บทที่ 3 ........ เร่ือง...
ระบบจัดเกบ็ ทรัพยากรสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้
จัดเกบ็ ทรัพยากร
สารสนเทศของห้องสมุด
ได้อย่างถูกต้อง
การจดั หมวดหมู่หนังสือ
(Book Classification)
หมายถึง การนาเอาหนังสื อมา
จั ด แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง แ ต่ ล ะ
สาขาวชิ า อย่างกว้างๆ โดยเล่มที่มี
เนื้ อหาเดียวกันหรื อใกล้ เคี ยงกัน
จัดไว้ ในกลุ่มเดียวกัน เพ่ือความ
สะดวกในการค้นหาส่ิงทตี่ ้องการ
ประโยชน์ของการจดั หมวดหมู่หนังสือ
1. ทาให้หนังสือทุกเล่มมสี ัญลกั ษณ์ มตี าแหน่งการ
จดั วางท่แี น่นอน สามารถค้นหาได้ง่าย
2. ทาให้หนังสือทมี่ เี นื้อหาเดยี วกนั อยู่ในท่เี ดยี วกนั
3. ทาให้หนังสือทีม่ ีเนื้อเร่ืองสัมพนั ธ์กนั อยู่ไม่ไกลกนั
ช่วยให้ผู้ใช้สามารถศึกษาเร่ืองราวทต่ี ่อเนื่องกนั ได้
โดยสะดวก
4. ช่วยให้เจ้าหน้าทห่ี ้องสมุดจดั เกบ็ หนังสือคืนที่
ได้รวดเร็ว
5. ช่วยให้ทราบว่ามหี นังสือในแต่ละสาขาวชิ า
มมี ากน้อยเท่าใด
การจดั หมู่หนังสือมหี ลายระบบ
แต่ท่ีใช้กนั ในประเทศไทย มี 2 ระบบใหญ่ๆ คือ
1. การจดั หมวดหมู่ 2. การจดั หมวดหมู่
หนังสือระบบหอสมุด หนังสือระบบทศนิยม
รัฐสภาอเมริกนั ดวิ อี้
(Library of Congress (Dewey Decimal
Classification)
Classification)
ดร.เฮอร์เบอร์ต พทุ นัม 1.การจดั หมู่หนังสือ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั
(Library of Congress
Classification หรือ L.C.)
การจัดหมู่หนังสื อระบบหอสมุดรั ฐสภา
อเมริ กัน หรื อ L.C) การจัดหมู่ ระบบนี้
ดร.เฮอร์เบอร์ต พุทนัม บรรณารักษ์หอสมุด
รัฐสภาอเมริกัน ณ กรุงวอชิงตัน ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ได้เป็ นคนที่พัฒนาขึน้ ระบบนี้
เหมาะกับการจัดเก็บหนังสื อของห้องสมุด
ท่ัวไปท่ีมีขนาดใหญ่ มีหนังสือเป็ นจานวนมาก
ระบบนีใ้ ช้สัญลักษณ์ท่ีเป็ นตัวอกั ษรและตัวเลข
เป็ นสัญลกั ษณ์แบบผสม
ระบบ LC.
2.ระบบการจดั หมหู่ นังสือระบบทศนยิ มดิวอ้ี
(Dewey Decimal Classification หรอื D.D.C.หรอื D.C.)
ได้ช่ือตามนายเมลวิล ดิวอี้ (Melvil
Dewey) บรรณารักษ์ ชาวอเมริกัน
เป็นผู้คิดระบบนี้ขึ้น ระบบการจัด
หมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอ้ี ซ่ึง
เรียกย่อๆ ว่าระบบดิวอ้ี หรือ ระบบ
DDC หรอื ระบบ D.C
นายเมลวิล ดิวอ้ี
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือแบบ
เป็นระบบทนี่ ิยมใช้แพร่หลาย
ในห้องสมุดขนาดเล็ก หรือขนาดกลางที่มี
หนังสือ ท่ัวไปหลายประเภท ไม่จากัด
เฉพาะสาขาวิชาใด เช่น ห้องสมุดโรงเรียน
ห้องสมุดประชาชน เปน็ ต้น ระบบทศนิยม
ดวิ อี้ เปน็ การใชต้ วั เลขแทนเนื้อหาวิชา แบง่
ออกเป็น 10 หมวดใหญ่ แต่ละ 10 หมวด
ใหญ่ แบ่งออกเป็น 10 หมวดย่อย แต่ละ
หมวดยอ่ ยจะแบ่งเปน็ 10 หมยู่ ่อย ในแต่ละ
หมู่ย่อย จะแบ่งเป็นจุดทศนิยม โดยมี
รายละเอียดดงั นี้
ระบบทศนิยมของดวิ อี้
000-999 10 หมวดใหญ่
สรุปได้
ดงั นีจ้ ้า
เลขอารบิก
การจดั เก็บหนังสือ ระบบทศนิยมดิวอ้ี
(Dewey Decimal Classification) หรอื ระบบ D. D. C.
หมวด 000 ความรู้ท่ัวไป เบด็ เตล็ด (Generalities)
หมวด 100 ปรัชญา (Philosophy)
หมวด 200 ศาสนา (Religion)
หมวด 300 สังคมศาสตร์ (Social Science)
หมวด 400 ภาษา (Language)
หมวด 500 วิทยาศาสตร์ (Science)
หมวด 600 เทคโนโลยี (Technology)
หมวด 700 ศลิ ปะและการบันเทงิ (Arts & Recreations)
หมวด 800 วรรณคดี (Literature)
หมวด 900 ภมู ศิ าสตรแ์ ละประวัตศิ าสตร์ (Geography & History)
เลขเรยี กหนงั สือ
เลขเรียกหนงั สือ (Call Number) คือ
สัญลักษณ์ท่ีห้องสมุดกาหนดข้ึนใช้แทน
หนงั สือแต่ละเลม่ ในหอ้ งสมดุ
ซึ่ง เลขเรียกหนังสือ จะปรากฏอยู่ท่ี
สนั หนังสือ แตล่ ะเล่ม
เลขเรียกหนังสอื ประกอบด้วยสว่ นสาคญั ๆ 3 ส่วนคือ
เลขหมู่หนงั สือ อักษรช่ือผแู้ ต่ง อกั ษรชอ่ื เร่ือง
(Classification (Author Number, (Workmark)
Book Number)
Number) เป็นสัญลกั ษณ์
เปน็ สญั ลักษณ์ ได้มาจากพยัญชนะ
เปน็ สญั ลักษณ์ ไดม้ าจากพยญั ชนะ ตวั แรกของช่ือหนงั สอื
ทกี่ าหนดขึน้ เพอ่ื ตวั แรกของช่ือผ้แู ตง่
แสดงเน้อื หาสาระ
ของหนังสือ
สว่ นประกอบของ
เลขเรยี กหนงั สือ
2. อกั ษรชื่อ 025.5 1. เลขหมู่
ธ-ก หนงั สือ
ผแู้ ต่ง ฉ.1 3. อกั ษร
ชื่อเรื่อง
การจดั เรียงหนังสือบนชนั้
การจัดเรียงหนังสือบนช้ัน หมายถึง การ
จดั เก็บหนังสือบนช้ันให้ถูกต้องตามหมวดหมู่ และตาม
หลักการ จดั เรียงหนังสือบนชั้น เพื่อให้ผู้ใช้สามารถหา
หนังสือที่ต้องการได้อย่างสะดวก และ เพื่อให้เจ้าหน้าท่ี
ห้องสมุดจัดหนังสือที่มีผู้นาออกมาใช้เข้าท่ีได้อย่าง
รวดเรว็
โดยทั่วไปห้องสมุดจะแยกหนังสือภาษาไทย
กบั ภาษาองั กฤษ และแยกประเภทของหนังสือก่อนท่ีจะ
จัดขึ้นชั้น ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสืออ้างอิง หนังสือ
คู่มือ หนังสือแบบเรียน หนังสือนวนิยาย เร่ืองสั้น และ
หนังสอื สาหรบั เด็กและเยาวชน
วธิ กี ารจดั เรยี งหนังสอื บนช้นั มหี ลกั เกณฑ์ ดังน้ี
1. เรียงตามลาดับเลขเรียกหนังสือ จากเลขหมู่น้อยไปหาเลขหมู่มาก
เรยี งจากซ้ายไปขวา ทลี ะช่วงชั้น และจากชั้นบนลงชนั้ ล่าง โดยดูจากเลข
เรยี กหนงั สอื ทสี่ ันหนงั สอื ดังตวั อย่างและภาพ
ตวั อย่างการจัดเรียงหนังสือบนช้ัน
2. ถา้ เลขหมู่ซ้ากัน เรียงตามลาดับอกั ษรตวั แรกของชือ่ ผู้แตง่
3. ถ้าทัง้ เลขหมแู่ ละอกั ษรตวั แรกของชอ่ื ผูแ้ ตง่ ซา้ กนั
เรียงตามลาดบั อักษรตัวแรกของชื่อเร่ือง
4. หนงั สือชื่อเร่อื งเดียวกนั มหี ลายฉบับ เรยี งลาดบั ฉบับ หรอื Copy เชน่
5. หนงั สือชดุ ใหเ้ รียงลาดบั ตามเลม่ (Volume) เชน่
6. หนงั สือทใี่ ช้สญั ลกั ษณแ์ ทนเลขหมู่หนงั สือ ไดแ้ ก่ นวนิยาย เรอื่ งสน้ั
หนังสอื สาหรับเดก็ และ เยาวชน เปน็ ต้น ใหเ้ รียงตามลาดบั อักษรของ
ช่อื ผู้แต่งจากซ้ายไปขวา เชน่
7. หนังสือทีม่ ีสญั ลกั ษณ์พเิ ศษเพม่ิ เติมไวเ้ หนือเลขหมู่หนังสอื ได้แก่
หนงั สอื อา้ งอิง หนงั สอื คู่มือ และหนังสอื แบบเรียน ใหเ้ รยี งตามเลขหมู่
จากน้อยไปหามาก เชน่
หลกั การจดั หนงั สอื บนชั้น
บรรณารกั ษ์จะเรยี งลาดับหนังสือ บนช้นั หนังสอื ดงั น้ี
1. โดยทัว่ ไป จะแยกหนงั สือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2. เรยี งหนงั สือจากเลขหมู่น้อยไปหาเลขหมมู่ าก
3. จะเรยี งหนังสอื จากซา้ ยไปขวาทลี่ ะชอ่ งชัน้ วางหนังสอื และจากชน้ั บนลงชั้นล่าง
4. หนังสือท่ีเลขหม่ซู า้ กนั หรอื เลขหมเู่ ดียวกัน จะเรยี งตามอักษรยอ่ ของ
ช่อื ผ้แู ตง่ หรอื เลขผู้แตง่
5. หนังสอื ที่มหี ลายเลม่ ซา้ กนั ใหเ้ รยี งตามฉบับ (ฉ.)
ตามลาดบั น้อยไปมาก หรือตาม ล. 1 2 3
6. หนังสือทม่ี ีหลายเลม่ จบใหเ้ รยี ง
ตามลาดบั เลม่ ทีห่ รือเลขชุด