คำนึง
ว่าหน่วยงานมีมาตรการควบคุมความเสี่ยงการทุจริตนั้นอยู่แล้วหรือไม่ โดยการมองความเสี่ยงการทุจริตด้วย
ข้อมูลท่ีเลวร้ายที่สุด (Worst Case) หลักการท่ีสำคัญ ต้องไม่เอาปัญหาหรือข้อจำกัดจากการบริหารงาน
ในปัจจุบัน เช่น ทรัพยากร คน พาหนะ ระบบเทคโนโลยี ไม่มีหรือไม่พอ บุคลากรไม่มีความรู้ ความเข้าใจ
ไม่มีจิตสำนึก ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่การดำเนินงานอาจไม่บรรลุเป้าหมายมาปนกับความเสี่ยงการทุจริต เพราะจะ
ทำใหล้ ะเลยการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงการทุจริต

Know Factor ปัจจัยความเส่ียงทง้ั ปญั หา/พฤตกิ รรม ท่เี คยรบั รู้ว่าเคยเกดิ มาก่อน คาดหมายได้วา่ มีโอกาสสูง

ท่จี ะเกดิ ซำ้ หรอื มีประวตั ิ มตี ำนานอยแู่ ลว้

Unknown Factor ปจั จัยความเส่ียง ทมี่ าจากการพยากรณ์ ประมาณการล่วงหน้าในอนาคต พฤติกรรมความเสี่ยง
ที่อาจจะเกิดขึ้น (คิดล่วงหน้า ตีตนก่อนไข้) หรืออาจเกิดในอนาคตเพิ่มเติม (Scenario) เป็น
การมองข้อมูลไปข้างหน้า (Forward looking information) โดยไม่คำนึงว่าหน่วยงาน
มีมาตรการควบคุมความเส่ียงการทุจริตอยู่แล้วหรือไม่ โดยการมองความเส่ียงการทุจริต
ด้วยข้อมลู ทเี่ ลวรา้ ยท่ีสดุ (Worst Case)

ตารางท่ี ๑ การคน้ หาความเสยี่ งการทุจริต

ลำดับ โอกาส/ความเสีย่ งการทุจรติ ประเภทความเสยี่ งการทจุ รติ

ท่ี Know Factor Unknown Factor

๑ การจัดทำแผนการจัดซ้ือจดั จา้ ง ✓
๑.๑ ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง (เจ้าของโครงการ/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง กับการจัดซื้อจัด ✓
จ้าง) มีการนำขอ้ มูลไปเปิดเผย หรือหาผลประโยชน์ ✓
๑.๒ การรขู้ ้อมลู ล่วงหน้า วางกรอบระยะเวลาจัดซื้อจัดจ้างไปเอ้ือประโยชน์

๒ การจดั ทำขอบเขตงาน (TOR) และการกำหนดราคากลาง
๒.๑ การกำหนดคุณสมบัติท่ีเกินความจำเป็น หรือเขียนใกล้เคียงกับสิ่งท่ีต้องการ
เพือ่ เอื้อประโยชน์หรอื กีดกนั ผูเ้ สนอราคาบางราย
๒.๒ การกำหนดราคากลางสงู กว่าความเปน็ จรงิ
๒.๓ การแบ่งงวดงาน/งวดเงนิ ไมส่ อดคล้องเหมาะสม

๓ การจัดทำรายงานการขอซือ้ ขอจา้ ง
๓.๑ การหาคเู่ ทียบปลอม หรอื ไม่ไดส้ ืบราคาท้องตลาดทีแ่ ท้จรงิ
๓.๒ การเอ้ือประโยชน์ให้กับพวกพ้อง หรือมีการใช้ดุลยพินิจในการเลือกผู้เสนอ
ราคา
๓.๓ จดั ซอ้ื จดั จ้างท่ไี มต่ รงตามท่ีจดั สรรงบประมาณตามประเภทรายการ

๑๒

ลำดับ โอกาส/ความเสี่ยงการทุจริต ประเภทความเสี่ยงการทจุ ริต

ที่ Know Factor Unknown Factor

๔ การบริหารสัญญา การกำกับ/การควบคุมงาน รวมถึงการตรวจรับงาน ✓
๔.๑ การแตง่ ต้งั คณะกรรมการทย่ี ังขาดทักษะและความชำนาญ ✓
๔.๒ คณะกรรมการขาดการกำกับติดตามแผนทชี่ ัดเจน
๔.๓ คณะกรรมการตรวจรับอาจมีการเอื้อประโยชน์/รับสินน้ำใจ ทั้งตัวเงินและ
สงิ่ ของ
๔.๔ การตรวจรบั ไมต่ รงตามรปู แบบรายการ/เน้ือหาสาระสำคญั
๔.๕ การตรวจรับงานไปก่อน ทั้งทีย่ งั ทำงานไมแ่ ล้วเสร็จหรืองานไม่ถูกต้องตามสัญญา
๔.๖ ขาดการสอบทานเอกสาร
๔.๗ การรายงานไม่ตรงกับข้อเท็จจริง

๕ การสง่ มอบงาน
๕.๑ สง่ มอบงานยังไม่ครบ แต่ตรวจรับไปก่อน

การให้คะแนนความเสี่ยงการทุจริตโดยพิจารณาจากข้ันตอนการดำเนินงาน พิจารณาจาก ๒ ปัจจัย
ประกอบดว้ ย โอกาสเกดิ (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) จะไดร้ ะดับความรุนแรงของความเสี่ยงการทุจริต
(Risk Score) เพ่ือนำมาจัดระดับความรุนแรงของความเส่ียงการทจุ ริตวา่ อยู่ในระดับสูงมาก สูง ปานกลาง หรือต่ำ
ตามแบบฟอร์มตารางที่ ๒

การประเมินความ

ตารางท่ี ๒ การระบุประเด็นความเสย่ี งการทจุ ริต การใหค้ ะแนนความเสยี่ งการทจุ รติ แ

ลำดับ ขั้นตอน

ที่ การดำเนินงาน ความ

๑ การจดั ทำแผนการจัดซ้อื จัดจ้าง ๑.๑ ผทู้ ี่มสี ว่ นเกยี่ วข้อง (เจ้าของโครงการ

ข้อมลู ไปเปดิ เผย หรอื หาผลประโยชน์

๑.๒ การรู้ข้อมลู ลว่ งหน้า วางกรอบระยะเ

๒ การจัดทำขอบเขตงาน (TOR) และการกำหนด ๒.๑ กำหนดคณุ สมบัติทีเ่ กนิ ความจำเปน็

ราคากลาง หรือกีดกันผเู้ สนอราคาบางราย

๒.๒ การกำหนดราคากลางสงู กว่าความเป

๒.๓ การแบ่งงวดงาน/งวดเงนิ ไม่สอดคล้อ

๓ การจดั ทำรายงานการขอซอื้ ขอจ้าง ๓.๑ การหาค่เู ทยี บปลอม หรือไมไ่ ดส้ ืบรา

๓.๒ มกี ารเออ้ื ประโยชนใ์ หก้ ับพวกพอ้ ง ห

๓.๓ จัดซื้อจัดจ้างท่ีไมต่ รงตามทีจ่ ดั สรรงบ

๔ การบริหารสัญญา การกำกบั /การควบคุมงาน ๔.๑ การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการท่ียังขาดทักษ

รวมถงึ การตรวจรับงาน ๔.๒ คณะกรรมการขาดการกำกับติดตามแผ

๔.๓ คณะกรรมการตรวจรับอาจมีการเอื้อป

๔.๔ การตรวจรับไม่ตรงตามรูปแบบรายการ

๔.๕ การตรวจรบั งานไปก่อน ทัง้ ทย่ี ังทำงาน

๔.๖ ขาดการสอบทานเอกสาร

๑๓

มเส่ียงการทุจรติ

และการจัดระดับความรุนแรงของความเส่ียงการทจุ รติ

ประเดน็ Risk Score (L X I)

มเสีย่ งการทจุ ริต Likelihood Impact Risk Score

ร/เจ้าหน้าที่ท่ีเกยี่ วข้อง กบั การจดั ซ้อื จดั จา้ ง) มีการนำ ๓ ๓ ๙/ปานกลาง

เวลาจดั ซอ้ื จดั จ้างไปเอ้ือประโยชน์ ๓ ๔ ๑๒/สงู
หรือเขียนใกลเ้ คยี งกับสงิ่ ที่ตอ้ งการ เพ่ือเอ้ือประโยชน์

ป็นจริง ๓ ๓ ๙/ปานกลาง
องเหมาะสม ๓ ๔ ๑๒/สูง
าคาทอ้ งตลาดท่ีแทจ้ รงิ
หรือมีการใช้ดุลยพินิจในการเลือกผู้เสนอราคา
บประมาณตามประเภทรายการ
ษะและความชำนาญ
ผนที่ชัดเจน
ประโยชน์/รับสินนำ้ ใจ ท้งั ตวั เงินและสงิ่ ของ
ร/เนื้อหาสาระสำคญั
นไม่แล้วเสร็จหรืองานไม่ถูกต้องตามสญั ญา

ลำดบั ขนั้ ตอน ความ
ท่ี การดำเนินงาน ๔.๗ การรายงานไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
๕.๑ สง่ มอบงานยังไม่ครบ แตต่ รวจรับไปก่อ
๕ การสง่ มอบงาน

ประเดน็ ๑๔
มเส่ยี งการทุจรติ
Risk Score (L X I)
อน Likelihood Impact Risk Score

๓ ๔ ๑๒/สูง

๑๕

ขนั้ ตอนที่ ๓ การจัดทำแผนบรหิ ารจดั การความเสีย่ งการทุจรติ

มาตรการ หมายถงึ วิธกี ารทจ่ี ะทำให้ได้รับผลสำเรจ็ (วธิ ีปอ้ งกัน) หรือแนวทางที่ต้งั ขึ้นเพื่อไม่ให้เกิดสิ่ง
ทีไ่ มพ่ ึงปรารถนา แลว้ นำมาจัดทำเป็นแผนบริหารความเส่ยี งการทุจรติ เพอ่ื ควบคุมหรือลดโอกาสเกดิ การทุจริต
โดยลำดับ ความเสี่ยงการทุจริตที่อยู่ในโซนสีแดง (Red Zone) จะถูกเลือกมาทำแผนบริหารจดั การความเสี่ยง
การทุจรติ สว่ นลำดบั ความเสย่ี งท่ีอยู่ในโซนสีส้ม สีเหลือง จะถกู เลอื กในลำดับต่อมา มาตรการควบคุมความเส่ียง
การทุจริตอาจมีหลากหลายวิธีการ หน่วยงานควรทำการเลือกวิธีที่ดที ี่สุด และประเมินความคุ้มค่าเหมาะสมกับ
ระดบั ความเส่ยี งการทุจรติ ท่ีได้จากการประเมนิ มาประกอบด้วย

การจัดทำแผนบริหารจัดการความเส่ียงการทุจริต ให้นำมาตรการควบคุมความเส่ียงการทุจริตของ
กระบวนงานหรือโครงการท่ที ำการประเมนิ ของหน่วยงานท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน (Key Controls in place) มาทำการ
ประเมินว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับใด ดี พอใช้ หรืออ่อน เพื่อพิจารณาจัดทำมาตรการควบคุมความเสี่ยง
การทุจริตเพิ่มเติม (Further Actions to be Taken) โดยมาตรการคุมความเสี่ยงการทุจริตควรเชื่อมโยงให้มี
ความสอดคล้องกบั ความเสย่ี งทป่ี ระเมนิ ไว้

ระดับ คำอธิบาย
การประเมนิ ประสิทธิภาพมาตรการควบคุมความเสี่ยงการทุจริตท่ีหนว่ ยงานมีในปจั จุบัน

ดี การควบคมุ มคี วามเข้มแข็งและดำเนนิ ไปไดอ้ ย่างเหมาะสม ซึ่งชว่ ยใหเ้ กดิ ความมั่นใจได้ในระดบั ที่สมเหตุสมผล
วา่ จะสามารถลดความเสี่ยงการทจุ ริตได้

พอใช้ การควบคมุ ยังขาดประสิทธภิ าพ ถึงแมว้ ่าจะไม่ทำให้เกิดผลเสียหายจากความเสีย่ งอย่างมีนัยสำคัญ แต่ก็ควรมี
การปรับปรงุ เพ่ือให้ม่ันใจว่าจะสามารถลดความเสีย่ งการทจุ รติ ได้

ออ่ น การควบคุมไม่ได้มาตรฐานที่ยอมรับได้ เนื่องจากมีความหละหลวมและไม่มีประสิทธิผล การควบคุมไม่ทำให้
มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าจะสามารถลดความเสี่ยงการทุจริตได้

และต้องมีการติดตามเพ่ือประเมินการบริหารความเสี่ยงการทุจริตในกิจกรรมตามแผนบริหารความเส่ียง
ที่กำหนดไว้ เพื่อเป็นการยืนยนั ผลการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาว่ามีประสิทธภิ าพมากน้อยเพยี งใด หรืออาจต้อง
เพิ่มเติมหรือปรับแผนบริหารจัดการความเสี่ยงการทุจริตใหม่หากพบว่ารูปแบบการทุจริตมีสภาพแวดล้อม
ทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปตามวงจร PDCA (Plan – Do – Check – Act)

การจดั ทำแผนบรหิ ารจดั

ตารางที่ ๓ แผนบรหิ ารจดั การความเส่ยี งการทจุ ริต

ช่ือกระบวนงานหรอื ช่อื โครงการ: จ้างก่อสร้างอาคารศูนย์ปฏบิ ัติการภาวะฉุกเฉนิ สำนักงานป้องก
งบประมาณ: ๗๑,๓๔๗,๔๐๐ บาท (เจ็ดสบิ เอด็ ลา้ นสามแสนสหี่ มื่นเจด็ พันสร่ี ้อยบาทถ้วน)
วธิ จี ดั ซ้อื จัดจ้าง: ประกาศเชญิ ชวนทวั่ ไป ดว้ ยวิธปี ระกวดราคาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e – bidding)
ระยะเวลาดำเนนิ การ: ๕๔๐ วัน
หนว่ ยงาน: สำนักงานป้องกันควบคมุ โรคท่ี ๘ จงั หวัดอุดรธานี กรมควบคุมโรค
ลำดบั ข้นั ตอนการดำเนินงาน/

ท่ี ประเด็นความเสีย่ งการทจุ ริต
๑ การจดั ทำแผนการจัดซ้อื จดั จา้ ง

๑.๑ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (เจ้าของโครงการ/เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้อง กับการจัดซ้ือจัดจ้าง)
มีการนำขอ้ มูลไปเปดิ เผย หรือหาผลประโยชน์
๑.๒ การรู้ข้อมลู ล่วงหนา้ วางกรอบระยะเวลาจัดซื้อจดั จา้ งไปเอ้ือประโยชน์

๑๖

ดการความเส่ยี งการทุจริต

กนั ควบคุมโรคท่ี ๘ จังหวดั อุดรธานี จำนวน ๑ หลัง

มาตรการควบคมุ ความเสย่ี ง
การทุจริต

มาตรการ/กจิ กรรม/แนวทาง
๑.๑ จัดทำและแจง้ เวยี นมาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจดั ซ้ือจัดจา้ ง
๑.๒ ผ้บู ังคับบญั ชาของหน่วยงาน เน้นย้ำความสำคัญของการควบคุมภายใน การควบคุมความเสี่ยง
การปฏิบัติตามกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง โดยสร้างแรงจูงใจสำหรับผู้ปฏิบัติหน้าท่ี และบทลงโทษ
สำหรับผู้ทีล่ ะเลยการปฏิบตั หิ น้าที่
๑.๓ ให้ผทู้ ่ีมสี ่วนเกย่ี วข้องกบั การจดั ซ้ือจัดจ้าง ยื่นแบบแสดงความบริสทุ ธ์ิใจในการจดั ซอื้ จดั จ้าง
๑.๔ ตรวจสอบความมีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้เสนอราคาของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ว่าเป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่ โดยดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดในระเบียบกระทรวง
การคลังว่าดว้ ยการจดั ซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

ชือ่ กระบวนงานหรอื ชอื่ โครงการ: จ้างกอ่ สรา้ งอาคารศนู ย์ปฏิบตั ิการภาวะฉกุ เฉิน สำนกั งานปอ้ งก
งบประมาณ: ๗๑,๓๔๗,๔๐๐ บาท (เจ็ดสบิ เอด็ ลา้ นสามแสนส่หี ม่ืนเจด็ พนั สรี่ ้อยบาทถ้วน)
วิธีจัดซื้อจดั จ้าง: ประกาศเชญิ ชวนทวั่ ไป ด้วยวิธีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e – bidding)
ระยะเวลาดำเนินการ: ๕๔๐ วัน
หนว่ ยงาน: สำนกั งานป้องกนั ควบคุมโรคที่ ๘ จังหวัดอดุ รธานี กรมควบคุมโรค
ลำดับ ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน/

ที่ ประเดน็ ความเส่ียงการทุจรติ

๒ การจัดทำขอบเขตงาน (TOR) และการกำหนดราคากลาง
๒.๑ กำหนดคุณสมบัติที่เกินความจำเป็นหรือเขียนใกล้เคียงกับสิ่งที่ต้องการ เพื่อเอ้ือ
ประโยชนห์ รอื กีดกันผ้เู สนอราคาบางราย
๒.๒ การกำหนดราคากลางสูงกว่าความเปน็ จรงิ
๒.๓ การแบง่ งวดงาน/งวดเงิน ไมส่ อดคลอ้ งเหมาะสม

๓ การจดั ทำรายงานการขอซ้อื ขอจา้ ง
๓.๑ การหาคเู่ ทยี บปลอม หรือไมไ่ ด้สืบราคาทอ้ งตลาดทีแ่ ทจ้ ริง
๓.๒ มีการเออ้ื ประโยชนใ์ ห้กบั พวกพอ้ ง หรือมกี ารใชด้ ลุ ยพินิจในการเลือกผเู้ สนอราคา
๓.๓ จดั ซอ้ื จัดจา้ งทไ่ี มต่ รงตามทจ่ี ัดสรรงบประมาณตามประเภทรายการ

๔ การบริหารสัญญา การกำกบั /การควบคมุ งาน รวมถึงการตรวจรับงาน
๔.๑ การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการท่ียังขาดทักษะและความชำนาญ

๑๗

กันควบคุมโรคที่ ๘ จงั หวัดอดุ รธานี จำนวน ๑ หลัง

มาตรการควบคมุ ความเสี่ยง
การทุจรติ

๑.๕ จัดต้ังคณะกรรมการควบคุมภายในที่มาจากหน่วยงาน/กลุ่มงานอ่ืน เพ่ือควบคุม กำกับ ติดตาม
การจดั ซอ้ื จัดจ้าง และการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีกำหนด
มาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง
๒.๑ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้ามาตรวจสอบร่างประกาศ TOR ขอบเขต/รายละเอียด
คุณลกั ษณะการประกาศจัดซื้อจัดจ้าง ตามระยะเวลาที่กำหนด ก่อนประกาศเผยแพรฉ่ บับจริง

มาตรการ/กจิ กรรม/แนวทาง
๓.๑ จัดกิจกรรมฝึกอบรม ส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม องค์ความรู้ด้านการปอ้ งกันการทจุ ริต
การส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริต ให้กับบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง เช่น หลักสูตร e – Learning System
ความเส่ียงต่อการทุจริตในการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในการ
จัดซือ้ จัดจ้างและการใช้จ่ายงบประมาณ
มาตรการ/กจิ กรรม/แนวทาง

ชื่อกระบวนงานหรอื ชอื่ โครงการ: จ้างก่อสร้างอาคารศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารภาวะฉุกเฉิน สำนักงานปอ้ งก
งบประมาณ: ๗๑,๓๔๗,๔๐๐ บาท (เจ็ดสิบเอ็ดล้านสามแสนส่ีหมื่นเจด็ พนั สรี่ ้อยบาทถว้ น)
วธิ ีจดั ซ้อื จดั จ้าง: ประกาศเชญิ ชวนทว่ั ไป ดว้ ยวิธีประกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e – bidding)
ระยะเวลาดำเนนิ การ: ๕๔๐ วนั
หนว่ ยงาน: สำนักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี ๘ จงั หวดั อดุ รธานี กรมควบคุมโรค
ลำดับ ขั้นตอนการดำเนนิ งาน/

ท่ี ประเด็นความเสยี่ งการทจุ ริต
๔.๒ คณะกรรมการขาดการกำกับตดิ ตามแผนท่ีชัดเจน
๔.๓ คณะกรรมการตรวจรับอาจมีการเอื้อประโยชน์/รับสินนำ้ ใจ ทั้งตัวเงินและส่ิงของ
๔.๔ การตรวจรบั ไมต่ รงตามรปู แบบรายการ/เน้ือหาสาระสำคัญ
๔.๕ การตรวจรับงานไปก่อน ท้ังทยี่ ังทำงานไม่แลว้ เสร็จหรืองานไม่ถูกต้องตามสญั ญา
๔.๖ ขาดการสอบทานเอกสาร
๔.๗ การรายงานไม่ตรงกับข้อเท็จจริง

๕ การส่งมอบงาน
๕.๑ ส่งมอบงานยังไม่ครบ แต่ตรวจรับไปก่อน

*** กรณีโครงการจัดซื้อจัดจ้างที่ทำการประเมนิ ความเสี่ยงการทุจริต ต้องเปน็ โครงการ
วธิ ีการจัดซอ้ื จัดจา้ ง

๑๘

กนั ควบคมุ โรคที่ ๘ จงั หวดั อุดรธานี จำนวน ๑ หลงั

มาตรการควบคมุ ความเส่ียง
การทุจรติ

๔.๑ กำหนดระยะเวลาการรายงานผลการปฏิบัติงานตอ่ หัวหน้าส่วนราชการ และผู้บังคับบญั ชา
ของหนว่ ยงาน
๔.๒ ประสานงานกับหน่วยงานภายในท่ีมีประสบการณ์ ความรู้ ความเช่ียวชาญ ในการดำเนินงาน
แตล่ ะข้นั ตอน ได้แก่ กองบรหิ ารการคลัง และกลุ่มตรวจสอบภายใน
๔.๓ จัดทำและเผยแพร่นโยบาย “No Gift Policy”
๔.๔ การสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการทุจริต เช่น พัฒนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพ่อื เพ่มิ ช่องทางการรอ้ งเรียนทุจริตทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
มาตรการ/กจิ กรรม/แนวทาง
๕.๑ ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน กำกับการดำเนินงานอย่างใกล้ชิด และติดตามการปฏิบัติงาน
ให้เป็นไปตามระเบียบ

รท่ียังไม่มีการจัดซ้ือจัดจ้างหรืออยู่ระหวา่ งดำเนินการ ใหร้ ะบุชอื่ โครงการ/งบประมาณ/

๑๙

หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนา แก้ปัญหา"ทุจริตคอร์รัปชัน"

ในสังคมท่ีอยรู่ ่วมกนั จำเปน็ ต้องมีกฎระเบยี บ เพ่อื เป็นส่ือกลางในการกำหนดความเป็นอยูข่ องคนใน
สงั คม ซึง่ ส่งิ ที่ปรากฏ ภายนอก ยังมบี ทกำหนดโทษทางสังคมท่ีตราไว้ สว่ นทีอ่ ย่ภู ายในจิตใจของผคู้ น
มาตรการดงั กล่าวยงั เอื้อมไม่ถึง ส่วนทีน่ ำมาแสดงเป็นสิง่ ท่ีพระพุทธองค์ทรงบัญญตั ิไว้ตัง้ แต่ สองพนั หา้ ร้อยกวา่
ปี เปน็ ธรรมชาติทแ่ี สดงถึงเนื้อแท้ของจิตใจมนุษย์ ถา้ เรานำมาประพฤติปฏิบัติ กจ็ ะชว่ ยใหต้ นเอง ครอบครัว
ชมุ ชน หรอื สงั คมโดยรวม มคี วามผาสกุ มคี วามเยน็ ชืน่ ฉ่ำใจและ ทำให้สังคมโดยรวมก็เย็น สงบสุขเช่นเดยี วกัน
ลองนำไปประพฤติปฏบิ ัติกนั ดู

หลกั ธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนามีบทบาทสำคญั ตอ่ การแก้ไขปัญหาทจุ ริตคอร์รปั ชนั อยา่ งไร

เราไปดูความหมายของคำว่า “คอร์รัปชนั ” กนั ก่อน

คอรร์ ัปชน่ั คอื การทุจรติ โดยใชห้ รืออาศัยตำแหน่งอำนาจหนา้ ที่และอิทธพิ ลที่ตนมอี ยู่ เพื่อประโยชน์
แกต่ นเองหรอื ผู้อืน่ การเห็นแก่ญาติพ่ีน้อง กินสินบน ฉ้อราษฎรบ์ งั หลวง การใชร้ ะบบอุปถมั ภแ์ ละความไมเ่ ป็น
ธรรมอ่นื ๆ ทีข่ ้าราชการหรอื บุคคลใด ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื ในการลิดรอนความเป็นธรรม

การคอรร์ ปั ชนั ตามประมวลกฎหมายอาญา คือการแสวงหาผลประโยชนท์ ่ีมชิ อบด้วยกฎหมายสำหรบั
ตนเองหรือผู้อื่น เช่น ความผิดต่อตำแหน่งหนา้ ทรี่ าชการ ความผดิ ทีเ่ กีย่ วกับความยตุ ิธรรมตลอดจนความผิดต่อ
ตำแหนง่ หนา้ ที่ความยุตธิ รรม ซ่งึ กลา่ วงา่ ย ๆ คือ การกระทำเพ่อื แสวงหาผลประโยชนท์ ่ีมิควรชอบได้ด้วย
กฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อืน่ เช่น

๑. การเบยี ดบงั ทรพั ยข์ องทางราชการเป็นของตนหรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต

๒. การใชอ้ ำนาจในตำแหนง่ โดยมิชอบ

๓. การบอกว่าจะใหท้ รัพย์สนิ หรอื ประโยชนแ์ กเ่ จ้าพนักงาน เม่ือทำการเอ้ือประโยชนแ์ กต่ น

สาเหตุสำคัญทีเ่ ป็นตัวผลกั ดันทำใหเ้ กดิ การทุจรติ คอรร์ ปั ช่ัน

๑. ขาดธรรม ขาดความซือ่ สตั ยต์ ่อตำแหน่งหนา้ ท่กี ารงานของตน

๒. ขาดอุดมการณ์หรืออุดมคติ คอื ไม่มีเปา้ หมายท่ชี ัดเจนในการดำเนนิ ชีวิต

๓. ได้รับการถ่ายทอดค่านยิ มแบบผิด ๆ ในสังคม คือยกย่องคนมเี งินมากกว่าคนดี

๒๐

๔. ลุ่มหลงในอำนาจ ทำให้ใช้อำนาจไปในทางทผี่ ิด

๕. มรี ายไดไ้ มเ่ พยี งพอกบั รายจา่ ยจงึ ดิ้นรนทจ่ี ะหาทรพั ย์นัน้ มาแม้ว่าจะได้มาโดยวิธกี ารท่ีไมช่ อบดว้ ย
กฎหมายก็ตาม

พระพทุ ธศาสนาถอื ว่าบุคคลขาดหลักธรรมในการดำเนนิ ชีวิตทเ่ี รยี กวา่ “หลกั ฆราวาสธรรม ๔” คือ หลกั ธรรม
สำหรับผู้ครองเรือนมีอยู่ ๔ ประการคือ

๑. สัจจะ คือ ซ่ือสัตย์สจุ รติ ,ซอื่ ตรงและจริงใจต่อหนา้ ท่กี ารงานของตน

๒. ทมะ คอื การฝกึ ฝนอบรมตนเอง และขม่ ใจตนเองไม่ให้ไปยดึ ตดิ กบั อบายมขุ คือความโลภอยากได้ใน
สิง่ ทไ่ี ด้ใช่ของของตน, ความโกรธ, ความหลง เปน็ ตน้

๓. ขนั ติ คือความอดทน ในที่นี้หมายถึง อดทนต่อกิเลส ตอ่ สิง่ ยว่ั ยุ ต่อราคะท่จี ะเข้ามาครองงำจติ ใจของ
ตนไมใ่ ห้หลงไปกระทำความผิดนัน้ ๆ

๔. จาคะ คือการสละ ในทนี่ ี้รวมถงึ การสละกเิ ลส,สละอารมณ์ออกไปจากใจของตน ไมย่ ึดมั่นถอื มั่นตอ่
สงิ่ ต่าง ๆ ทเี่ ขา้ มายั่วยจุ ติ ใจของเรา

นอกจากหลักธรรมเรื่องของฆราวาสธรรมแล้ว ยังมีอกี ส่งิ หนึ่งทที่ ุกคนจะต้องมีนัน่ ก็เทวธรรม ธรรมท่ีเมอื่ ปฏิบัติ
จะทำใหเ้ ป็นเทวดา คือหริ ิ-โอตตปั ปะ

หริ ิ คือความละลายต่อบาป ละอายต่อการทำความชั่ว

โอตตัปปะ คอื ความเกรงกลัวต่อบาปหรือการทำความชั่ว

หลักธรรมข้อน้เี ปน็ หลกั ธรรมท่เี ตือนสติใหเ้ รายั้งคิด ไตรต่ รองกอ่ นท่ีจะกระทำการใด ๆ และผลของ
การกระทำน้ัน ๆ วา่ เปน็ ผลดีหรือไมด่ ีตอ่ ตนเองและคนอน่ื เพอ่ื ใหเ้ กิดความละอายใจต่อการทำความชวั่ ตอ่
การประพฤติทจุ ริตทัง้ หลาย และเกรงกลัวต่อความชว่ั ต่อผลของความทุจรติ ที่เกิดขึน้ จากการกระทำของตนเอง

แตส่ ังคมทุกวันนี้บคุ คล เริ่มทีจ่ ะห่างไกลพระพทุ ธศาสนา และไม่ให้ความสำคัญต่อคำสอนของ
พระพุทธศาสนา ไมเ่ ชื่อเรอ่ื งกฎแห่งกรรม ขาดหริ ิ โอตตัปปะ ทำใหเ้ กิดการทจุ ริตคอร์รัปชั่นไปในวง
กว้าง เพราะคดิ ว่าการทจุ รติ คอร์รปั ช่ันนั้น เป็นเร่ืองปกติท่ีใคร ๆ เขาก็ทำกัน

สิ่งเหล่าน้ถี อื วา่ เปน็ คา่ นิยมทีผ่ ดิ ทเ่ี ราต้องหนั มาให้ความสำคญั เพราะถือวา่ เป็นปัญหาใหญ่
ระดับประเทศ ถา้ บ้านเมืองใดขาดคุณธรรม คนในประเทศขาดหลกั ฆราวาสธรรมและขาดหริ ิโอตตัปปะแลว้
สงั คมนัน้ ประเทศชาติบ้านเมืองนน้ั ย่อมเปน็ การยาก ทีจ่ ะอยรู่ ่วมกนั อย่างสงบสุขได้

๒๑

สังคมวุ่นวายเพราะคนในสังคมขาดที่พึง่ ขาดหลักธรรมทีจ่ ะมายดึ เหนย่ี วจิตใจ ทำให้เกดิ ความสับสน
วนุ่ วาย ยากทจ่ี ะหาทางแก้ไขได้ คิดวา่ ส่งิ ท่ีตนทำน้นั ไมผ่ ดิ เกดิ การปลกุ ฝังนสิ ัยความเหน็ แกต่ ัว โลภอยากได้ไม่
มที ่สี น้ิ สุด จึงเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกดิ การคอรร์ ัปชั่น บ้านเมืองเกิดความระสำ่ ระสาย เกิดการแก่งแย่งชงิ ดี
ชงิ เดน่ กนั ยากทีจ่ ะหาความสงบสุขได้

อย่ามวั แตห่ าคนผิดมาลงโทษเพราะเปน็ แกป้ ญั หาที่ปลายทาง สิ่งท่ีสำคัญที่สดุ คือ เราต้องเข้าใจปัญหาท่ี
เกดิ ข้ึนว่าเกิดจากอะไร เพื่อที่จะช่วยกันแก้ไขปัญหาเหลา่ น้ันให้ตรงจดุ ไมใ่ ชม่ ัวแตโ่ ทษคนน้ันคนนี้ โทษกันไป
โทษกนั มาแล้วเมื่อไหร่ละประเทศชาตจิ ะสงบสุขเสยี ที คนไทยทะเลาะกันเอง มันกน็ ่าอายและขาดเครดติ ทด่ี ี
ในสายตาชาวต่างประเทศ มิใช่หรอื ?

หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ถงึ แมจ้ ะรู้ แต่ถ้าไม่ร้จู ักนำมาปรับใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนม์ ันก็ยากทจ่ี ะทำ
ใหค้ นในสงั คมสอื่ สารกนั ใหเ้ ข้าใจได้ คนไทยถือวา่ โชคดีท่มี ีพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งยึดเหน่ยี วจติ ใจ

ดังน้นั อยา่ ปลอ่ ยให้พระพุทธศาสนา เปน็ เพยี งศาสนาทเี่ รานบั ถือตาม ๆ กนั มา เพราะคำสอนของพระ
สัมมาสัมพุทธเจา้ เปน็ หลกั ธรรมท่จี ะทำให้เราสามารถใชช้ วี ติ อยู่ร่วมกัน อยา่ งสงบสุขได้ โดยไมต่ ้องอาศัย
ตำแหน่งหรอื อำนาจหนา้ ที่ใด แค่รจู้ ักคำวา่ “พอ” แค่นท้ี ุกคนกจ็ ะอย่รู ว่ มกันอยา่ งสงบสขุ ได้ ประเทศชาติก็จะ
ร่มเยน็ เพราะอาศยั หลักธรรมคำสอน ของพระพทุ ธศาสนาเป็นเครอื่ งยึดเหน่ียวจติ ใจ

การปลกู ฝังเดก็ ๆ ใหม้ ีความเข้าใจ ในหลักธรรมคำสอนของพระพทุ ธศาสนา กเ็ ป็นอีกหนึ่งหนทางทจี่ ะ
ช่วยทำให้ประเทศชาติของเรา ลดปัญหาการคอร์รปั ชั่นได้มาก เพราะเด็กในวันน้คี อื ผใู้ หญใ่ นวนั ข้างหน้า ถา้ เขา
ได้ถูกปลกุ ฝงั ในส่งิ ท่ีดี ๆ เชื่อวา่ ในอนาคตขา้ งหน้าเดก็ เหลา่ น้ีจะกลายกำลงั สำคญั ทจ่ี ะขบั เคลื่อนประเทศชาติ
ใหเ้ จรญิ รุ่งเรืองปราศจากการคอร์รัปชั่นได้ในที่สดุ

หลกั มัชฌิมาปฏิปทา(การปฏิบัติตนในทางสายกลาง)
มัชฌิมาปฏิปทาในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลาง คอื การไม่ยดึ ถือสุดทางท้ัง ๒ ได้แก่ อัตตกิลมถา

นุโยค คือ การประกอบตนเองใหล้ ำบากเกนิ ไป และ กามสุขัลลกิ านุโยค คือ การพวั พนั ในกามในความสบาย
เปน็ หลักคำสอนที่ปรากฏในพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพทุ ธเจา้ ท่ีทรงแสดงแกป่ ัญจวัคคยี ์ คอื ธัมมจัก
กัปปวัตตนสตู ร

นอกจากคุณคา่ ขน้ั สงู สดุ ของหลักมัชฌิมาปฏปิ ทาท่เี ปน็ ไปเพอื่ การพ้นทุกข์แลว้ คณุ คา่ ในเบอ้ื งต้นยงั เป็นไป
เพือ่ การรจู้ กั การดำเนินชวี ิตใหเ้ กดิ ความพอดีเปน็ แนวทางของการแก้ทุกข์ทีเ่ รยี กวา่ “อริยมรรคมีองค์ ๘” โดย
มุ่งเนน้ ให้มีความสขุ กายและสุขใจไปดว้ ย ดงั นี้
๑ .สมั มาทฏิ ฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึง การปฏิบัตอิ ย่างเหมาะสมตามความเป็นจรงิ ดว้ ยปัญญา
๒ .สมั มาสังกัปปะ คือ ดำรชิ อบหมายถึง การใช้สมองความคดิ พจิ ารณาแต่ในทางกศุ ลหรือความดงี าม
๓ .สมั มาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถึง การพดู ต้องสุภาพ แตใ่ นส่งิ ท่สี รา้ งสรรค์ดีงาม
๔ .สมั มากมั มนั ตะ คือ การประพฤตดิ ีงาม ทางกายหรือกิจกรรมทางกายทงั้ ปวง
๕ .สมั มาอาชีวะ คือ การทำมาหากินอยา่ งสจุ รติ ชน ไม่คดโกง เอาเปรยี บคนอนื่ ๆ มากเกินไป

๒๒

๖ .สมั มาวายามะ คือ ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพยี รในการกุศลกรรม
๗ .สมั มาสติ คอื การไมป่ ล่อยให้เกิดความพล้งั เผลอ จิตเลื่อนลอย ดำรงอย่ดู ว้ ยความรู้ตัวอยเู่ ป็นปกติ
๘ .สมั มาสมาธิ คือ การฝกึ จิตใหต้ ั้งมั่น สงบ สงัด จากกิเลส นิวรณอ์ ยู่เปน็ ปกติ

อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ (ตนเป็นที่พงึ่ แห่งตน)

หลกั อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ เป็นคำสอนใหบ้ คุ คลพง่ึ ตนเอง ซง่ึ แนวทางของระบบเศรษฐกิจพอเพยี งก็ได้
มงุ่ เนน้ ให้พึ่งตนเองในการทำมาหาเลยี้ งชพี ในการสรา้ งฐานะและการเก็บรักษาทรัพยท์ ห่ี ามาได้เพือ่ จบั จ่ายใช้
สอยในยามจำเป็นนอกจากเป็นท่พี ง่ึ แห่งตนแลว้ จะต้องเป็นท่พี ่งึ ของบุคคลอ่นื ดว้ ยนอกจากในระดับบคุ คลแลว้
ยังมุ่งเนน้ ใหก้ ารพฒั นาประเทศชาติใหพ้ ่ึงตนเองในลกั ษณะ “เศรษฐกิจพอเพียง” นั่นคือการพัฒนาท่ีไม่องิ
เศรษฐกจิ โลกจนเกินไป

หลักสนั โดษ

หลกั สนั โดษน้ีมงุ่ ใหบ้ ุคคลพึงพอใจในสง่ิ ของหรือทรัพยส์ ินที่ตนเองไดม้ าและใช้ จ่ายใน สง่ิ ทีก่ ่อใหเ้ กิดประโยชน์
ใหบ้ ุคคลรู้จักประมาณ ไดแ้ ก่ การประหยัดและร้จู ักออม ไม่ฟุ่มเฟอื ยฟุง้ เฟอ้ มคี วามเปน็ อยู่อย่างสงบเรียบงา่ ย
และโปรง่ ใส ไม่ทะเยอทะยานต่อสแู้ ละเบียดเบยี นบคุ คลอ่ืน ไม่เอารัดเอาเปรียบกนั อยู่รว่ มกนั ได้อย่างสันตสิ ุข
ในคัมภีร์ มังคลทีปนี ได้ให้ความหมายของคำว่า สันโดษ ไว้ ๓ นยั คอื ยินดีสิ่งทเี่ ปน็ ของตน, ยนิ ดีในส่ิงทมี่ อี ยู่
และ ยินดีดว้ ยใจที่เสมอ (ดว้ ยใจทม่ี ่นั คง)

หลกั สปั ปรุ ิสธรรม ๗

หลักสัปปรุ ิสธรรม ๗ คือ ธรรมของสตั บุรุษ ธรรมที่ทำใหเ้ ป็นสตั บุรุษ หรอื คุณสมบตั ิของคนดี น่นั เอง
ประกอบด้วย
๑. ธัมมญั ญตุ า – ความร้จู กั เหตุ คอื รหู้ ลักความจรงิ รหู้ ลกั การ รหู้ ลกั เกณฑ์ รกู้ ฎแหง่ ธรรมดา รูก้ ฎเกณฑ์แหง่
เหตผุ ล และรู้หลักการท่จี ะทำใหเ้ กิดผล
๒.อัตถัญญตุ า – ความรจู้ ักอรรถ รคู้ วามมงุ่ หมาย หรือ รู้จักผล คือ รคู้ วามหมาย รู้ความมงุ่ หมาย รูป้ ระโยชนท์ ่ี
ประสงค์
๓.อัตตญั ญตุ า – ความรจู้ ักตน คือ รู้ว่า เรานน้ั วา่ โดยฐานะ ภาวะ เพศ กำลัง ความรู้ ความสามารถ ความถนัด
และคณุ ธรรม เป็นตน้ บดั น้ี เทา่ ไร อย่างไร แล้วประพฤติให้เหมาะสมและรู้ทจ่ี ะแก้ไขปรับปรุงต่อไป
๔.มตั ตัญญตุ า – ความร้จู กั ประมาณ คอื ความพอดี เช่น ภกิ ษรุ จู้ กั ประมาณในการรับและบริโภคปัจจยั สี่
คฤหัสถ์รู้จักประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ เป็นตน้
๕.กาลญั ญตุ า – ความรูจ้ กั กาล คอื รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาทคี่ วรหรอื จะตอ้ งใช้ในการประกอบ
กิจ ทำหนา้ ท่ีการงาน เชน่ ให้ตรงเวลา ใหเ้ ปน็ เวลา ให้ทันเวลา ใหพ้ อเวลา เปน็ ต้น
๖.ปริสัญญตุ า – ความรูจ้ กั บรษิ ัท คือรูจ้ กั ชุมชน และร้จู ักท่ีประชุม รูก้ รยิ าท่จี ะประพฤติตอ่
ชุมชนนั้นๆ ว่าชุมชนนเ้ี ม่ือเข้าไปหา จะตอ้ งทำกรยิ าอยา่ งนี้ จะตอ้ งพดู อยา่ งนี้ ชุมชนนี้ควรสงเคราะห์อย่างนี้
เปน็ ตน้
๗.ปคุ คลญั ญตุ า หรอื ปคุ คลปโรปรญั ญุตา – ความรู้จกั บุคคล คอื ความแตกต่างแห่งบุคคลว่าโดยอัธยาศยั
ความสามารถและคุณธรรม เปน็ ตน้ ใครๆ ยง่ิ หรือหย่อนอย่างไร และรู้
ที่จะปฏบิ ัติต่อบคุ คลนนั้ ๆ ด้วยดี เปน็ ต้น

๒๓

ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ
เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั สิ ำคัญทีท่ ำให้เกิดผล คือ ความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ ทำให้มีทรัพยส์ นิ เงนิ ทอง พ่งึ ตนเองได้

เรยี กวา่ ธรรมที่เป็นไปเพ่ือประโยชน์ปัจจบุ ัน บางทีเรยี กวา่ “หวั ใจเศรษฐี” โดยมคี ำย่อคือ “อุ““อา““กะ““สะ
“ ดังนี้คอื
๑.อฏุ ฐานะสมั ปทา (อุ) หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความขยนั หมน่ั เพียร รู้จกั ใช้ปญั ญาไตร่ตรองพจิ ารณาหา
วิธกี ารทีแ่ ยบคายในการทำงาน มีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ รูจ้ ักคิด รจู้ ักทำ ร้จู ักดำเนินการดา้ นเศรษฐกจิ ทำการ
งานประกอบอาชีพให้ไดผ้ ลดี
๒.อารกั ขสมั ปทา (อา) หมายถึง การถงึ พร้อมดว้ ยการรกั ษา สามารถปกป้องค้มุ ครองรักษาทรัพยส์ ินท่ีหามาได้
ไม่ให้สญู หายพนิ าศไปดว้ ยภยั ต่างๆ
๓.กลั ยาณมิตตตา (กะ) หมายถงึ การรู้จักคบคนดีหรือมีกัลยาณมติ ร ซ่งึ จะเป็นองคป์ ระกอบสำคัญ ที่ชว่ ยให้
เจรญิ ก้าวหนา้ ในวงการอาชพี นัน้ ๆ ทำให้รู้เหน็ ชอ่ งทางและโอกาสต่างๆ ในการงาน ทันต่อเหตกุ ารณ์ ตลอดจน
รู้จักปฏบิ ัติตอ่ ทรัพย์ของตนอยา่ งถกู ต้อง ไมถ่ ูกมิตรช่ัวชกั จงู ไปในทางอบายมขุ ซึ่งจะทำใหท้ รพั ย์สินไมเ่ พ่ิมพนู
หรอื มแี ตจ่ ะหดหายไป
๔.สมชวี ติ า (สะ) หมายถึง ความเป็นอยพู่ อดี หรือความเป็นอยูส่ มดุล คือเลี้ยงชีพแต่พอดี ไมใ่ ห้ฟมุ่ เฟือย ไม่ให้
ฝดื เคอื ง ใหร้ ายไดเ้ หนือรายจ่าย มเี หลอื เก็บไวใ้ ชใ้ นคราวจำเปน็

โภคาวิภาค ๔
เป็นวธิ ีการจดั สรรทรัพยใ์ นการใชจ้ ่าย โดยจดั สรรทรพั ย์ออกเปน็ ๔ ส่วน ดงั น้คี อื
๑. แบง่ ๑ ส่วน เพอ่ื ใช้บริโภคเลีย้ งตนเองใหเ้ ป็นสุข เลย้ี งดูครอบครัว และคนท่ีอยใู่ นความรบั ผิดชอบใหเ้ ปน็
สขุ และใช้ทำความดี บำเพ็ญประโยชน์แตส่ าธารณะ เป็นต้น
๒. แบ่ง ๒ ส่วน เพือ่ จัดสรรไว้สำหรบั ลงทนุ ประกอบกิจการงานตา่ งๆ
๓. แบง่ ๑ ส่วน เพอ่ื เก็บไวใ้ ชใ้ นยามจำเปน็ เช่น เมือ่ เกิดอบุ ัตเิ หตุ เมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย เป็นตน้

โภคอาทยิ ะ ๕
คอื เม่ือมที รัพยส์ นิ ควรนำมาใชป้ ระโยชน์ตอ่ การดำเนินชีวิต ประกอบดว้ ย
๑.ใช้จ่ายทรัพยน์ น้ั เลี้ยงตนเอง เลีย้ งดคู รอบครัว มารดาบิดา ให้เปน็ สขุ
๒.ใชท้ รัพย์นน้ั บำรงุ เล้ียงมิตรสหาย ผ้รู ว่ มกิจการงานใหเ้ ป็นสุข
๓.ใชป้ อ้ งกันภยนั ตรายต่าง ๆ
๔.ทำพลี คอื การสละบำรุงสงเคราะห์ ๕ อยา่ ง ไดแ้ ก่ อติถพิ ลี (ใชต้ ้อนรับแขก),
ญาตพิ ลี (ใชส้ งเคราะหญ์ าติ), ราชพลี (ใชบ้ ำรงุ ราชการดว้ ยการเสียภาษีอากร), เทวตาพลี (บำรงุ เทวดา), ปพุ พ
เปตพลี (ทำบุญอุทศิ ให้แก่บุพการ)ี
๕. ใช้เพอ่ื บำรุงสมณพราหมณ์

กามโภคีสุข ๔ (สุขของคฤหสั ถ์ ๔)
คือ คนครองเรือนควรจะมคี วามสุข ๔ ประการ ซ่ึงคนครองเรือนควรจะพยายามให้เขา้ ถงึ ให้ได้ คือ

๑.อตั ถสิ ุข - สขุ เกดิ จากการมีทรัพย์ เปน็ หลักประกนั ของชีวติ โดยเฉพาะความอุ่นใจ ปลาบปลม้ื ภูมิใจว่าเรามี
ทรพั ยท์ หี่ ามาได้ด้วยกำลงั ของตนเอง

๒๔

๒.โภคสขุ -สุขเกดิ จากการบริโภคทรพั ย์ หรือใชจ้ า่ ยทรัพย์ คอื รู้จกั ใช้จา่ ยทรัพยน์ น้ั ให้เกิดประโยชนแ์ กช่ ีวิตของ
ตน เลย้ี งดูบคุ คลอ่นื และทำประโยชนส์ ขุ ต่อผู้อ่นื และสังคม เป็นตน้
๓.อนณสขุ – สุขเกิดจากความไมเ่ ปน็ หน้ี ไม่ต้องทุกข์ใจ เป็นกังวลใจเพราะมีหนีส้ นิ ตดิ ค้างใคร
๔.อนวัชชสขุ -สุขเกดิ จากความประพฤติท่ีไม่มโี ทษ คือ มกี ายกรรม วจกี รรม มโนกรรมทส่ี ุจริต ที่ใครจะวา่
กลา่ วตเิ ตยี นไม่ได้ มีความบริสุทธิ์ และมคี วามมั่นใจในการดำเนินชีวติ ของตน

๒๕

๒๖

๒๗

๒๘

๒๙

เอกสารอา้ งองิ

กลุ่มงานอำนวยการและกำกับ ศปท. กองอำนวยการต่อต้านการทุจริต สำนักงานคณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.). คู่มือแนวทางการประเมินความเสี่ยงการทุจริต
(CORRUPTION RISK ASSESSMENT) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕, ๒๕๖๔.

https://www.winnews.tv/news/๑๘๓๖๒

๓๐

คณะผ้จู ดั ทำ

ท่ีปรกึ ษา

นายแพทยโ์ อภาส การยก์ วินพงศ์
อธบิ ดีกรมควบคมุ โรค

นายแพทย์ขจรศักดิ์ แกว้ จรัส นายแพทยป์ รชี า เปรมปรี
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค รองอธิบดกี รมควบคุมโรค

นายแพทยโ์ สภณ เอย่ี มศิริถาวร นายแพทย์อภชิ าต วชริ พันธ์
รองอธบิ ดกี รมควบคุมโรค รองอธบิ ดีกรมควบคมุ โรค

๓๑

ผจู้ ดั ทำ ตำแหน่งนกั วชิ ำกำรสำธำรณสขุ ชำนำญกำรพเิ ศษ
นำยคำวฒุ ิ ฝำสนั เทยี ะ ตำแหนง่ นกั วเิ ครำะหน์ โยบำยและแผนปฏิบตั กิ ำร
นำงสำวชไมกำนต์ ดวงแกว้ ตำแหน่งนกั จดั กำรงำนท่วั ไปปฏบิ ตั ิกำร
นำงสำวปิยะนชุ ถนั พลกรงั ตำแหนง่ นกั จดั กำรงำนท่วั ไป
นำงสำวลดำวรรณ มหำโชติ ตำแหน่งนกั วเิ ครำะหน์ โยบำยและแผน
นำงสำวสิรโิ สภำวรรณ รตั นสรู ย์ ตำแหนง่ นกั วเิ ครำะหน์ โยบำยและแผน
นำงสำวภทั รช์ ลิต จนั ทิมำ ตำแหน่งนกั วเิ ครำะหน์ โยบำยและแผน
นำยฤทธชิ ยั ดีนำน

กลมุ่ งำนจรยิ ธรรม กรมควบคมุ โรค กระทรวงสำธำรณสขุ
ตวิ ำนนท์ เมอื ง นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐
โทร ๐ ๒๕๙๐ ๓๐๔๕
อีเมล์ : [email protected], ethics.ddc๓๐๔๕@gmail.com, ethics๓๐๔๕@gmail.com
Facebook : กลมุ่ งำนจรยิ ธรรม

32


Click to View FlipBook Version