แบบรายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตำแหน่ง ครู ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 นางสาวบุษยมาศ อันแสน ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาลวัดปากน้ำ กองการศึกษา เทศบาลนครระยอง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566 ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางบุษยมาศ นามสกุล อันแสน ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 3 อัตราเงินเดือน 49,710 บาท สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดปากน้ำ สังกัด กองการศึกษา เทศบาลนครระยอง ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้(สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็น ตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 19 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/รายวิชาหน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมชุมนุม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ - กิจกรรมแนะแนว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ - การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา - การออกแบบและจัดทำหน่วยการจัดการเรียนรู้ - การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ - การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ - การสร้างและพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้ PA 1/ส
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมนุมแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ - ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 - หัวหน้าฝ่ายบริหารงานงบประมาณ - หัวหน้างานวัดและประเมินผล - หัวหน้างานการเงินและบัญชี - ครูเวรประจำวัน - ครูตรวจเวรกลางวันและกลางคืน - ผู้นิเทศการสอนกิจกรรมชุมนุม - งานประกันคุณภาพการศึกษา - งานแผนพัฒนาการศึกษา - เลขานุการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - ครูรับผิดชอบโครงการ ต่าง ๆ ดังนี้ โครงการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โครงการพัฒนาผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตคิดสนุก โครงการวัดและประเมินผล โครงการจัดหาวัสดุครุภัณฑ์สำนักงาน โครงการปรับปรุง ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ โครางการเครื่องแบบนักเรียน โครงการอุปกรณ์การเรียน โครงการค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโรงเรียน โครงการนิเทศการจัดประสบการณ์/การจัดการเรียนรู้ - ผู้ดูแลระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของโรงเรียน (LEC) - ผู้ดูแลระบบการจัดการสอบ การทดสอบ (RT ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การทดสอบ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การทดสอบ (O-net) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ - กิจกรรมรักการอ่าน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 17 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมชุมนุม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา - การออกแบบและจัดทำหน่วยการจัดการเรียนรู้ - การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ - การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ - การสร้างและพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมนุมแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ - ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 - หัวหน้าฝ่ายบริหารงานงบประมาณ - หัวหน้างานวัดและประเมินผล - หัวหน้างานการเงินและบัญชี - ครูเวรประจำวัน - ครูตรวจเวรกลางวันและกลางคืน - งานประกันคุณภาพการศึกษา - งานแผนพัฒนาการศึกษา - เลขานุการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - ครูรับผิดชอบโครงการ ต่าง ๆ ดังนี้ โครงการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โครงการพัฒนาผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตคิดสนุก โครงการวัดและประเมินผล โครงการจัดหาวัสดุครุภัณฑ์สำนักงาน โครงการปรับปรุง ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ โครางการเครื่องแบบนักเรียน โครงการอุปกรณ์การเรียน โครงการค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโรงเรียน - ผู้ดูแลระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของโรงเรียน (LEC) - ผู้ดูแลระบบการจัดการสอบ การทดสอบ (O-net) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การทดสอบ (RT ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การทดสอบ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ - กิจกรรมรักการอ่าน
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรการออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร - วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ตามหลักสูตร นำไปจัดทำ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชาและจัดทำหน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผลลัพธ์ (Outcomes) 1.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์รายวิชาคณิตศาสตร์ตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมายของสถานศึกษา กำหนด ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 73 มีผลสมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 ขึ้นไป ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร แล้วนำมาวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 87.76 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 ขึ้นไป ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนดไว้ **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -หลักสูตรกล่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - แผนภูมิสรุปผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 -แบบทดสอบวัดผลตามตัวชี้วัด แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ - ออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning)เพื่อส่งเสริม ความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โดยมุ่งให้ผู้เรียน พัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ ที่สำคัญ ตามมาตรฐานกำหนด ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตรงตามมาตรฐานกำหนด 3. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 73 มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตรงตามมาตรฐานกำหนด 3. ผู้เรียนร้อยละ85 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบเชิงรุก(Active learning) ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการออกแบบการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบเชิงรุก(Active learning) พบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 87.76 มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2. ผู้เรียนร้อยละ 88.25 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตรงตามมาตรฐานกำหนด 3. ผู้เรียนร้อยละ 90.20 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบเชิงรุก(Active learning) อยู่ในระดับมาก **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) ภาพกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) แผนภูมิคุณลักษณะอันพึงประสงค์
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลลัพธ์ (Outcomes) 1.ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) 2.ผู้เรียนมีนิสัยใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตัวชี้วัด (Indicators) 1.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเชิงรุก (Active learning) 2.ผู้เรียนร้อยละ 85 มีนิสัยใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้เป็นอย่างดี ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเชิงรุก(Active learning) พบว่า 1.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเชิงรุก (Active learning) 2.ผู้เรียนร้อยละ 88.40 มีนิสัยใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงานและสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย แผนการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) ภาพกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล (การใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงานและสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่น)
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ - พัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) จัดทำสื่อเทคโนโลยีและนำสื่อมาพัฒนาผู้เรียน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนได้รับความรู้จากการจัดกิจกรรมการเรีนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) 2.ผู้เรียนได้รับความรู้จากการใช้สื่อที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 73 ได้รับความรู้จากการจัดกิจกรรมการเรีนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) อยู่ในระดับ ดี 2.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับความรู้จากการใช้สื่อที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ ในระดับ ดี ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้เพื่อใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 87.76 ได้รับความรู้จากการจัดกิจกรรมการเรีนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) อยู่ในระดับ ดี 2.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับความรู้จากการใช้สื่อที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ ดี **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -สื่อทำมือ -สื่อเทคโนโลยี -แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ - ใช้รูปแบบการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย มุ่งเน้นการประเมินผลโดย ประเมินจากชิ้นงานหรือแบบฝึกหัด การสังเกตพฤติกรรม แบบทดสอบ โดย การวัดความรู้เข้าใจ(K) วัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) และ วัดความสามารถด้านทักษะ/สมรรถนะ (S/P) มีการสะท้อนผลผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการพัฒนา ผลลัพธ์ (Outcomes) 1.ผู้เรียนได้รับการวัดและประเมินผลโดยใช้เครื่องมือและแบบประเมินตามตัวชี้วัดที่มี ประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบ ตัวชี้วัด (Indicators) 1.ผู้เรียนร้อยละ 73 มีความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นไปตามระเบียบได้รับการวัด และประเมินผลของรายวิชาและสถานศึกษา ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีที่หลากหลายทำให้ผุ้เรียน 87.76 มีความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นไปตามระเบียบได้รับการวัดและประเมินผลของรายวิชาและ สถานศึกษา **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย - แบบประเมินตามตัวชี้วัด -แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -แบบสังเกตพฤติกรกรม - ชิ้นงาน
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ - นำผลการจัดการเรียนรู้มาศึกษาวิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้น จากการจัดการ เรียนรู้ และแก้ปัญหาผู้เรียน ที่มีผลการเรียนรู้ ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีการบันทึก รายละเอียด ไว้หลังแผนการจัดการเรียนรู้ -วิเคราะห์ ผู้เรียน เป็นราย บุคคล -วางแผน พัฒนา ผู้เรียน ตาม ศักยภาพ และความ แตกต่าง ระหว่าง บุคคล ผลลัพธ์ (Outcomes) . ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการคิดคำนวณการแก้ปัญหาผ่านกิจกรรมคณิตคิดสนุก และการสอนเสริมอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 73 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 ขึ้นไป ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนร้อยละ 87.76 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 ขึ้นไป **บรรลุตามตตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -แผนการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) -แบบฝึกทักษะคณิตคิดเลขเร็วชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 -สรุปโครงการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ -สรุปโครงการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตคิดสนุก - แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน - วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถใน การแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -โครงงาน เรื่อง เรื่อง เรขาคณิต 3 มิติ
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน - การจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกให้สอดคล้องกับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนรู้ กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนตลอดจนให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ ในชั้นเรียนเชิงบวก 2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อบรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวก ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 90 มี ส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ ในชั้นเรียน 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความพึงต่อบรรยากาศ ในชั้นเรียนเชิงบวกอยู่ในระดับดี ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 95.00 มี ส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ ในชั้นเรียน 2. ผู้เรียนร้อยละ 90.0 มีความพึงต่อบรรยากาศ ในชั้นเรียนเชิงบวกอยู่ในระดับดี **บรรลุตามตัวที่วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย ภาพบรรยากาศในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ บรรยากาศการเรียนรู้ของนักเรียน
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน -อบรมส่งเสริม ผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ สอดแทรกค่านิยมความเป็นไทย สอดคล้องกับหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษา ผลลัพธ์ (Outcomes) 1.ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยม ความเป็นไทย สอดคล้องกับหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษา ตัวชี้วัด (Indicators) 1.ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยม ความเป็นไทย สอดคล้องกับหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษา อยู่ในระดับดี ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียนอยู่เสมอ พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 86.79 มีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยม ความเป็นไทย สอดคล้องกับหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษา อยู่ในระดับดี **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -แผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม - แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ (ปถ.05 รายวิชา คณิตศาสตร์) -แบบบันทึกโฮมรูม -แบบบันทึกระเบียบวินัย -แบบบันทึกความดี - ภาพประกอบ ได้แก่ นักเรียนเข้าวัดฟังธรรมในวันธรรมสาวณะ นักเรียนร่วมกิจกรรม ทางศาสนา นักเรียนเรียนธรรมะ
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการจัดข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา การดำเนินการตามระบบดุแล ช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงาน วิชาการ และงานอื่นๆของสถานศึกษา และการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองภาคี เครือข่าย และหรือสถานประกอบการ งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 2.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา - จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนที่รับผิดชอบการจัดการเรียนรู้สาระวิชาคณิตศาสตร์และ หน้าที่พลเมือง ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนมีหล่งข้อมูล สารสนเทศ สามารถ นำไปใช้ ได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 100ได้รับประโยชน์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศ สามารถนำไปใช้ได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประโยชน์ จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศ สามารถนำไปใช้ได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว อยู่ในระดับดีมาก **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -ระบบข้อมูลสารสนเทศโรงเรียน (LEC) - แบบรายงานพัฒนาผู้เรียนรายบุคคลรายภาคเรียนและรายปีการศึกษา
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 2.2 การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน - จัดทำข้อมูลการดำเนินงานระบบงานดูแลช่วยเหลือผู้เรียนด้านการเรียน ด้านความประพฤติ และด้านอื่นๆ ตามที่สถานศึกษามอบหมาย โดยดำเนินการเผยแพร่เป็นแบบอย่างให้ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนมีข้อมูล พื้นฐานเป็นรายบุคคล ที่ถูกต้องครอบคลุม เป็นระบบและพร้อม นำไปใช้ 2. ผู้เรียนได้รับการ ช่วยเหลือตามระบบ การดูแลและช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีถูกต้อง และ เหมาะสม ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีข้อมูลพื้นฐานเป็นรายบุคคลที่ถูกต้องครอบคลุม เป็นระบบและพร้อม นำไปใช้ 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับการช่วยเหลือตามระบบการดูแลและช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีถูกต้อง และเหมาะสม ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลืออบย่างเป็นระบบ พบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีข้อมูลพื้นฐานเป็นรายบุคคลที่ถูกต้องครอบคลุม เป็นระบบและพร้อม นำไปใช้ 2. ผู้เรียนร้อยละ 90.00 ได้รับการช่วยเหลือตามระบบการดูแลและช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ถูกต้องและเหมาะสม **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -แบบบันทึกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล(ดูแล 1) -แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน -แบบบันทึกการออมเงินของนักเรียน -แบบบันทึกการให้ทุนการศึกษา -แบบบันทึกการติดตามนักเรียนขาดเรียน
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 2.3 การปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา - ปฏิบัติหน้าที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการกับเพื่อนครู เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนได้เรียนรู้ในโครงการ/กิจกรรม ที่โรงเรียนดำเนินการตลอดปีการศึกษา ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ในโครงการ/กิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการตลอด ปีการศึกษา 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในโครงการกิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการตลอดปีการศึกษา ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาพบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้เรียนรู้ในโครงการ/กิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการตลอด ปีการศึกษา อยู่ในระดับ ดี 2. ผู้เรียนร้อยละ 85.25 มีความพึงพอใจในโครงการกิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการตลอดปี การศึกษา **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย สรุปโครงการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สรุปโครงการพัฒนาผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตคิดสนุก สรุปโครงการวัดและประเมินผล สรุปโครงการจัดหาวัสดุครุภัณฑ์สำนักงาน สรุปโครงการปรับปรุง ซ่อมแซมและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ สรุปโครางการเครื่องแบบนักเรียน สรุปโครงการอุปกรณ์การเรียน สรุปโครงการค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโรงเรียน -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพกับเพื่อนครู (PLC) -จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา - จัดทำประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนเทศบาลวัดปากน้ า สังกัดกองการศึกษา เทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2566 2570) เพิ่มเติม บับที่ 2 พ.ศ. 2566 ของ ( ) 5 โรงเรียนเทศบาลวัดปากน้ า สังกัดกองการศึกษา เทศบาลนครระยอง กรมส่งเสริมปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาด ทย 2565
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 2.4 การประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ - ประสานความร่วมมือกับนักเรียนผู้ปกครอง ประชาสัมพันธ์กลุ่มไลน์นักเรียน กลุ่มไลน์ ผู้ปกครอง ติดตามการเรียนการสอนแบบเชิงรุก รวมทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่กรณีเร่งด่วนเพื่อความ รวดเร็ว ทันเวลาและเป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริมจากผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและ หน่วยงานอื่น ที่ เกี่ยวข้องมีข้อมูลใน ระบบสารสนเทศ เป็นระบบและ ต่อเนื่อง ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริมจากผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและ หน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องมีข้อมูลใน ระบบสารสนเทศเป็นระบบและ ต่อเนื่อง ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 85.30 ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริมจากผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและ หน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องมีข้อมูลใน ระบบสารสนเทศเป็นระบบและ ต่อเนื่อง **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน -กิจกรรม การประชุมผู้ปกครอง การประชาสัมพันธ์ทางกลุ่มไลน์ การให้ความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมา ใช้ในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 3.1 การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง - เข้าร่วมการประชุม/อบรม/สัมมนา ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภาระหน้าที่ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ แบบเชิงรุกและรายงานผลการประชุม/อบรม/สัมมนา อย่างเป็นระบบ ไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง/ปีการศึกษา และเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการประชุม/อบรม/สัมมนา ไปยังผู้ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ครู ได้รับการพัฒนา อย่างเป็น ระบบและมี การเผยแพร่ความรู้ไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากกิจกรรม ที่เหมาะสมกับความ แตกต่างระหว่าง บุคคลและได้พัฒนา ทักษะอย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ครูเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนาไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 ได้เรียนรู้จากกิจกรรม ที่เหมาะสมกับความ แตกต่างระหว่าง บุคคลและได้ พัฒนาทักษะอย่างเป็นระบบ ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรีนและองค์กร พบว่า 1. ครูเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนาไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา 2. ผู้เรียนร้อยละ 90.25 ได้เรียนรู้จากกิจกรรม ที่เหมาะสมกับความ แตกต่างระหว่าง บุคคลและ ได้พัฒนาทักษะอย่างเป็นระบบ **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -แบบรายงานการอบรมสัมมนา และการขยายผลการอบรมไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 3.2 การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ - เข้าร่วมกิจกรรมนิเทศการสอนในบทบาทของผู้รับการนิเทศและผู้นิเทศรวมกัน ไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง/ภาคเรียน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนมีความ พึงพอใจในการได้รับบรรยากาศและประสบการณ์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม นิเทศการสอน ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนมีความ พึงพอใจในการได้รับบรรยากาศและประสบการณ์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม นิเทศการสอน อยู่ในระดับดี ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้พบว่า ผู้เรียนมีความ พึงพอใจในการได้รับบรรยากาศและประสบการณ์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมนิเทศ การสอน อยู่ในระดับดี **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย - แบบบันทึกการนิเทศการจัดการเรียนรู้ - แบบบันทึกกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)
งาน (Tasks) ที่ จะดำเนินการ พัฒนา ตาม ข้อตกลง 3.3 การนำความรู้ความสามารถ ทักษะที่ ด้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ - จัดทำนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้แบบ Active Learning และเผยแพร่ตัวอย่างผลงานที่ได้จาก การพัฒนาให้ครูในโรงเรียนได้นำไปเป็นแนวทาง ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์รายวิชาคณิตศาสตร์ตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมายของสถานศึกษา กำหนด 2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการได้รับการจัดการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมที่ครูสร้างขึ้น ตัวชี้วัด (Indicators) 1. ผู้เรียนร้อยละ 73 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 ขึ้นไป 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการได้รับการจัดการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมที่ครูสร้าง ขึ้น อยู่ในระดับมาก ผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด จากการนำความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้พบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 87.76 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 2.5 ขึ้นไป 2. ผู้เรียนร้อยละ 80.85 มีความพึงพอใจในการได้รับการจัดการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมที่ครู สร้างขึ้น อยู่ในระดับมาก **บรรลุตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ หลักฐาน ร่องรอย -แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก( Active Learning ) -ภาพประกอบการเรียนรู้แบบ Active Learning -แบบประเมินความพึงพอใจ -ผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนเทศบาลวัดปากน้ำ พบว่า ผู้เรียนส่วน ใหญ่มีผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ต่ำ เนื่องจากผู้เรียนขาดทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง เป็นพื้นฐานสำหรับเนื้อหาอื่นๆ เกี่ยวกับการตีความ การใช้กฎ สูตรนิยาม และการคิดคำนวณ และผู้เรียนมีทัศนคติที่ ไม่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ซึ่งจากการได้สำรวจและวิเคราะห์เนื้อหาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ำ พบว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ร้อยละ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวนผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ป 5/9 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน 2 ขั้นตอน เป็นเนื้อหาที่นักเรียนขาดทักษะการ คำนวณ การตีความเพื่อแก้ปัญหา ซึ่งเป็นเนื้อหาที่เป็นปัญหาสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอย่างมาก นั่นคือถ้านักเรียนขาดทักษะการคิดคำนวณ และการตีความแล้ว ทำให้นักเรียนเกิดความสับสน ไม่สามารถแก้ปัญหา หรือหาคำตอบโจทย์ปัญหาร้อยละได้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนา เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างเข้าใจ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพ จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ ในด้านความสามารถจึงอยากพัฒนาทักษะในการแก้ปัญหาของนักเรียนใน เรื่อง ร้อยละ โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการพัฒนาตนเองได้ เต็มตามศักยภาพ และนำความรู้ไปบูรณาการใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566 1) ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) จัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชาและหน่วยการ เรียนรู้ 2) ออกแบบหน่วยการจัดการเรียนรู้และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ 3) สร้างและพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 4) นำเข้าปรึกษากลุ่ม PLC เพื่อปรับปรุง พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก ให้มีความเหมาะสม 5) นำไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น 6) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเชิงรุก(Active learning) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 7) รายงานผลการใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาและปรับปรุงต่อไป
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 ผู้เรียนที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเชิงรุก (Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.1.2 ผู้เรียนที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเชิงรุก (Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาความสามารถในการแก้ปัญหา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อใช้ในการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม หลักฐาน ร่องรอย รายงานประเด็ท้าทาย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผลลัพธ์ในการพัฒนาตามประเด็นท้าทาย(เชิงปริมาณ) สำเร็จตามวัตถุประสงค์ ไม่สำเร็จตามวัตถุประสงค์..................................................................................................... .............................................................................................................................................................. ผลลัพธ์ในการพัฒนาตามประเด็นท้าทาย(เชิงคุณภาพ) สำเร็จตามวัตถุประสงค์ ไม่สำเร็จตามวัตถุประสงค์....................................................................................................... ขอรับรองว่าเป็นความจริง (ลงชื่อ) ......................................................ผู้รับการประเมิน (นางบุษยมาศ อันแสน) ตำแหน่งครูวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ