The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปเล่มรายงาน Coding ปันสุขแบ่งปันความรู้ เพื่อก้าวสู่ยุคดิจิทัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by csds04, 2022-04-11 09:33:05

สรุปเล่มรายงาน Coding ปันสุขแบ่งปันความรู้ เพื่อก้าวสู่ยุคดิจิทัล

สรุปเล่มรายงาน Coding ปันสุขแบ่งปันความรู้ เพื่อก้าวสู่ยุคดิจิทัล

คำนำ

โรงเรยี นวดั จนิ ดาราม สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2 ได้รบั คัดเลือกเป็น
โรงเรียนคุณภาพนำร่อง ระดับภูมิภาค ภาคกลาง ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารที่ตอ้ งการลดความเหลื่อม
ลำ้ ด้านการศึกษา จงึ คัดเลือกโรงเรียนหลักของชมุ ชน ทีม่ ีการบรหิ ารจัดการงบประมาณ บุคลากร และสิ่งอำนวย
ความสะดวกทพ่ี ร้อมให้เปน็ ศูนย์กลางการเรียน เพ่ือให้ผู้ปกครอง ชุมชน เกดิ การยอมรบั ในการเปลย่ี นแปลง
ดงั กล่าว โดยโครงการโรงเรียนคุณภาพไดม้ นี โยบาย “สถานศกึ ษาปลอดภัย นักเรียนนักศกึ ษาไทยอบอนุ่ ” ซึ่งมี 8
จุดเน้น ดังน้ี 1.ความปลอดภยั 2.ระบบประกนั คุณภาพ 3.หลักสูตรฐานสมรรถนะ 4.การพฒั นาครู 5.การเรยี นการ
สอน 6.การวดั และประเมินผล 7.การนเิ ทศกำกับตดิ ตาม 8.Big data

ดังน้นั โรงเรยี นวัดจนิ ดาราม จึงไดด้ ำเนินการตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้
พนื้ ฐาน โดยในปีการศึกษา 2564 ไดด้ ำเนนิ การขับเคลื่อนใน 3 มิติ คือ 1.ความปลอดภยั 2.การพัฒนาครู
3.การเรียนการสอน เพ่ือให้ผบู้ รหิ าร ครผู ู้สอนและบคุ ลาการทางการศึกษาของโรงเรยี น พรอ้ มท้ังคณะกรรมการ
สถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ชุมชน ผ้ปู กครอง นักเรยี น ได้ดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม มีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล
ตามแนวทางดังกล่าว

โรงเรยี นวดั จนิ ดาราม

สารบญั หน้า

เรื่อง 1
คำนำ 3
สารบญั 7
บทสรุปแนวทางการพฒั นาโรงเรยี นคุณภาพ
ข้อมูลพนื้ ฐานโรงเรยี นวัดจนิ ดาราม
แบบคำขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 งบดำเนินงาน
เพอ่ื การยกระดบั คุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ

งบดำเนนิ งานเพ่ือการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๑

บทสรุปแนวทางการพัฒนาโรงเรียนคณุ ภาพ

ตามนโยบายการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของกระทรวงศึกษาธิการได้คัดเลือกโรงเรียนโดยพิจารณาจาก
ความพร้อมของแต่ละโรงเรยี น ทง้ั ในเรื่องของที่ตง้ั ที่อยู่ในบริเวณศูนย์กลางของชุมชน ความสะดวกในการคมนาคม การ
สื่อสาร มีพ้ืนทีเ่ พยี งพอตอ่ การจัดการเรยี นร้แู ละกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนสามารถรองรับจำนวนนักเรยี นท่ีอาจจะเพิ่มข้ึน
ในอนาคต โดยเร่งพัฒนาโรงเรยี นใหป้ ระสบผลสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนดไว้ ในการม่งุ เนน้ การพัฒนาโรงเรียนให้
มีคุณภาพ และได้มาตรฐานตามบริบทของตนเอง เพื่อสร้างโอกาสให้นักเรียนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ เกิด
ความเท่าเทียมและครอบคลุมทั่วประเทศ เป็นการลดความเหลื่อมล้ำด้านการจัดการศึกษาของประเทศ สร้างความ
เชื่อมั่นด้านคุณภาพ นำไปสู่การร่วมกันจัดกิจกรรมทางการศึกษาที่เป็นประโยชน์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับชุมชนได้
อย่างตอ่ เนื่อง และมีประสทิ ธภิ าพ

โรงเรียนที่มีคุณภาพมุ่งเน้นความเข้มแข็งทางด้านวิชาการ และมีความพร้อมในการพัฒนาด้านคุณธรรม
จริยธรรม งานอาชีพ และสุขอนามัย สามารถให้บริการการศึกษาแก่นักเรียนและชุมชน รวมทั้งยังเป็นการเพิ่มโอกาส
การเข้าถึงการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เชื่อมโยงสู่การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ
ทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาคเอกชน บ้าน วัด รัฐ และ
โรงเรยี น

โรงเรยี นวดั จนิ ดารามได้ดำเนนิ การในการพัฒนา และปรบั กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพ่อื พฒั นาคุณภาพ
ผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะชีวิต และทักษะในการประกอบอาชีพ เกิดสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับทักษะ
การเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 มงุ่ เน้นพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยการใชส้ ื่อนวัตกรรมท่ีทันสมัย ทำใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้
จากการลงมือปฏิบัติ ยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และวิศวกรรม (STEM) ทักษะการคิดเชิงคำนวณ และ Coding รวมไปถึงทักษะศตวรรษที่ 21 (3Rs 4Cs)
จึงได้จัดทำ “โครงการ Coding ปันสุข แบ่งปันความรู้ เพื่อก้าวสู่ยุคดิจิทัล” มีความมุ่งหมายที่จะพัฒนาโรงเรียนให้
เป็นโรงเรียนทมี่ ีคณุ ภาพ โดยการพัฒนานกั เรียนใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอย่างเทา่ เทยี มกนั ซ่ึงจะสง่ ผลใหผ้ ปู้ กครองและชุมชน
พงึ พอใจและร่วมเข้ามาช่วยพฒั นาการศึกษาของโรงเรียนต่อไป การเรยี นโคด้ ดิ้งจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดกระบวนการคิดอย่าง
เป็นเหตุเป็นผลในทุก ๆ เรื่อง และสามารถพัฒนาต่อยอดสิ่งตา่ ง ๆ อย่างสร้างสรรค์ ขั้นตอนของการเขียนโค้ดผู้เรียนจะ
ได้เรียนรู้กระบวนการวางแผน ฝึกฝนกระบวนการคิดและการลงมือทำอย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีนั้นได้เข้ามามี
บทบาทในชีวิตดังนั้นการเรียนรู้โค้ดดิ้งจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพราะเทคโนโลยีในปัจจุบันเกิดจากการเขียนโค้ดทั้งนั้น เช่น
โทรศัพท์ แอพพลิเคชนั่ เกมตา่ ง ๆ เป็นตน้ การเรียนโค้ดด้ิงไมจ่ ำกัดเรื่องอายุ แต่ถ้าเร่มิ ต้งั แต่เด็กก็จะช่วยให้เป็นคนที่มี
ความคิดเป็นเหตุเป็นผลมากขึ้น ดังนั้นควรส่งเสริมให้เริ่มเรียนตั้งแต่เด็ก เพราะจะได้เรียนรู้โครงสร้างของคำตอบ และ
ความคิดผ่านการแก้ไขปัญหา ในขั้นตอนดำเนินการต่างๆ อย่างเป็นระบบ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการเรียนโค้ดดิ้งจะช่วย
เสริมการเขา้ ใจวชิ าอืน่ ๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ นกั เรยี นจะเขา้ ใจโจทย์ง่ายข้นึ นอกจากจะชว่ ยให้เข้าใจวิชาอื่น
ง่ายข้ึน โค้ดดงิ้ ยังทำเสริมทกั ษะอย่างอนื่ อกี เชน่ จัดการกบั ปญั หา วิเคราะห์ปัญหา มคี วามเชือ่ มน่ั มีความคิดสร้างสรรค์
ทักษะคิดเชิงคำนวณ ไหวพริบ ซึ่งเป็นพื้นฐานของความเข้าใจกระบวนการคิด และการสื่อสารอย่างเป็นระบบ
(Computational Thinking) ซึ่งจะสามารถต่อยอดสู่การพัฒนาอื่น ๆ ทั้งความเข้าใจทั้งด้านอินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง
(Internet of Things: IoT) วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics) การเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning) และ
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) สะเต็มศึกษา เป็นแนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และ
สามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการ
เชื่อมโยงและแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมหรือโครงงานที่บูรณาการ การเรียนรู้

งบดำเนนิ งานเพ่ือการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ ๒

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ผนวกกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยผู้เรียนจะได้ทำกิจกรรมเพื่อ
พฒั นาความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี และนำความร้มู าออกแบบช้ินงาน
หรือวิธีการ เพือ่ ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปญั หาทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ไดเ้ ทคโนโลยี ซ่ึงเป็นผลผลิต
จากกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สะเต็มศึกษา
เป็นการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ใช้ความรู้และทักษะในด้านต่าง ๆ ผ่านการทำกิจกรรม (activity based) หรือการทำ
โครงงาน (project based) ทเี่ หมาะสมกับวัยและระดบั ชั้นของผู้เรียน การเรยี นรแู้ บบสะเต็มศึกษาดงั กล่าวนี้ จะช่วยให้
ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการสื่อสาร ซึ่งทักษะ
ดังกล่าวนี้เป็นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ผู้เรียนยังได้ความรู้แบบองค์รวมที่สามารถนำไปเชื่อมโยง
หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามโครงการโรงเรียนคุณภาพคาดหวังว่าผู้เรียนทุก
ช่วงวัยจะไดร้ ับการพัฒนาในทกุ มิติ เป็นคนดี คนเกง่ มีคณุ ภาพมีความพรอ้ มเป็นกำลงั สำคัญในการพฒั นาประเทศสู่ความ
เปน็ ผนู้ ำในอุตสาหกรรมแห่งอนาคต

งบดำเนนิ งานเพื่อการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ ๓

ขอ้ มูลโรงเรยี นวัดจินดาราม

1) ข้อมลู พ้นื ฐานของสถานศึกษา

ชือ่ โรงเรยี น วดั จนิ ดาราม รหสั สถานศึกษา 1073180218
ที่อยู่ 8/4 ม.2 ต.ตลาดจินดา อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110
สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โทรศพั ท์ 034981306 โทรสาร
034981306
เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล 2 ถึงระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 อเี มล์ : [email protected]
เว็บไซต์ : www.jdr.ac.th ชอ่ื ผ้บู ริหาร นายเกษมสันต์ มจี นั ทร์ โทรศพั ท์ : 0819164656

2) จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา 3๖ คน จำแนกเปน็

ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

บุคลากร ผู้บรหิ าร ครผู ้สู อน พนักงานราชการ ครูอตั ราจา้ ง เจ้าหน้าที่อืน่ ๆ(ธรุ การ)

ปกี ารศกึ ษา 2563 2 3๒ - 1 1

จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2564

เพศ ระดับการศกึ ษาสูงสุด อายเุ ฉลย่ี ประสบการณ์
สอนเฉล่ีย
ประเภทบุคลากร ชาย หญงิ ต่ำกว่า ป.ตรี สงู กวา่
18
ป.ตรี ป.ตรี 13
-
ผู้บรหิ าร 1 1 - - 2 48 1
-
ครผู ู้สอน 5 27 - 20 12 41 -
10
พนักงานราชการ - - - -- -

ครอู ัตราจ้าง สพฐ. - 1 - 1 - 34

ครูอัตราจา้ งโรงเรยี น - - - -- -

นักการภารโรง - - - -- -

เจ้าหนา้ ท่ธี รุ การ - - - - 1 39

รวม 6 30 - 21 15

36

งบดำเนนิ งานเพอื่ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ ๔

ครูผสู้ อนจำแนกตามสาขาวิชา

1) ปฐมวัย 3 คน

2) ภาษาไทย 6 คน

3) คณติ ศาสตร์ ๔ คน

4) วทิ ยาศาสตร์ ๔ คน

5) ภาษาองั กฤษ 4 คน

6) สังคมศึกษาฯ 2 คน

7) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1 คน

8) ศิลปะ 1 คน

9) ประถมศึกษา 3 คน

10) คหกรรม 1 คน

11) คอมพิวเตอร์ ๒ คน

12) อตุ สาหกรรมศลิ ป์ 1 คน

จำนวนนักเรยี น รวมท้ังส้ิน 63๓ คน ชาย 334 คน หญิง 297 คน จำแนกเป็น

1) ระดับปฐมวัย 97 คน

2) ระดับประถมศึกษา 362 คน

3) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 174 คน

๓) ความเป็นมาของโรงเรียน

โรงเรียนวัดจินดาราม กอ่ ตั้งเมอื่ วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2477 ผู้รเิ ริ่มก่อตั้งคือ ขุนนครรัฐเขต นายอำเภอ
สามพราน นายหิรัญ สามชัย ศึกษาธิการอำเภอสามพราน พระอธิการ ปลัดเปลื้อง เจ้าอาวาสวัดจนิ ดาราม นายพิณ
บุญสม กำนันตำบลตลาดจินดา ครูใหญ่คนแรกคือ นายชิน ศิริทรัพย์ เปิดทำการสอนหลักสูตรประถมศึกษามา
ตั้งแต่เริ่มเปิด จนถึง พ.ศ. 2535 จึงเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โครงการขยายโอกาสทางการศึกษา และ
ได้รับมอบจาก อบต.ตลาดจินดา ให้จัดการศึกษา อนุบาล 3 ขวบ นักเรียนส่วนใหญ่มาจากท้องถิ่นและบริเวณ
ใกล้เคยี งตำบลตลาดจินดาทำให้เกิดปญั หา ขาดแคลนหอ้ งเรยี น หอ้ งพิเศษ และขาดอัตราครู

งบดำเนนิ งานเพื่อการยกระดบั คุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ ๕

ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน หน่วยงาน บุคคล และองค์กรต่าง ๆ ได้แก่ วัด อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
ผชู้ ่วย สารวัตรกำนนั เจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข ตำรวจ ผ้ปู กครอง และประชาชน ในชมุ ชนใหค้ วามรว่ มมอื โดยมสี ว่ น
ร่วมในการจัดการศึกษา ได้แก่ รวมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติและร่วมประเมินผล โรงเรียนให้บริการชุมชนเมื่อมี
กิจกรรมที่ชุมชนจัดขึ้น เช่น งานประจำปีของวัด งานแข่งขันกีฬาหมู่บ้าน งานทำบุญของชุมชนทั้งส่วนตัวและ
สว่ นรวม ความสมั พนั ธ์ดังกล่าวทำให้โรงเรียนจัดการศึกษาได้อยา่ งมีประสิทธผิ ลนักเรียนมีคุณภาพเป็นท่ีพึงพอใจของ
ชมุ ชน

๔) ขอ้ มูลชุมชนของตำบลตลาดจินดา
สถานศึกษาตั้งอยู่ในเขตการบริหารท้องถิ่น องค์การบริการส่วนตำบลตลาดจินดาเนื้อที่ ประมาณ 29.2

ตารางกโิ ลเมตร หรอื 18,139 มี หมูบ่ า้ น 11 หม่บู า้ น ประชากรท้ังสนิ้ 7,678 คน แยกเป็น ชาย 3,729 คน
หญิง 3,949 คน 2,242 ครัวเรือน ภูมิประเทศ ราบลุ่มประกอบด้วยลำคลองหลายสายเหมาะกับอาชีพเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาชีพอื่น ๆ ได้แก่ รับจ้างทำสวน ลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม
ค้าขาย และ รับราชการมีโรงเรียนระดับประถมศึกษา 3 โรงเรียน และโรงเรียนประถมศึกษา -มัธยมศึกษา (ภาค
บังคับ 9 ปี) 1 โรงเรียน รวม 4 โรงเรียน ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำ หมู่บ้าน 2 แห่ง วัด 2 แห่ง ได้แก่ วัด
จนิ ดาราม วดั ราษฎรศ์ รัทธาราม สถานีอนามัย 2 แหง่ ไดแ้ ก่ สถานอี นามัยตำบลตลาดจนิ ดา สถานีอนามัยบ้าน
แตกแดด สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล 1 แห่ง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณีศิลปวัฒนธรรม
ท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประชาชนศรัทธาในหลวงพ่อสัมฤทธิ์ พระประธานในอุโบสถวัดจินดารามจะยึดม่ัน
กราบไหวบ้ ชู าและมงี านปิดทองพระประจำทุกปี ประชาชนตั้งมน่ั ในศลี ธรรม อนรุ ักษน์ ิยมประเพณีวฒั นธรรมไทย เช่น
การทำบุญในวันสำคัญ งานทำบุญเพื่อเป็นศิริมงคลต่าง ๆ การบวชพระประเพณีแต่งงาน และท้องถิ่นจะมีการทำ
เกษตรที่ให้ผลผลิตที่ดี ดังคำขวัญของตำบลที่กล่าวว่า“หลวงพ่อสัมฤทธิ์คู่บ้าน ถิ่นฐานเกษตรกรรม งามล้ำสาวจินดา
รักษาวฒั นธรรม”

เขตบริการของโรงเรียน ระดับประถมศกึ ษา หมู่ 1,2,6,8,9,10 ตำบลตลาดจนิ ดาระดับมัธยมศึกษา

นกั เรียนในเขตตำบลตลาดจนิ ดา

๕) การบรหิ ารจัดการแนวทางการจัดการศกึ ษา

วสิ ยั ทัศน์โรงเรยี น

เรียนดี กจิ กรรมเดน่ เนน้ สุขภาพดี มคี ุณธรรม นำสู่มาตรฐานพัฒนางานเทคโนโลยีและสง่ิ แวดล้อม

งบดำเนนิ งานเพ่อื การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ ๖

พนั ธกิจโรงเรียน
1. จดั การเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกับวัยและธรรมชาติ โดยเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญใหบ้ รรลมุ าตรฐานการเรียนรขู้ อง
หลกั สูตร
2. ปลูกฝงั คณุ ธรรม ความสำนึกในความเป็นไทย และวิถชี วี ติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. จดั กิจกรรมให้ผเู้ รยี นมสี ุขภาพสมบรู ณ์ท้งั ร่างกาย และจติ ใจ ดำรงตนในสงั คมอย่างมีความสขุ
4. จดั ระบบดแู ลช่วยเหลือส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพนกั เรียนทกุ คน
5. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี แหล่งการเรียนรู้ อนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อมและทรัพยากร อยา่ งเหมาะสม
6. พัฒนาสมรรถนะ ครูให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานแห่งวชิ าชีพ
7. บริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาของทุกภาคสว่ น
8. สร้างความเสมอภาคและเพิม่ โอกาสให้ผู้เรียนได้รบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
9. จัดระบบประกันคณุ ภาพภายในใหม้ มี าตรฐาน

อัตลักษณ์ของโรงเรียน
“สขุ ภาพดีมสี ุข”

งบดำเนนิ งานเพ่ือการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๗

แบบคำขอรับการสนับสนนุ งบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบดำเนนิ งาน
เพื่อการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโครงการโรงเรยี นคุณภาพ

 โรงเรยี นระดับประถมศึกษา  โรงเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษา  โรงเรยี น Stand Alone

สว่ นที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐานของผ้ขู อรับการสนบั สนุนงบประมาณเพอ่ื การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
โครงการโรงเรยี นคุณภาพ

1.1ชอ่ื โรงเรียน วดั จินดาราม

ท่ีอย่โู รงเรยี น เลขท่ี 8/4 หมู่ 2 ซอย - แขวง/ตำบล ตลาดจินดา

เขต/อำเภอ สามพราน จังหวดั นครปฐม รหสั ไปรษณยี ์ 73110

มีเนอื้ ที่ทัง้ หมด 16 ไร่ 1 งาน 15 ตารางวา

1.2 สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา นครปฐม เขต 2

1.3 ช่ือโครงการ “Coding ปันสขุ แบง่ ปันความรู้ เพื่อกา้ วสยู่ ุคดิจทิ ลั ” เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการเรียนรู้

ด้วยสอื่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและสมรรถนะสำคัญตามหลักสตู ร เนน้ พัฒนา

ทักษะกระบวนการ Coding และ STEM

1.4 งบประมาณโครงการ 350,000 (บาท)

1.5 ระยะเวลาการดำเนินโครงการ 6 (เดือน)

1.6 ระดบั ช้ัน / จำนวนห้องเรียน / จำนวนนกั เรียน
[✓] ปฐมวัย
จำนวน 4 หอ้ ง จำนวนนกั เรียน 97 คน
[✓] ประถมศึกษาตอนต้น จำนวน 6 หอ้ ง จำนวนนักเรียน 161 คน
[✓] ประถมศึกษาตอนปลาย จำนวน 6 หอ้ ง จำนวนนักเรียน 202 คน
[✓] มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 6 ห้อง จำนวนนักเรียน 173 คน

[…] มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน - หอ้ ง จำนวนนักเรียน - คน

1.7 จำนวนผ้บู ริหาร / ครู / บุคลากรทางการศึกษา

ผู้บรหิ าร (ผอ.รร.และรอง ผอ.รร.) จำนวน 2 คน

ครู จำนวน 32 คน

พนกั งานราชการ จำนวน - คน ครูอัตราจา้ ง จำนวน 1 คน

บุคลากรทางการศึกษาอน่ื ๆ จำนวน 1 คน โปรดระบุ

1.8 สถานทตี่ ้งั

เลขท่ี 8/4หมู่ที่ 2 ตรอก/ซอย - ถนน - ตำบล/แขวง ตลาดจนิ ดา

อำเภอ/เขต สามพราน จังหวัด นครปฐม รหสั ไปรษณยี ์ 73110

โทรศพั ท์ 034-981-306 โทรสาร 034-981-306

E-mail / เว็บไซต์ [email protected] , www.jindaram.org

1.9 ชือ่ บุคคลทีส่ ามารถติดต่อได้ (บุคคลที่ได้รบั มอบหมายเป็นผ้ปู ระสานงาน)

ชือ่ -นามสกุล นายเกษมสันต์ มจี ันทร์ ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น

โทรศัพท์ 081-916-4656 E-mail kasemsun_ [email protected]

งบดำเนนิ งานเพอ่ื การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ ๘

ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู รายละเอยี ดข้อเสนอโครงการเพื่อการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรยี นคุณภาพ

2.1 ชอ่ื โครงการ “Coding ปนั สุข แบ่งปันความรู้ เพ่ือกา้ วสู่ยคุ ดจิ ิทลั ” เพ่ือยกระดับคุณภาพการเรียนรู้
ดว้ ยส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา เพ่มิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและสมรรถนะสำคญั ตามหลักสตู ร เนน้ พฒั นา
ทักษะกระบวนการ Coding และ STEM

2.2 ชื่อหัวหนา้ โครงการ (ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ)
ช่ือ-นามสกุล นายเกษมสันต์ มจี นั ทร์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดจินดาราม

โทรศัพท์ 081-916-4656 E-mail : [email protected]

2.3 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา/ การพฒั นา (แสดงขอ้ มูลการวิเคราะห์จากสภาพจรงิ )
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการไดก้ ำหนดนโยบายโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน/โรงเรยี น Stand Alone ขึ้น

เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคมในชุมชนต่างๆ ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งเน้นย้ำเรื่องการพัฒนา
และปรบั กระบวนการจัดการเรยี นการสอนใหม้ คี ุณภาพ มุ่งเน้นการพัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดสมรรถนะ และทกั ษะศตวรรษ
ที่ 21 โดยการใช้สื่อนวัตกรรมที่ทันสมัย ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active
Learning) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมถึงมีความรอบรู้ มีทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ ซึ่งล้วนเป็นสมรรถนะสำคัญที่จะนำพาให้เยาวชนไทยมีความพร้อม
ก้าวสู่พลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 ที่มีคุณภาพ อีกทั้งการยกระดับคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะที่
จำเป็นต่อการเป็นแรงงานทักษะแห่งอนาคตนั้น จำเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้ด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรม (STEM) ทกั ษะการคิดเชิงคำนวณ และ Coding รวมไปถงึ ทกั ษะศตวรรษที่ 21
(3Rs 4Cs) เพื่อชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเพ่ิมขีดความสามารถในการพฒั นาชมุ ชนซ่ึงเปรียบเสมือนแหง่ ทรัพยากรพ้ืนฐานให้เกิดการ
ก้าวทันยคุ ดิจทิ ลั ด้วยการบรู ณาการการศึกษา และพัฒนานวตั กรรมที่สอดคล้องต่อแหลง่ การเรียนร้ขู องชุมชน อีกทั้งยัง
ก่อให้เกิดการแบ่งปันความรู้ ความสามารถ และร่วมมือกันของกลุ่มโรงเรียนในชุมชน เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะ
ศตวรรษที่ 21 เพื่อตอบสนองต่อยุคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตที่ต้องการผู้มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีขั้นสูง งานบริการ
และงานธุรกิจทม่ี ุ่งใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทนี่ ำมาซึ่งการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ เพิม่ การจา้ งงาน เพิ่มรายได้ และคุณภาพ
ชวี ติ ของผ้คู นในชุมชน อนั เป็นแนวทางท่โี รงเรียนคุณภาพของชุมชน จะชว่ ยลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และสังคม
ในชุมชนไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืนตามเปา้ ประสงคข์ องการก่อต้ังโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน

อย่างไรก็ตาม ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่จบตรงสายการสอนไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มสาระวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะการสอนเชิงบูรณาการความรู้ตามกระบวน STEM Education หรือองค์ความรู้
ใหมอ่ ยา่ งเร่ือง Coding รวมท้ังปัญหาการขาดแคลนสอื่ นวัตกรรมทีท่ นั สมยั เหมาะสมกับทักษะของผ้เู รยี นที่หลากหลายก็
ยังคงเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งผลให้ผู้เรียนในชุมชนขาด
โอกาสเข้าถึงการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และไม่สามารถส่งเสริมสมรรถนะของผู้เรียนได้เต็มศักยภาพ โดยน้อมนำหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง มาเพือ่ เป็นหลกั ของการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหส้ อดคล้องต่อวถิ ีการดำเนนิ ชวี ติ ของชุมชน

ตระหนักถึงความสำคัญเร่งด่วนทางโรงเรียนวัดจินดาราม จึงได้ดำเนิน “ Coding ปันสุข แบ่งปัน
ความรู้ เพื่อก้าวสู่ยุคดิจิทัล “ เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการ Coding และ
STEM ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าถึงสื่อนวัตกรรมที่ทันสมัย ในทุกกลุ่มสาระวิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไ ทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ โดยเน้นความสำคัญที่กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลัก เพื่อยกระดับการจัดการเรียนรู้
ดา้ น Coding, STEM ให้มีคุณภาพอยา่ งเท่าเทียมกับโรงเรียนช้ันนำ โดยมุ่งเนน้ ใหม้ กี ารใชส้ ่ือนวัตกรรมและแนวทางการ
จัดการเรียนการสอนตามแนวทาง Active Learning ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการฝึกฝนลงมือปฏิบัติ จน

งบดำเนนิ งานเพอ่ื การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ ๙

สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้จริงและสอดคล้องกับบรบิ ทของชุมชน และที่สำคัญทีส่ ดุ คือการส่งเสรมิ ให้
ผสู้ อนมคี วามมน่ั ใจในความรคู้ วามสามารถของตน และมีแนวทางในการจดั การเรียนร้โู ดยใช้สื่อนวตั กรรมเป็นตัวช่วยลด
ปัญหาการขาดแคลนครูตรงสายการสอน และช่วยยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกับทักษะของผู้เรียน
อย่างเป็นลำดับขั้นตอน และหลากหลายเพียงพอที่จะรองรับความถนัดในการเรียนรู้และระดับทักษะที่แตกต่างกันของ
ผู้เรียน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าจะไม่มีผู้เรียนคนใดถูกทิ้งไว้ข้างหลัง โดยมีเปา้ หมายให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคดิ ขั้นสูง คิดอย่าง
เป็นกระบวนการแบบ Coding มีความคิดสร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมสู่การเป็น นักนวัตกรมรอันเป็นที่ต้องการของ
ตลาดแรงงานแห่งอนาคต อีกทั้งระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ และสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเพิ่มสูงขึ้น ใน
ขณะเดียวกัน ครูผู้สอนมีความสุขในการสอน ผู้ปกครองและชุมชนเกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพการเรียนการสอน และ
นำไปสเู่ ปา้ หมายสูงสดุ คือการพัฒนาผู้เรยี นให้มีศักยภาพในการก้าวสู่ยคุ ดิจิทลั ท่ีจะชว่ ยยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนใน
ชุมชนได้อยา่ งย่ังยืนต่อไป

2.4 ความสอดคล้องของโครงการกบั บริบท ความต้องการและนโยบายภาครัฐ (เลอื กได้มากกว่า 1 ขอ้ )
[✓] ความสอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรยี น (โปรดระบุ)
โรงเรียนมีความเป็นแข็งแกร่งในด้านครูและบุคลากร และตระหนักถึงความสำคัญในด้านการศึกษา

และความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างดี สะท้อนจากการมุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้มีทักษะศตวรรษที่ 21
ทางโรงเรียนจึงเล็งเห็นถึงศักยภาพในการผลักดันผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มสาระ
วิชาสำคัญที่สอดคล้องกับการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดแรงงานอุตสาหกรรมแห่งอนาคต ได้แก่
ทักษะความรู้ STEM, Coding เพ่อื สง่ เสรมิ การสรา้ งสรรค์นวัตกรรม โดยน้อมนำหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง มาบรู ณาการให้
สอดคล้องต่อบรบิ ทของชุมชน และแบ่งปันความรู้ ความสามารถทีเ่ กดิ จากการพัฒนาจากการเรยี นการสอน สู่ชุมชนให้
ก้าวเข้าสู่ยคุ ดจิ ทิ ลั อย่างแข็งแกง่

การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพัฒนาทักษะสำคัญดังกล่าว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมให้
ครูผ้สู อนมีส่อื นวตั กรรมที่ทันสมยั และสง่ เสรมิ ใหม้ ีกระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร ผ่านกิจกรรมตาม
แนวทาง Active Learning มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดหา
สื่อการสอนที่ทันสมัยให้เพียงพอต่อจำนวนผู้เรียน และจัดให้มีการอบรมพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพและสามารถพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของนักเรียนโดยสร้างทักษะการบวนการคิดอย่างเปน็ ระบบ
ด้วยตนเองได้ในอนาคต รวมทั้งสามารถดำเนินโครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะความรู้ STEM, Coding
รวมถึงสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างเต็มศักยภาพของผู้เรียน ซึ่งการดำเนิน
โครงการนี้นับได้ว่าเปน็ การยกระดับคุณภาพการศกึ ษาท้ังระบบนิเวศ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยที ี่ทันสมัยเข้ามามี
ส่วนช่วยพัฒนาครผู ูส้ อน ผู้เรียน ห้องเรียน โรงเรียน และการบริหารจัดการโรงเรียน สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้
ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ 2564 ในการสร้างการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Education for
Excellence)

[✓] ความสอดคล้องกบั ความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชน
โรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนที่ขาดแคลนบุคลากรครูที่จบตรงสายการสอน ทำให้

ระดับทักษะและความรู้ของนักเรียนที่ย้ายโรงเรียนเข้ามามีความแตกต่างกันค่อนข้างหลากหลาย ผู้ปกครองจึงมีความ
ห่วงใยในเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้จะลดลง และผู้เรียนอาจจะไม่มีโอกาสเข้าถึงสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่ทันสมัยได้
เพียงพอ จึงมีความจำเปน็ ต้องจัดหาสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้เพยี งพอกบั จำนวนผูเ้ รียนที่เพิ่มมากขึน้ ลดความเหล่ือมล้ำ
ในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนและครูผู้สอนสามารถปรับพื้นฐานและ ส่งเสริมการเรียนรู้
ให้กับผเู้ รียนได้เหมาะสมกับระดับทักษะของผเู้ รียนแต่ละบุคคล

[✓] ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายภาครัฐ (เลอื กได้มากกว่า 1 ข้อ)
[/] กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580)

งบดำเนนิ งานเพอ่ื การยกระดับคุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๑๐

[/] แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
[/] แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579)
[/] อื่นๆ โปรดระบุ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ
2564

2.5 วตั ถุประสงค์ของโครงการ (สงิ่ ท่ีดำเนนิ การจริงในโครงการ)
2.5.1 เพอ่ื ให้ครผู ู้สอนมีส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาท่ีช่วยเพ่ิมผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรู้และ

สมรรถนะสำคญั ตามหลกั สตู ร
2.5.2 เพอ่ื ให้ครผู สู้ อนมสี ื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาท่ีสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนด้าน

STEM Education, ทักษะการคิดเชิงคำนวณ และ Coding ทท่ี นั สมยั
2.5.3 เพื่อให้ผู้เรียนระดับชั้นก่อนประถมศึกษา,ประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนรแู้ ละสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู รเพ่ิมสงู ขนึ้
2.5.4 เพื่อให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ด้าน STEM Education ทักษะการคิดเชิงคำนวณ และ Coding

ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ด้วยสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษาที่ทันสมัย สอดคล้อง
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และเหมาะสมกับพัฒนาการในแต่ละชว่ งวยั

2.5.5 เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกดิ ทักษะการเรียนรตู้ ลอดชีวติ และทกั ษะศตวรรษที่ 21
2.5.6 เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ Coding มาพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 และสร้างนวัตกรรมท่ี
สอดคล้องต่อบริบทของชมุ ชน

2.6 เป้าหมายของโครงการ
2.6.1 เชงิ ปรมิ าณ
2.6.1.1 ครูผู้สอนจำนวน 32 คน มีสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะสำคญั ตามหลักสตู ร
2.6.1.2 ครูผู้สอนจำนวน 32 คน มีสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษาที่ส่งเสริมการจัดการเรียน

การสอนดา้ น STEM Education, ทกั ษะการคิดเชงิ คำนวณ และ Coding ทีท่ นั สมัย
2.6.1.3 ผู้เรียนระดับชั้นก่อนประถมศึกษาถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 633 คน มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะสำคญั ตามหลกั สูตรเพม่ิ สงู ขึ้น
2.6.1.4 ผู้เรียนระดับชั้นก่อนประถมศึกษาถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 633 คนมีองค์

ความรู้ด้าน STEM Education ทักษะการคิดเชิงคำนวณ และ Coding ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning ด้วยสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษาท่ีทันสมยั สอดคล้องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และ
เหมาะสมกบั พฒั นาการในแตล่ ะช่วงวยั

2.6.1.5 ครูและผู้เรียนจำนวน 662 มีทักษะการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต และทกั ษะศตวรรษท่ี 21
2.6.2 เชิงคุณภาพ
2.6.2.1 ครูผู้สอนมีสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และ
สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร
2.6.2.2 ครูผู้มีสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้าน STEM
Education, ทกั ษะการคิดเชงิ คำนวณ และ Coding ท่ีทนั สมยั
2.6.2.3 ผ้เู รยี นระดับช้นั กอ่ นประถมศึกษาถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
และสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู รเพมิ่ สูงข้ึน

งบดำเนนิ งานเพอ่ื การยกระดับคุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรยี นคุณภาพ ๑๑

2.6.2.4 ผู้เรียนระดับชั้นก่อนประถมศึกษาถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมีองค์ความรู้ด้าน STEM
Education ทักษะการคิดเชิงคำนวณ และ Coding ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่ทันสมัย สอดคล้องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเหมาะสมกับ
พัฒนาการในแต่ละชว่ งวัย

2.6.2.5 ครูและผูเ้ รียนมที ักษะการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ และทกั ษะศตวรรษท่ี 21
2.6.2.6 นักเรียนสามารถนำความรู้ด้าน Coding มาบูรณาการสร้างสรรค์ผลงานให้สอดคล้องต่อ
ชุมชนได้
2.7 จุดเนน้ ที่จะดำเนินการ ไดแ้ ก่
2.7.1 ความปลอดภยั ของผู้เรียน
- เพื่อใหม้ ีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียนด้านอุบตั ิเหตุ ด้านอุบตั ภิ ัย และดา้ น
ปญั หาทางสังคม โดยอาศยั แนวคดิ เชงิ สร้างสรรค์ภายใตห้ ลกั การกระจายอำนาจ การมีสว่ นร่วม และยดึ ประโยชน์สงู สุด
ของนักเรยี นเปน็ สำคัญ
- เพ่อื สร้างความเขม้ แข็งระบบการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียน ให้มีความพร้อม สามารถป้องกนั
และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของนกั เรียน ท้ังดา้ นอบุ ตั เิ หตุ อุบตั ิภยั และปญั หาทางสังคมท่จี ะเกิดขนึ้ กบั นักเรยี นอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
- เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นทุกคนได้รบั การปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภยั ทงั้ ด้านรา่ งกาย และจติ ใจ โดย
นกั เรยี นจะไดร้ ับการดูแลอย่างใกลช้ ดิ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมคี วามสุข
- เพื่อสรา้ งความตระหนักในการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียน โดยการให้ความรู้ ความเขา้ ใจ แกผ่ ู้ท่ี
รบั ผิดชอบ และผทู้ ่ีมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกับการรกั ษาความปลอดภยั ในโรงเรียน

2.7.2 การพฒั นาครู
- เพอื่ เพ่มิ ทกั ษะการจดั การเรยี นการสอน ในยคุ ดิจทิ ัลได้อยา่ งทนั ยคุ ทันสมัย
- เพื่อเพิ่มทักษะการจัดการเรียนการสอน Coding ในห้องเรียน และสามารถสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพใน
การนำความร้ใู นห้องเรยี นมาใช้สร้างสรรคน์ วัตกรรมชุมชนได้
- เพิม่ ขดี ความสามารถ การบูรณาการบทเรยี นในห้องเรยี น สู่ผู้เรียนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

2.7.3 การเรียนการสอน
- เพือ่ มุ่งเน้นการเรียนการสอน สู่ยคุ ดจิ ิทลั อยา่ งทนั สมยั และชาญฉลาด
- เพื่อมงุ่ เนน้ เพม่ิ ทักษะของผูเ้ รียน ในด้าน Coding
- เพื่อมุ่งเนน้ การสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมจากการนำความร้ใู นชั้นเรียน เพอื่ มาพัฒนาชมุ ชน
- เพอ่ื เนน้ พัฒนาการเรยี นการสอนในชั้นเรยี นให้เกิดทักษะที่จำเปน็ ต่อการใช้ชีวิตในยุคดจิ ิทลั

งบดำเนนิ งานเพือ่ การยกระดบั คุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๑๒

2.8 กระบวนการบริหารโครงการ (Flow Chart)
การวิเคราะห์

ปรบั ปรุงพัฒนา นโยบาย สถานการณข์ องปัญหา (สขุ ภาพ,
ระดบั ของโครงการ ปณิธาน, ความประสงค์ เทคโนโลย,ี บรหิ าร, พฤตกิ รรม,
ข้อมลู , SWOT)
(ถา้ บรรลุผล) Aim Purpose
กำหนดกลวิธี
ปรบั แผนแกอ้ ุปสรรค แกป้ ัญหา
Reprogram Solution Desing

(ถา้ ยังไมบ่ รรลผุ ล) จัดทำโครงการ

กลวิธี แผน 1,3,5,10 ปี

เสนอผู้บริหาร

ตามกำหนดเวลา

ควบคุม, ประเมนิ ผล ดำเนนิ การตามแผน
(ข้อชวี้ ดั ) ของโครงการ

ตดิ ตาม, กำกบั
การปฏิบตั ิ

งบดำเนนิ งานเพื่อการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ ๑๓

2.9 ตัวช้วี ดั ความสำเรจ็ ผลผลติ ตัวช้วี ัดความสำเร็จ เคร่อื งมอื / วธิ ีการวดั
ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
ร้อยละของครผู ูส้ อน แบบวัดความรู้ และ
ข้ันตอนท่ี 1 ครผู ู้สอน 32 คน ความรแู้ ละทักษะ ทักษะ
จดั อบรมเชิงปฎิบตั ิการครูผสู้ อน
ดา้ นทักษะการใช้ส่ือนวตั กรรม
และเทคโนโลยีการศึกษาเพ่ือยก
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรู้ และ
สง่ เสรมิ สมรรถนะสำคญั ให้กับ
ผ้เู รยี นไดอ้ ย่างเตม็ ศักยภาพ

ขัน้ ตอนที่ 2 ครผู สู้ อน 60 คน ร้อยละของนักเรยี น แบบวัดความรู้ และ
จดั อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร นกั เรียน แกนนำความรู้และ ทักษะ
แกนนำ ด้านทักษะการใชส้ อื่ ทกั ษะ
นวตั กรรมและเทคโนโลยี
การศกึ ษารายวชิ าวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เพ่ือสร้างการ
เรยี นรู้ Coding และ STEM
สำหรับผ้เู รียนระดบั ก่อน
ประถมศกึ ษา – มธั ยมศึกษา

ขั้นตอนท่ี 3 นกั เรียน 633 คน ร้อยละของนักเรียนท่ี แบบวดั ความรู้ และ
จดั อบรมค่าย“Coding ปนั สุข ได้รบั การอบรม ทกั ษะ
แบ่งปนั ความรู้ เพื่อกา้ วสู่ยคุ ความรู้และทักษะ
ดจิ ทิ ลั ” เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพ
การเรยี นรู้ดว้ ยส่อื นวตั กรรมและ รอ้ ยละของความรู้ แบบวดั ความรู้ และ
เทคโนโลยีการศกึ ษา เพ่ิม
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและ
สมรรถนะสำคัญตามหลักสตู ร
เน้นพฒั นาทักษะกระบวนการ
Coding และ STEM

ขนั้ ตอนท่ี 4 ครูผสู้ อน 80 คน
ขยายผลการ จดั กจิ กรรมคา่ ย

งบดำเนนิ งานเพ่อื การยกระดับคุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๑๔

ขั้นตอนการดำเนนิ งาน ผลผลติ ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ เครอ่ื งมือ / วิธกี ารวัด

“Coding ปันสขุ แบ่งปนั และทกั ษะ ทักษะ
ความรู้ เพอ่ื กา้ วสยู่ คุ ดจิ ทิ ัล” สู่
กลุ่มเครือข่ายโรงเรยี นเพชร
จินดาและโรงเรยี นท่ีสนใจ
ผเู้ รยี นระดับประถมศึกษา –
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อให้
สามารถนำองค์ความรดู้ า้ น
STEM, Coding ทสี่ อดคล้อง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้
พน้ื ฐาน มาใชใ้ นการออกแบบ
และสร้างสรรค์นวตั กรรมเพ่ือ
สอดคล้องกบั ของบรบิ ทในชมุ ชน
ได้

2.10 ขอบเขตระยะเวลา ตุลาคม 2564
ระหว่าง เดอื น เมษายน 2564 ถงึ เดือน
รวมระยะเวลาทัง้ สิน้ 6 (เดือน)

2.11 งบประมาณโครงการ 350,000 (บาท)

2.12 รายละเอียดคา่ ใช้จ่ายพร้อมการประมาณการทางการเงินตามระเบียบกระทรวงการคลัง

รายการ จำนวน จำนวน หมายเหตุ
ต่อหน่วย รวม
1. คา่ ใชส้ อยหรือคา่ ดำเนนิ การ
1.1 คา่ เบยี้ เลี้ยง
1.2 คา่ ทพ่ี ัก
1.3 คา่ พาหนะ
1.4 ค่าอาหาร (เช้า/กลางวัน/เย็น)
1.5 คา่ เช่าเหมารถ

1.6 ค่านำ้ มันเชื้อเพลงิ

1.7 คา่ พิมพ์เอกสาร/ค่ากระดาษแผน่ พบั 10 20,000

2. ค่าวัสดุ

1. ชดุ ส่ือพัฒนาทกั ษะความรู้ STEM สำหรบั 1 2 40,000
หอ้ งเรียน ระดับปฐมวยั

งบดำเนนิ งานเพอื่ การยกระดบั คุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๑๕

รายการ จำนวน จำนวน หมายเหตุ
ตอ่ หนว่ ย รวม
2. ชดุ ส่ือพัฒนาทักษะความรู้ STEM สำหรบั 1
หอ้ งเรยี น ระดับประถมศกึ ษา 1 20,000
1
3. ชดุ สือ่ พัฒนาทกั ษะความรู้ STEM สำหรับ 1 2 20,000
หอ้ งเรยี น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2
2 40,000
4. ชุดสอื่ พัฒนาทกั ษะ Unplugged Coding สำหรับ 2
ปฐมวัย 1 ห้องเรียน 2 40,000
2
5. ชุดสื่อพัฒนาทักษะการสรา้ งสรรค์ผลงานนวัตกรรม 40,000
Coding (ฟารม์ สร้างสรรค)์ 2
40,000
6. ชุดสื่อพัฒนาทกั ษะการสรา้ งสรรค์ผลงานนวัตกรรม
Coding (ห้องเรยี นนวัตกรรมชุมชน) 40,000

7. ชุดส่อื บรู ณาการสำหรับครู เพื่อพัฒนาทกั ษะสูย่ ุค 40,000
นวตั กรรม (สำหรบั ครปู ฐมวัย)
10,000
8. ชดุ ส่อื บรู ณาการสร้างห้องเรียนนวัตกรรมสู่
เศรษฐกจิ ชมุ ชน

9. ชุดอุปกรณส์ ร้างสรรคน์ วัตกรรมพฒั นาชุมชนยั่งยืน
3. ค่าใช้จา่ ยอ่นื ๆ

4. ค่าวิทยาการ

ภาษีมลู ค่าเพิม่ (ถ้าม)ี 22,897.20
รวมเป็นเงนิ ท้งั สิน้ 350,000

2.13 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บั
ระดับนักเรยี น
1. ผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้ในกลมุ่ สาระวิชาและสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐานสูงข้นึ
2. ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจทักษะ STEM, Coding และทักษะศตวรรษท่ี 21 และสามารถนำ
ความรู้นัน้ มาบรู ณาการสร้างสรรคผ์ ลงานได้ ได้แก่ แปลงผักอัจฉริยะ รถไถเดินตามเส้น และเคร่ือง
ใหอ้ าหารสัตว์ เปน็ ต้น

ระดบั โรงเรยี น
1. โรงเรียนมสี ่อื นวัตกรรม และเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทีท่ นั สมัย ชว่ ยสรา้ งความมน่ั ใจให้กบั ผู้ปกครองใน

การสง่ บตุ รหลานเข้าเรยี นในโรงเรียนไดม้ ากย่ิงข้ึน

งบดำเนนิ งานเพ่อื การยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโครงการโรงเรียนคุณภาพ ๑๖

2. บุคลากรครูไดร้ บั การสง่ เสริมใหพ้ ฒั นากระบวนการจัดการเรียนร้ทู ่ีมปี ระสิทธภิ าพ เกิดความมน่ั ใจ
และมคี วามสุขในการทำงานมากยง่ิ ขึน้

ระดับชมุ ชน
1. บตุ รหลานได้รบั การส่งเสรมิ ใหม้ ีความรู้และทักษะท่ีจำเปน็ ต่อการทำงานในอุตสาหกรรมแหง่ อนาคต

ทเ่ี น้นให้ผ้เู รียนเป็นนักคิด นักนวตั กร ซึ่งนอกจากจะยกระดับรายได้ส่วนบคุ คลแลว้ ผู้เรียนสามารถ
นำองค์ความรแู้ ละทกั ษะการคดิ น้นี ำไปใชใ้ นการพัฒนาชมุ ชนเพือ่ ก้าวเขา้ สูย่ คุ ดจิ ิทลั
2. โรงเรยี นมีความพร้อมในการเป็นแหล่งเรียนรขู้ องชมุ ชน ช่วยเผยแพรค่ วามรู้และทักษะสำคญั แหง่
ศตวรรษที่ 21 ซ่ึงเปน็ องค์ความรทู้ ี่ทนั สมัยเพื่อสรา้ งโอกาสท่ีเสมอภาคในยุคดจิ ิทลั ใหก้ บั ผ้คู นใน
ชมุ ชนได้

ระดับชาติ
1. โรงเรียนได้ดำเนินการภารกิจหลกั ตามแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 –

2580) และสนับสนนุ การขบั เคลื่อนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.
2561 – 2564) นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ดว้ ยความม่ันคงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565)
รวมท้ังนโยบายและแผนต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง โดยคาดหวงั วา่ ผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวัยจะไดร้ บั การพัฒนาในทุก
มิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ มีความพรอ้ มเปน็ กำลงั สำคัญในการพฒั นาประเทศสคู่ วามเป็นผู้นำ
ในอตุ สาหกรรมแห่งอนาคต เพิ่มนกั นวัตกรเพื่อการเป็นประเทศเจ้าของนวัตกรรมทดแทนการนำเขา้
องค์ความรจู้ ากต่างประเทศ ช่วยยกระดับคุณภาพชวี ติ ของคนในประเทศให้พ้นกับดักรายไดช้ นช้ัน
กลาง และมีความพร้อมร่วมขับเคลอ่ื นการพัฒนาประเทศ สคู่ วามมัน่ คง มั่งคัง่ และยง่ั ยืน

งบดำเนนิ งานเพอื่ การยกระดบั คุณภาพการศึกษาโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ ๑๗

สว่ นท่ี 3 คำรับรองของผปู้ ระสงค์ขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณเพอ่ื การยกระดับคุณภาพการศึกษา
โครงการโรงเรยี นคุณภาพ

ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่ปรากฏในแบบคำขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษา พร้อมเอกสารหลกั ฐานประกอบการพิจารณานี้ ถูกตอ้ งครบถ้วนและเปน็ ความจรงิ ทุกประการ

ลงชอื่ ผู้เสนอโครงการ
(นายเกษมสนั ต์ มีจนั ทร์)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนวัดจนิ ดาราม
วนั /เดอื น/ปี

ลงชอ่ื ผู้ใหค้ วามเห็นชอบโครงการ
(นายชาญกฤต นำ้ ใจดี)

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
วนั /เดอื น/ปี

ลงชื่อ ผอู้ นมุ ตั ิ
()

ตำแหน่ง เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
วัน/เดอื น/ปี


Click to View FlipBook Version