The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เปรม วงศ์กุลพิลาศ, 2021-03-24 02:50:36

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

รายงานผลการวิจยั ในชนั้ เรยี น

เร่อื ง
การศึกษาเจตคตขิ องผูเ้ รียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

กศน.ตาบลเฉลียง
ในเร่ืองการทางานที่ได้รับมอบหมาย/การบา้ น

โดยใชแ้ บบสอบถาม
ผูว้ ิจัย

นายปรีดี สร้างนอก

ครู กศน.ตาบลเฉลยี ง
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2557

เอกสารวิชาการหมายเลข 160 / 2557 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอครบุรี

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดนครราชสมี า

สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ยั ในชัน้ เรียน

เรอ่ื ง

การศกึ ษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
กศน.ตาบลเฉลยี ง ในเรือ่ งการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย/การบ้าน

โดยใชแ้ บบสอบถาม

ผูว้ ิจัย

นายปรีดี สรา้ งนอก

ครู กศน.ตาบลเฉลยี ง
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2557



ชือ่ งานวจิ ัย การศกึ ษาเจตคติของผู้เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตาบลเฉลียง
ในเรื่องการทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย/การบา้ น ประจาภาคเรยี นท่ี 2/2556
ชอ่ื ผวู้ ิจยั โดยใช้แบบสอบถาม
ช่ืออาจารยท์ ีป่ รึกษา นายปรดี ี สรา้ งนอก ครู กศน.ตาบลเฉลยี ง
นางวาสนา ขันตินุกูลธานนท์

บทคดั ย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น กศน.ตาบลเฉลียง ผู้วิจัยได้จัดทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาสาเหตุเจตคติของผู้เรียนความรับผิดชอบงานของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ผู้เรียนจานวน 15 ข้อ โดยให้ผู้เรียนเรียงลาดับสาเหตุ
ปัญหาตามลาดับท่ีมากท่ีสุดจนถึงน้อยที่สุดจากลาดับ 1 – 15 และได้ทาการนาผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่า ร้อยละ
แลว้ นาข้อมลู มาวเิ คราะห์และหาข้อสรปุ พร้อมทงั้ นาเสนอในรปู ของตารางประกอบคาบรรยาย เพื่อศึกษาการเจตคติ
ของผู้เรียนในเรอ่ื งการรับผิดชอบงานทมี่ อบหมายในการทากจิ กรรมการพบกลมุ่ ณ กศน.ตาบลเฉลียง
ผลการศกึ ษาปรากฏว่า จากการศึกษาและวเิ คราะห์แบบสอบถามเพอื่ ศกึ ษาเจตคติของผเู้ รียน กศน.ตาบลเฉลียง
เพือ่ ศกึ ษาเจตคติของผเู้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 103 คน ในเรื่องการไม่สง่ งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย/
การบา้ น ได้ทาใหท้ ราบถึงสาเหตทุ สี่ าคัญมากทส่ี ุด จนถึงสาเหตุท่นี อ้ ยท่ีสดุ ในการไม่สง่ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย/
การบา้ นลาดับท่ี 1 คืองานบ้านมากเกนิ ไป จากผู้เรียน 103 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 64.40 อันดับท่ี 2 เวลานอ้ ย จาก
ผเู้ รียน จานวน 103 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 59.32 อนั ดบั ที่ 3 ไม่น่าสนใจ จากผูเ้ รียน 103 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 57.62
อันดบั ท่ี 4 ออกงานชว่ ยเหลือชุมชน จากผเู้ รียน 103 คน คิดเป็น ร้อยละ 55.08 อนั ดับท่ี 5 ทากจิ กรรมของ กศน.
ตาบลมากเกินไป จากผู้เรยี น 103 คน คดิ เป็น ร้อยละ 53.38 อนั ดับท่ี 6 ไมเ่ ข้าใจคาสั่ง จากผ้เู รยี น 103 คน คดิ เปน็
ร้อยละ 53.38 อันดับท่ี 7 แบบฝกึ หดั ยากทาไม่ได้ จากผเู้ รียน 103 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 51.69 อนั ดับท่ี 8 เบอ่ื หนา่ ย
ไม่อยากทา จากผูเ้ รียน 103 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.84 อนั ดับท่ี 9 ช่วยเหลืองานผปู้ กครอง จากผู้เรียน 103 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 50 อันดบั ที่ 10 หนงั สือหาย จากผู้เรยี น 103 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 46.61 อันดับที่ 11 ลมื ทา จาก
ผเู้ รยี น 103 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.67 อนั ดับท่ี 12 ไม่มคี นคอยใหค้ าปรกึ ษา จากผเู้ รียน 103 คน คิดเป็น ร้อยละ
33.89 อันดบั ที่ 13 ไม่ได้นาสมุดมา จากผูเ้ รยี น 103 คน คิดเป็น ร้อยละ 27.96 อนั ดบั ท่ี 14 ครอู ธิบายเรว็ จาก
ผู้เรยี น 103 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.94 อันดับท่ี 15 เตรียมตัวทางานอ่นื ๆ จากผู้เรยี น 103 คน คิดเป็น ร้อยละ 8.47



กิตตกิ รรมประกาศ

การศึกษางานวิจัยในครั้งน้ี สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์จากนางวาสนา ขันตินุกูลธานนท์ อาจารย์ที่
ปรึกษา ที่ได้ให้ความช่วยเหลือ ให้ความรู้ ความคิด ให้คาแนะนา คาปรึกษาตลอดจนการตรวจแก้ไขข้อบกพร่อง
ต่างๆ เป็นอยา่ งดี จนการศึกษาวจิ ัยในครงั้ น้เี สรจ็ สมบูรณ์ ผวู้ จิ ยั ขอขอบคณุ เป็นอย่างสงู ไว้ ณ ที่นี้

ขอขอบพระคณุ ทา่ นผ้อู านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอครบุรี นางวิไล
ลักษณ์ โรจนาศรีรัตน์ ประธานท่ีปรึกษาที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ ให้คาแนะนา ให้ความรู้ ความคิดท่ีมี
ประโยชน์ และอานวยความสะดวกในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นอย่างดี และขอขอบใจนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น ของ กศน.ตาบลเฉลียงทุกคนที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการวิจัยและเก็บข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
ครง้ั น้ี จนกระทัง่ การศกึ ษาวจิ ัยคร้งั นี้เสรจ็ สมบูรณ์

นายปรดี ี สร้างนอก

ผู้วจิ ยั
ครู กศน.ตาบลเฉลียง



บทคัดยอ่ หน้า

กติ ติกรรมประกาศ ข

สารบัญ จ
1
สารบญั ต่อ 1
1
บทท่ี 1 บทนา 2
1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย 3
1.2 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 19
1.3 หลักการสาคญั ของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 20
1.4 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน.ประจาปีงบประมาณ 2557 21
1.5 บทบาทหนา้ ท่ขี องศูนย์การศึกษานอกระบบการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ 21
1.6 ศนู ย์การศึกษานอกระบบการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอครบรุ ี 21
1.7 ความสาคัญและที่มา 21
1.8 จดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัย 21
1.9 ตัวแปรทศี่ กึ ษา 22
1.10 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย
1.11 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ 23
1.12 ขอบเขตของการวิจยั
1.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 27
33
บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 34
- จิตวิทยาการศกึ ษา 35
- เจตคติ 39
- การเรยี นรู้ 39
-ทฤษฎีสง่ิ เร้าและการตอบสนอง 39
- แบบเรียนรู้แบบกาเย 39
42
บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการวจิ ยั 42
3.1 ระยะเวลาในการดาเนินงาน
3.2 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย
3.3 ข้ันตอนการดาเนินการ
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.การวิเคราะหข์ ้อมลู

สารบญั ต่อ จ
43
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 46

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 49
การอภปิ รายผล
ข้อเสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ยั ครั้งต่อไป
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
แบบสอบถาม
ประวัตผิ ู้วิจยั

บทที่ 1
บทนา

การศกึ ษาเจตคตขิ องผู้เรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลเฉลยี ง
ในเรอื่ งการทางานที่ได้รบั มอบหมายงาน /การบ้าน โดยใช้แบบสอบถาม

รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยกาหนดให้ รฐั ต้องจัดการศกึ ษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชนจดั
การศึกษาอบรมให้เกดิ ความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกย่ี วกบั การศกึ ษาแห่งชาติ ปรับปรงุ การศึกษาให้
สอดคล้องกบั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลกู ฝงั จิตสานกึ ท่ถี ูกตอ้ งเกย่ี วกบั
การเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ สนับสนนุ การค้นควา้ วจิ ยั ใน
ศลิ ปะวิทยาการตา่ งๆ เรง่ รัดการศึกษาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพอื่ การพัฒนาประเทศพฒั นาวชิ าชีพครู และ
ส่งเสรมิ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ศลิ ปะและวัฒนธรรมของชาติ รวมท้ังในการจดั การศึกษาของรัฐให้คานึงถึงการมสี ว่ น
รว่ มขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ และเอกชน ตามท่ีกฎหมายบญั ญัตแิ ละให้ความคุ้มครองการจัดการศึกษา
อบรมขององค์กรวชิ าชีพและเอกชนภายใต้การกากับดแู ลของรัฐ ดงั นนั้ จงึ สมควรมีกฎหมายว่าดว้ ยการศึกษา
แห่งชาติ เพ่ือเป็นกฎหมายแมบ่ ทในการบริหารและจดั การการศึกษาอบรมให้สอดคล้องกับบทบัญญัตขิ อง
รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย

สาหรบั นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ ารท่ีจะตอ้ งเร่งดาเนนิ งานตามนโยบายรัฐบาล และสานตอ่ งานทไ่ี ด้
ดาเนินการไว้แลว้ ประกอบด้วย 8 นโยบาย ไดแ้ ก่
1.เรง่ ปฏิรปู การเรียนร้ทู ้งั ระบบให้สมั พันธ์เชือ่ มโยงกนั เพ่ือให้ผเู้ รียนสามารถคดิ วิเคราะห์ เรยี นรู้ด้วยตนเองอย่าง
ตอ่ เน่ือง โดยปฏริ ปู ให้มีการเชื่อมโยงกนั ท้งั หลกั สูตร และการเรียนการสอนในโลกยคุ ใหม่ การพฒั นาครู ระบบการ
ทดสอบ การวัดและประเมนิ ผล โดยจะเริม่ จากวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ นอกจากนต้ี ้อง
พฒั นาผลการทดสอบโครงการประเมินผลนักเรยี นนานาชาติ หรือ PISA ของนกั เรยี นไทยใหอ้ ย่ใู นอนั ดบั ที่ดขี ้ึน
อย่างไรก็ตามยนื ยันว่าการปฏิรูปหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานกจ็ ะต้องเดินหนา้ ต่อไป เพราะการทไ่ี ทยจะสามารถ
ยนื อยูบ่ นเวทีการแข่งขันของนานาชาตไิ ด้ จะตอ้ งมีการปฏิรูปการศกึ ษา และการพัฒนาคนทด่ี ี
2.ปฏิรปู ระบบผลติ และพัฒนาครู โดยจานวนการผลิตจะตอ้ งสอดคลอ้ งกับความต้องการ มคี วามรู้ ความสามารถใน
การจัดการเรยี นการสอนในโลกยุคใหม่ มกี ารพัฒนาระบบประเมนิ วทิ ยฐานะครูให้เชือ่ มโยงกับผลสัมฤทธ์ขิ อง
ผู้เรียน ดูแลระบบสวสั ดกิ ารครเู พื่อเพมิ่ ขวัญและกาลังใจ
3.เรง่ นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารมาใช้ในการปฏริ ปู การเรยี นรู้ สรา้ งมาตรฐานการเรียนการสอน และ
การพัฒนาครู การพัฒนาเนอื้ หาสาระ เพ่อื เป็นเคร่ืองมือให้เกดิ ระบบการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต
4.พฒั นาคณุ ภาพการอาชวี ศึกษาใหม้ ีมาตรฐานเทียบได้กบั ระดบั สากล โดยจะต้องผลักดันกรอบคุณวุฒิวิชาชีพตาม
กรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ เพื่อนามาใชก้ าหนดทกั ษะ ความรู้ความสามารถให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของผใู้ ช้ เพื่อ
การมงี านทา มีความกา้ วหน้า และมีคา่ ตอบแทนตามทักษะ ความรู้ ความสามารถ อีกท้ังตอ้ งมีมาตรการจูงใจให้
เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพฒั นาสถานศกึ ษาในลกั ษณะทวิภาคี เพ่ือเพมิ่ สัดส่วนผู้เรยี นอาชวี ศึกษา:สามญั ให้

เปน็ 50:50
5.ส่งเสรมิ ให้สถาบันอุดมศึกษาเรง่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน มากกวา่ การขยายเชิงปรมิ าณ ต้องมีการวิจยั และ
พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี ต้องมีการจัดอนั ดับสถาบนั อุดมศกึ ษา เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือพัฒนาคณุ ภาพและ
มาตรฐาน และจัดสรรทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพอื่ พัฒนาส่กู ารเป็นมหาวทิ ยาลยั ระดับโลก
นอกจากน้ีต้องพัฒนาให้มหาวทิ ยาลัยไทยตดิ อนั ดบั โลกมากขึน้ เพราะปจั จบุ ันการจัดอันดบั มหาวทิ ยาลยั โลกของ
องคก์ รนานาชาติ พบว่าในกลุม่ 351-400 มีมหาวิทยาลัยไทยตดิ อันดบั เพยี งแหง่ เดียวเท่านน้ั ดงั น้ันต้องมาดวู า่
มหาวิทยาลัยทเ่ี หลือมีคุณภาพในการจดั การเรียนการสอน และผลติ บณั ฑติ อย่างไร ซึง่ ขณะนีค้ าตอบในเรือ่ งน้ียังไม่
มใี ครรู้
6.สง่ เสริมให้เอกชนและทกุ ภาคส่วนเขา้ มาร่วมจดั และสนับสนนุ การศึกษามากข้นึ โดยรัฐจะเขา้ ไปกากบั ควบคุม
เทา่ ทจี่ าเป็น เพือ่ รกั ษาคุณภาพมาตรฐาน
7.เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพ ให้แกป่ ระชาชนทุกกล่มุ อายุ โดยเฉพาะผ้ดู อ้ ยโอกาส และ
พิการ ขณะเดยี วกันจะต้องใช้กองทุนเงนิ ใหก้ ้ยู มื ท่ีผูกกับรายได้ในอนาคต หรือ กรอ. เป็นกลไกในการพฒั นา
คุณภาพ เพือ่ เพิม่ โอกาสและผลิตบณั ฑิตให้สอดคล้องกบั การพัฒนาประเทศ
8.ใหค้ วามสาคัญกบั การพัฒนาการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ให้สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
อตั ลกั ษณ์ ตามความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ โดยใหค้ วามสาคญั กับความปลอดภยั การสรา้ งขวัญกาลังใจ
ใหแ้ กน่ ักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

ท้ังนี้ เพอื่ ให้นโยบายบรรลุเป้าหมายตามท่กี าหนดไว้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จึงไดก้ าหนด 5 กลไกขบั เคล่อื น
ประกอบดว้ ย 1.เรง่ จัดต้ังสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 2.จัดตัง้ สถาบันวิจัยหลกั สตู ร และพัฒนาการเรยี นการ
สอน รวมถงึ การพัฒนาองค์ความร้แู ละนวตั กรรมการเรยี นการสอน 3.สรา้ งความเข้มแข็งของกลไกวดั ผล
ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล 4.เร่งรัดใหม้ พี ระราชบญั ญัตอิ ดุ มศึกษา เพื่อประกันความเปน็ อิสระ และความ
รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม และ 5.เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ และใชท้ รัพยากรให้เกิดประโยชน์สงู สุด
นอกจากน้ียงั ไดก้ าหนด 2 แนวทางบริหาร ประกอบด้วย 1.ตั้งคณะกรรมการ/คณะทางาน เพ่อื ขับเคล่อื นเรื่องสาคัญ
ตา่ งๆ โดยระดมภาคสว่ นตา่ งๆ มารว่ มขบั เคลอ่ื นอย่างเป็นรปู ธรรม เรม่ิ ตน้ จากคณะกรรมการเพื่อยกระดับ
ผลสมั ฤทธิ์จากการทดสอบ PISA และ 2.จัดประชุมปฏิบัติการอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อการระดมความคิดเห็น และการมี
สว่ นรว่ มในการขบั เคลอ่ื นตามนโยบาย

หลักการสาคัญของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจ
สาคัญที่มุ่งให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาพ้ืนฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ตาม
มาตรฐานของสังคมซงึ่ เปน็ สิทธทิ ค่ี นทกุ คนพงึ ได้รับ นอกจากน้ันยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจากการศึกษา
พื้นฐาน เพ่อื นาความรู้ไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด การจัดกระบวนการ
เรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงควรยึดหลักการสาคัญ 5 ประการ คือ 1) หลักความเสมอ
ภาคทางการศึกษา 2) หลักการพฒั นาตนเองและการพ่งึ พาตนเอง 3) หลักการบรู ณาการการเรียนรแู้ ละวิถีชวี ติ
4) หลักความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และ 5) หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ดงั น้ี

1 หลักความเสมอภาคทางการศึกษา กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เป็นผู้พลาดโอกาส และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซ่ึงอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคม
อาชีพเศรษฐกิจ และข้อจากัดต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวน การเรียนรู้ต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติ หากแต่
สร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูอ้ ย่างเทา่ เทียมกนั

2 หลกั การพัฒนาตนเองและการพ่ึงพาตนเอง การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จะต้องจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตนสามารถเรียนรู้ เกิด
ความสานึกท่จี ะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคิดเป็น ปรับตัวเพ่ือให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเรียน
รู้อยู่ตลอดเวลา เรียนด้วยตนเอง พ่ึงพาตนเอง เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอย่างเป็นสุขท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของ
สงั คม

3 หลกั การบูรณาการการเรียนรแู้ ละวิถีชวี ติ หลักการนี้อยู่บนพ้ืนฐานของการจัดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์
กับสภาพปัญหา วิถีชีวิต สภาพแวดล้อม และชุมชนท้องถ่ินของผู้เรียน ซึ่งเป็นหลักการท่ีสาคัญในการจัดทา
หลกั สตู ร สงิ่ ดังกลา่ วสง่ ผลโดยตรงตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ เปน็ ลกั ษณะของการบรู ณาการจึงมคี วามเหมาะสม
โดยบูรณาการสาระต่าง ๆ เพอ่ื การเรียนรู้ และบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตของผู้เรียนอย่างเปน็ องคร์ วม

4 หลกั ความสอดคลอ้ งกบั ปญั หาความตอ้ งการและความถนดั ของผู้เรียน หลักการน้ีเป็นการส่งเสริม
ให้ผู้เรียนรู้จักความต้องการของตนเอง สามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม ครู กศน.มีบทบาทใน
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนร่วมกาหนดวัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้
วิธกี ารเรียนและการประเมินผลการเรยี นรู้ของตนเองซ่งึ เปน็ กระบวนการการศึกษาทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

5 หลักการเรียนรรู้ ่วมกนั และการมสี ว่ นร่วมของชุมชน การเรยี นรูร้ ว่ มกันในกลุ่มผู้เรียน นับว่าสาคัญ
เปน็ การสง่ เสริมและสร้างกลั ยาณมติ รในกลมุ่ ผู้เรยี น ก่อให้เกิดความร่วมมอื ความผูกพัน เอ้อื อาทร การช่วยเหลือซ่ึง
กันและกัน ปลกู ฝงั วินัยในตนเอง ฝกึ ความรบั ผิดชอบ ซ่งึ เปน็ สิง่ ทค่ี วรเกดิ ขน้ึ สาหรับผู้เรยี นทม่ี ีวุฒิภาวะ สาหรับการ
มีสว่ นรว่ มของชุมชน ก็นับว่าเป็นหลักการสาคัญในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ชุมชน
สามารถเข้ามาร่วมในการจัดทาหลักสูตร การจัดสรรทรัพยากรเป็นแหล่งเรียนรู้ และสนับสนุนในเรื่องอื่น ๆ เพ่ือ
พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของชมุ ชนต่อไป

(รา่ ง)นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน.
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗

วิสยั ทัศน์
คนไทยได้รับการศกึ ษาตลอดชวี ิตและการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาท่ีมคี ุณภาพได้ทุกที่ ทุกเวลา อยา่ ง

ทั่วถงึ และเทา่ เทยี มกนั เพ่ือให้เกิดสังคมฐานความรู้ การมีอาชพี และการมีความสามารถเชงิ การแข่งขนั ในประชาคม
อาเซียนอย่างยงั่ ยืน
พนั ธกิจ

๑. จัดและส่งเสริมการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทมี่ คี ณุ ภาพเพ่ือยกระดับการศกึ ษา
สมรรถนะในการเรยี นรแู้ ละการแกป้ ัญหา พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวติ และสังคม และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซยี น ของประชาชนอย่างท่วั ถึงและเท่าเทียม

๒. สง่ เสริมและสนับสนุนการมสี ว่ นร่วมในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
ของภาคเี ครือขา่ ยทง้ั ในและต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี นเพื่อผนกึ กาลังในการพัฒนา
คณุ ภาพของประชากร

๓. พฒั นาสอ่ื และเทคโนโลยที างการศึกษา และสง่ เสรมิ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้
ในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
เพื่อให้ร้เู ทา่ ทนั ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๔. ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของชุมชน โดยการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของคนในชุมชน
และการส่งเสริมบทบาทของภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้และการดาเนนิ กจิ กรรมของศูนยก์ าร
เรียนในรูปแบบตา่ งๆ

๕. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหส้ ามารถดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เพื่อสง่ เสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
เปา้ ประสงค์

๑. คนไทยไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มีคุณภาพ
อยา่ งท่ัวถึงและเท่าเทยี ม

๒. ประชากรวัยแรงงานมีระดบั การศกึ ษาและคณุ ภาพชวี ิตท่ีสูงขน้ึ และมอี าชพี ท่สี ามารถสร้างรายได้
ให้กบั ตนเองและครอบครัวอยา่ งย่งั ยนื บนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเศรษฐกิจเชิงสรา้ งสรรค์

๓. ชุมชนมีฐานอาชพี ที่กว้างและหลากหลาย สามารถพัฒนาไปสู่ระดบั วสิ าหกิจชมุ ชนทมี่ คี วามสามารถ
เชิงการแขง่ ขัน มีความเชื่อมโยงอยา่ งเป็นระบบ และสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจและความเข้มแขง็ ของชมุ ชน

๔. ประชาชนมีเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ และสามารถประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสมในการเรียนรู้
แก้ปัญหา และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตและสงั คมอยา่ งสรา้ งสรรค์

๕. ประชาชนมคี วามรูแ้ ละทักษะดา้ นภาษาอังกฤษ ภาษาจนี และภาษากลุ่มประเทศอาเซยี น รวมทั้งความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกบั ภมู ิภาคและความเป็นประชาคมอาเซียน

๖. องค์กรภาคสว่ นตา่ งๆ ท้งั ในและต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างย่งิ ในกลมุ่ ประเทศอาเซียนร่วมเป็นภาคี
เครือขา่ ยในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งกวา้ งขวางและต่อเนื่อง

๗. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาสอ่ื และเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพมาใช้ในการจดั กิจกรรม
สง่ เสริมการเรยี นรูใ้ ห้แกก่ ลมุ่ เปา้ หมายและประชาชนทัว่ ไปอย่างท่วั ถึง

๘. หน่วยงานและสถานศกึ ษานาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารท่มี คี ุณภาพมาใช้ในการเพมิ่
ประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิผล

๙. ชุมชนได้รับการสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ มกี ิจกรรมเพือ่ แก้ปัญหาและพัฒนาชมุ ชน
โดยใชร้ ปู แบบการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยมี กศน.ตาบลและศนู ย์การเรียน
ชมุ ชนต่างๆ เปน็ กลไกสง่ เสริมการเรยี นรู้

๑๐. หน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจัดการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่
มีประสทิ ธิภาพ
ตวั ช้วี ดั

๑. ร้อยละของคนไทยกลุ่มเป้าหมายกล่มุ ต่างๆ (เช่น กลุ่มเด็ก กลมุ่ เยาวชน กลุม่ วยั แรงงาน กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ
กลุ่มคนพกิ าร กลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาส กลุ่มชาตพิ ันธชุ์ นกลมุ่ นอ้ ย กลุ่มคนไทยในตา่ งประเทศ กล่มุ คนไทยทวั่ ไป เป็นต้น)
ทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้/ได้รบั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ที่สอดคล้องกบั สภาพ
ปัญหาและความต้องการ

๒. จานวนประชากรวัยแรงงาน (อายุ ๑๕ – ๕๙ ปี) ทไี่ ด้รับการพัฒนาสมรรถนะใหเ้ ป็น
ผอู้ ่านออกเขยี นได้

๓. จานวนประชากรวยั แรงงาน (อายุ ๑๕ – ๕๙ ป)ี กลุ่มเปา้ หมายที่เรียนในระดบั
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานการศกึ ษานอกระบบ

๔. จานวนประชากรวยั แรงงาน (อายุ ๑๕ – ๕๙ ป)ี กล่มุ เปา้ หมายท่ีได้รับบริการ
การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ และการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง และเศรษฐกิจเชงิ สร้างสรรค์

๕. ร้อยละของชมุ ชน (ตาบล/หมบู่ ้าน) เปา้ หมายทีป่ ระชาชนในพน้ื ทีท่ ไ่ี ด้รบั การอบรม
หลกั สูตร การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทาแล้ว สามารถจัดตง้ั กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชน ระดับตาบล/
หมูบ่ ้านได้

๖. จานวนประชาชนกลุ่มเปา้ หมายท่ีได้รับบริการการเรียนรู้/รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรทู้ าง
วทิ ยาศาสตรข์ องศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษา

๗. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายท่ไี ด้รบั บริการการเรียนรู้/ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้
ทางวิทยาศาสตร์ของศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาแลว้ มีการพฒั นาเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ และ
มองเห็นแนวทางการนาไปใช้ในการดารงชีวติ ได้

๘. จานวนประชาชนกลมุ่ เป้าหมายที่ไดร้ บั การศึกษาอบรมในหลักสตู รภาษาองั กฤษ
ภาษาจีน ภาษากลมุ่ ประเทศอาเซียน และความเข้าใจเกี่ยวกับภมู ภิ าคและความเปน็ ประชาคม
อาเซยี น

๙. จานวนองค์กรภาคสว่ นตา่ งๆ ในกล่มุ ประเทศอาเซยี นท่ีร่วมลงนามในบนั ทกึ ข้อตกลง

ความร่วมมือ (MOU) ในการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกบั ประเทศไทย
๑๐. รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศกึ ษา กศน. ที่มกี ารพัฒนา/วิจยั และพฒั นาสื่อและ

เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนร้ขู องผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

๑๑. ร้อยละของผเู้ รียน/ผู้เข้ารับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ท่ีมคี วามพึงพอใจในคณุ ภาพและปริมาณ/ความหลากหลายของสื่อการเรยี นรทู้ หี่ น่วยงานและ
สถานศึกษา กศน. จัดบรกิ าร

๑๒. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ท่ีมีการบรหิ ารจดั การ และพฒั นา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพือ่ สนับสนนุ การดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยขององค์กร

๑๓. ร้อยละของ กศน. ตาบล และศูนย์การเรียนรู้ชุมชน (ศรช.) ท่จี ัดกิจกรรมการเรยี นรู้
เพื่อการพัฒนาชมุ ชน โดยใช้ปญั หาของชมุ ชนเป็นศนู ย์กลาง

๑๔. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ท่สี ามารถดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม
ตามบทบาทภารกิจท่ีรับผดิ ชอบไดส้ าเร็จตามเป้าหมายทกี่ าหนดไว้โดยใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยัด/
ตามแผนทกี่ าหนดไว้

นโยบายเรง่ ด่วน
๑. สง่ เสริมการอา่ นและเพ่มิ อัตราการรหู้ นังสอื ของคนไทยใหส้ ามารถอา่ นออกเขยี นได้
๑.๑ เรง่ พัฒนาเครื่องมือสารวจและประเมนิ ระดบั การร้หู นังสอื ไทย และดาเนินการ

สารวจและประเมินระดบั การรหู้ นังสอื ของประชากรวยั แรงงานผไู้ ม่รหู้ นงั สอื ในทุกพืน้ ที่ โดยเน้น
กลมุ่ เปา้ หมายอายุ ๑๕-๕๙ ปี เพือ่ นามาจัดทาฐานข้อมูลผูไ้ มร่ ูห้ นงั สือท้งั ในระดับพื้นท่ีและส่วนกลางให้มีความเป็น
ปจั จุบนั ถกู ตอ้ ง และเป็นระบบเดียวกนั พรอ้ มทง้ั ใหก้ าหนดเปา้ หมายการ
พฒั นาประชากรให้รูห้ นงั สอื ไทยเปน็ รายไตรมาส

๑.๒ เร่งจัดการศึกษาให้ผู้ไม่รู้หนังสือตามผลการสารวจและประเมินระดับการรู้หนังสือไทย ให้สามารถ
อ่านออกเขยี นได้ โดยใช้หลักสูตรการรหู้ นังสอื ไทยของสานักงาน กศน.และ
สื่อทีเ่ หมาะสมกบั สภาพ และพนื้ ที่ของกลุ่มเป้าหมาย

๑.๓ เรง่ พฒั นาสมรรถนะของครู กศน.และภาคีเครือขา่ ยที่ร่วมจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การ
รู้หนังสือ โดยให้มีความรู้และความเข้าใจวิธีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย
ของสานักงาน กศน. และมีทกั ษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ใหก้ บั ผู้ไมร่ ้หู นังสอื อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๑.๔ ม่งุ เน้นใหส้ ถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรหู้ นงั สือ การคงสภาพการรู้หนังสอื
การพัฒนาทักษะการรู้หนงั สอื และการพฒั นาทกั ษะด้านคอมพวิ เตอรพ์ น้ื ฐานเพอื่ เป็นเครือ่ งมือใน
การส่งเสริมการศึกษาและการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ ของประชาชน

๒. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศกึ ษาให้ประชาชนทกุ กล่มุ เป้าหมาย โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารทีม่ ีคณุ ภาพ

๒.๑ พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ดว้ ยระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร

๑) สนบั สนนุ โครงสรา้ งพ้นื ฐานและอุปกรณด์ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทเ่ี หมาะสม
สาหรับสถานศึกษา และ กศน.ตาบล เพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ าร การจัดกิจกรรมและการให้บริการการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาหรับกลุม่ เป้าหมายได้อย่างทัว่ ถึง มีคุณภาพ และทนั เวลา

๒) พัฒนาระบบบริหารจดั การการเรียนรู้ (Learning Management Systems: LMS) บนเครือขา่ ย
อนิ เทอร์เน็ต ท่ีใช้ประโยชนส์ าหรับการรับสมคั ร การข้นึ ทะเบียนนกั ศกึ ษาการจัดการเรียนการสอน การวัดและ
ประเมนิ ผล เพ่ือเพ่มิ และกระจายโอกาสทางการศึกษาแกป่ ระชาชน

๓) พัฒนาและเผยแพรส่ อ่ื การศึกษาตามอธั ยาศัยด้วยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารแบบ
ออนไลน์ เพือ่ สง่ เสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการศึกษาตลอดชีวิตของประชาชน

๔) พัฒนาบุคลากรทเี่ กย่ี วข้องกับระบบบรหิ ารจดั การการเรียนรู้ (LearningManagement Systems: LMS)
ให้สามารถใชร้ ะบบเพอื่ จัดการเรยี นรู้แกก่ ลุ่มเปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๒.๒ ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่อื เพม่ิ ผลสัมฤทธิท์ าง
การศกึ ษา

๑) พัฒนาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีสามารถใช้ระบบบริหารจดั การการ
เรียนรู้ (Learning Management Systems: LMS) เป็นเครื่องมือในการจัดการเรยี นรู้ การใหบ้ รกิ ารทางการศึกษา ท่ี
เป็นประโยชนก์ ับการยกระดับและการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบ และเพมิ่ โอกาสและกระจายโอกาสทาง
การศึกษาใหก้ บั ประชาชน

๒) จัดต้งั ศนู ยส์ อ่ื กศน. (ONIE Media Centre) ระดบั ภมู ภิ าคและระดับประเทศ ท่ีเปน็ ศูนย์ผลิตและเผยแพร่
สอ่ื กศน.ที่มคี่ ณุ ภาพ เพอ่ื ใหบ้ ริการกบั กลุม่ เป้าหมายได้อยา่ งท่ัวถึง

๓) จัดตงั้ ห้องปฏบิ ัติการทางภาษาในสถานศกึ ษา ที่ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเป็นเครอื่ งมือ
สาหรับการจัดการเรียนการสอน และการให้บรกิ ารอนื่

๒.๓ ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยเพอ่ื ยกระดบั การศกึ ษาของประชาชนทุกกลุม่ เป้าหมาย

๑) พฒั นารปู แบบการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบดว้ ยการใชร้ ะบบการสอบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-
exam)

๒) พฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ อิเล็กทรอนกิ ส์ใหเ้ ชื่อมโยงกบั ระบบบรหิ ารจดั การการเรยี นรู้
(Learning Management Systems: LMS)

๓) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ใหม้ คี วามทันสมยั มหี ลกั สูตรและสาระการเรยี นรู้ท่ี
หลากหลาย และสถานศึกษา กศน.สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ให้กับกลมุ่ เปา้ หมายได้อย่างเหมาะสม

๔) พฒั นาระบบชอ่ งทางแหลง่ เรียนรูอ้ อนไลน์ (Portal Web) ท่ีมีเนื้อหาสาระทหี่ ลากหลาย เพื่อเพ่มิ โอกาส
การเรียนรู้ใหก้ ับประชาชน

๕) พฒั นาบ้านหนงั สืออัจฉริยะใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรู้อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
๓. ยกระดบั คณุ ภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ
๓.๑ เร่งพฒั นาและปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน ใหม้ กี ารเรยี นและการทากจิ กรรมวิชาการเพือ่ เสรมิ และเตมิ
เตม็ ความรอู้ ย่างหลากหลายและต่อเนื่อง

๓.๒ เรง่ พฒั นาเกณฑส์ มรรถนะของครู กศน. และพฒั นาครู กศน.ให้มสี มรรถนะตามเกณฑ์ท่ีกาหนด โดย
ใชก้ ระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตรการเรยี นรู้ออนไลน์ รวมทงั้ จัดใหม้ กี ารประเมนิ สมรรถนะบุคคลดังกล่าว
ก่อนเข้าทางาน กศน. และใหม้ ีการจดั ทาคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านของครู กศน.เพ่อื ให้ครู กศน.ทกุ คนได้นาไปใช้เป็น
กรอบแนวทางในการปฏิบัติงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๓.๓ พัฒนาครู กศน. ให้เป็นท้ังผสู้ อนและผู้ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ กศน.ทสี่ ามารถเลอื กใช้สอื่
เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมและบรู ณาการวิธกี ารเรยี นร้อู ยา่ งหลากหลายโดยเนน้ การเรียนร้ผู า่ นโครงงาน (Project -
based learning) และกระบวนการเรยี นท่ีเน้นการคิดวเิ คราะห์และการแก้ปัญหา โดยผเู้ รยี นสามารถสรา้ ง
กระบวนการเรียนรู้และแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง

๓.๔ เรง่ จดั หา รวบรวม และพัฒนาสอื่ เสริมการเรียนรู้ ในรปู แบบทหี่ ลากหลายท้ังสื่อเอกสารและสอ่ื
เทคโนโลยี พร้อมท้ังจดั ทาสรปุ สาระสาคัญของแต่ละรายวชิ า เพื่อความสะดวกในการเผยแพร่ จัดทาแบบฝกึ หดั เพอ่ื
ทบทวนความรู้ ท่ีสามารถเพิ่มความหลากหลายของส่ือการเรียนและพัฒนาศนู ยส์ อ่ื กศน. (ONIE Media Centre) ท่ี
สามารถเขา้ ถึงไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา

๓.๕ พฒั นาและบริหารจัดการระบบ TV กศน. /โทรทัศน์ช่อง ติวเตอร์ กศน. วทิ ยุและอินเทอร์เน็ต ใหเ้ ปน็
เครื่องมือในการจดั การเรยี นรู้ทส่ี ามารถเขา้ ถึงไดง้ า่ ย และสะดวกต่อการเรยี นรู้ด้วยตนเอง

๓.๖ พฒั นาระบบสะสมผลการเรียนและระบบการสอบอเิ ล็กทรอนกิ ส์(e-Exam) ให้มมี าตรฐานเพ่ือเพิม่
โอกาสทางการศึกษาขัน้ พื้นฐานท่มี คี ณุ ภาพใหก้ บั ประชากรวัยแรงงานท่ียงั ไม่จบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

๓.๗ เสรมิ สรา้ งความรว่ มมือกบั ภาคเี ครือขา่ ยท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ และ
อืน่ ๆ เพอ่ื สรา้ งความรู้ความเข้าใจและร่วมมือกันในการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้ตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา

๔. ยกระดับการฝกึ อบรมอาชีพและ “ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน” เพื่อผลติ กาลังคนท่ีมีศกั ยภาพในการแขง่ ขัน
รองรบั การเข้าสรู่ ะบบการคา้ เสรีของประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

๔.๑ พฒั นาคุณภาพการฝกึ อบรมอาชีพในศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชนไปสู่ระดบั วิสาหกิจชุมชน
๑) พฒั นาบุคลากร กศน. ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดเี กี่ยวกบั การบริหารจัดการธรุ กจิ
และสามารถจดั และส่งเสรมิ การจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือการมอี าชีพใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒) พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรู้และการฝกึ อบรม ท่ีเน้นการปฏบิ ัติการศึกษาดูงานเพ่ือเรียนรโู้ ลก
อาชีพ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับผู้มีประสบการณ์ในอาชพี โดยตรง การฝึกประสบการณอ์ าชีพจากการปฏบิ ัติจรงิ ทั้ง
จากสถานท่ี และกิจกรรมต่างๆ อาทิสถานศึกษา สถานประกอบการ กจิ กรรมจติ อาสา มหกรรมงานอาชีพ เพือ่ ให้
ผู้เรยี นมีความร้คู วามเข้าใจท่ีถกู ตอ้ ง มที กั ษะและเจตคติท่ีดใี นการประกอบอาชีพ สามารถนาไปประกอบอาชพี ได้
จรงิ และมศี กั ยภาพในการแขง่ ขัน รองรบั การเขา้ สรู่ ะบบการคา้ สากลและการคา้ เสรี ของประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
๓) พฒั นาศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชนให้เปน็ ศูนยฝ์ กึ อบรม สาธิต แสดง จาหน่ายและกระจายสนิ ค้าและบรกิ าร
ของชมุ ชน รวมทง้ั เป็นศูนยเ์ รียนรู้ภมู ิปัญญา และศนู ย์บรกิ ารข่าวสารข้อมูล สาหรับชุมชนทช่ี ุมชนสามารถใช้
ประโยชนไ์ ด้จริง
๔) ประสานการดาเนินงานกับศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชนและแหลง่ เรียนรู้ ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาอืน่
ตลอดจนภาคเอกชน และภาคเี ครือขา่ ยอนื่ ในพื้นท่เี พ่ือเชื่อมโยงเป็นเครือขา่ ยการฝึกและสรา้ งอาชพี ของประชาชน
และชมุ ชนในจังหวัด กลุ่มจงั หวัด และระหวา่ งจังหวดั

๕) เรง่ รัดพฒั นาระบบแนะแนว ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ แหล่งทนุ ต่างๆ สาหรับ
เปน็ ช่องทางในการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งและการพฒั นาขดี ความสามารถในการแขง่ ขันด้านอาชพี อย่างต่อเนื่อง

๖) กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล วิจยั และพฒั นานวัตกรรม การจัดการศึกษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาอยา่ งเป็น
ระบบ และนาผลท่ไี ดม้ าใช้ในการพัฒนาคุณภาพการดาเนินงานให้เป็นไปตามความต้องการด้านการศกึ ษาอาชพี
เพ่ือการมีงานทาของประชาชน ของตลาดและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ

๔.๒ พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาสายอาชพี เพือ่ การเข้าสกู่ ารอาชีวศึกษา
๑) พฒั นาและจดั ทาหลกั สตูรการศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาท่เี ปน็ มาตรฐานและผู้เรียนสามารถสร้าง
อาชีพ สร้างรายได้จากการประกอบอาชีพได้จริง
๒) สง่ เสริมและสนบั สนุนการนาความรู้และประสบการณ์จากการเรยี นรู้อาชพี ไปเทียบระดับการศึกษา
และเทียบโอนความรู้สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน หรือเข้าสู่การศกึ ษาสายอาชวี ศกึ ษา
๓) ประสานความร่วมมอื กบั สถาบันอาชวี ศกึ ษา และสถานประกอบการในลักษณะไตรภาคเี พื่อการสง่ ต่อ
ผู้เรียนหลักสตู รการศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทาของ กศน.เข้าสูห่ ลักสตู รอาชีวศึกษาได้อยา่ งต่อเน่ืองเป็นระบบ
๔) พฒั นาระบบแนะแนวการศึกษาเพื่อส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี น/นักศกึ ษาทอ่ี อกกลางคนั และ
นักเรยี น/นกั ศึกษาท่ีไม่ประสงคจ์ ะศึกษาต่อ และประชาชนทว่ั ไป เหน็ ช่องทางและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือ
การประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อระดับอาชวี ศึกษา
๕) กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล วิจัยและพฒั นานวัตกรรมการศกึ ษาสายอาชพี ของ กศน. และนาผลมาใช้ใน
การพัฒนาคณุ ภาพการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง
๕. จัดต้งั ศนู ย์อาเซียนศึกษา กศน.อาเภอ/เขต
๕.๑ เร่งสารวจความต้องการดา้ นการพฒั นาทกั ษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาจนี ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาในกลมุ่ ประเทศอาเซียน) และความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับกลมุ่ ประเทศอาเซียนเพื่อนามากาหนดหลักสตู ร
การศึกษาต่อเนื่องดา้ นอาเซยี นสาหรบั กลมุ่ เป้าหมายตามบริบท
และความต้องการของแตล่ ะพ้นื ที่
๕.๒ เร่งพัฒนาและจดั ทาหลักสูตร สอ่ื แบบเรียนการศกึ ษาตอ่ เน่อื งดา้ นภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน
ภาษาอังกฤษ และภาษาในกลมุ่ ประเทศอาเซียน) และความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั กล่มุ ประเทศอาเซยี นทีส่ อดคล้อง
กบั ความตอ้ งการของผู้เรียน เพอื่ เสรมิ สรา้ งขีดความสามารถของกลุ่มเปา้ หมายโดยเฉพาะกลมุ่ เป้าหมายสตรใี นทุก
กลมุ่ อาชีพ ให้สามารถใช้ภาษาตา่ งประเทศได้อย่างน้อย ๑ ภาษาตามบริบทและความตอ้ งการของแตล่ ะพ้นื ที่ และมี
ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั กลมุ่ ประเทศอาเซียน
๕.๓ จัดให้มศี ูนย์อาเซียนศกึ ษา อาเภอ/เขต ละ ๑ แหง่ เพื่อเป็นแหล่งเรยี นรแู้ ละพฒั นาทกั ษะการใช้
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาจนี ภาษาอังกฤษ และภาษาในกลมุ่ ประเทศอาเซียน)และความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั กลุ่ม
ประเทศอาเซยี น โดยจัดเปน็ ห้องเรยี น แหล่งการเรยี นร้ศู ูนย์บริการหลักสูตร สือ่ แบบเรยี น ทมี่ บี รรยากาศทีเ่ อื้อต่อ
การเรียนรู้
๕.๔ ประสานการดาเนินงานกบั หนว่ ยงานและภาคเี ครือข่าย เพอ่ื ร่วมดาเนินการยกระดับความสามารถ
ด้านภาษาตา่ งประเทศและความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั กลุ่มประเทศอาเซียนใหก้ บั กล่มุ เปา้ หมายโดยเฉพาะ
กลุม่ เป้าหมายสตรเี พ่ือให้สามารถใชท้ กั ษะดา้ นภาษาและความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกบั กลุ่มประเทศอาเซียนเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาอาชีพและชมุ ชนให้มีความพร้อมในการกา้ วเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๕.๕ จัดใหม้ กี ารกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งดา้ น
ภาษาต่างประเทศและความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับกลุม่ ประเทศอาเซยี น พรอ้ มท้งั นาผลท่ีไดม้ าใชใ้ นการพฒั นา
คุณภาพการดาเนนิ งานให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและบริบทของพ้ืนท่ี

นโยบายตอ่ เนื่อง
๑. นโยบายดา้ นการศกึ ษานอกระบบ
๑.๑ จัดและสนับสนุนการศกึ ษานอกระบบตงั้ แต่ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
๑) พัฒนาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานที่มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนสามารถนาสาระการ

เรยี นรแู้ ละวิธกี ารเรยี นร้ไู ปใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต
โดยรวม และสรา้ งเสรมิ สมรรถนะการประกอบอาชพี ทีส่ ามารถสร้างรายได้อย่างมน่ั คง

๒) ดาเนินการให้ผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานได้รบั การสนับสนนุ คา่ จดั ซ้ือตารา
เรียน คา่ จดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน และค่าเล่าเรยี นอย่างทว่ั ถงึ และ
เพียงพอเพ่ือเพ่ิมโอกาสในการรับการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพโดยไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ย

๓) จดั หาตาราเรยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานทีม่ คี ุณภาพตามทส่ี านกั งาน กศน. ให้
การรบั รองคณุ ภาพให้ทันต่อความต้องการของผู้เรยี น พร้อมทงั้ จัดให้มีระบบหมุนเวียนตาราเรยี น เพ่ือเปดิ โอกาส
ใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ คนสามารถเข้าถึงการใช้บริการตาราเรยี นอยา่ งเทา่ เทยี มกนั

๔) ขยายการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานทม่ี คี ณุ ภาพใหก้ ับประชากรวัยแรงงานท่ีไม่
จบการศกึ ษาภาคบงั คับและไมอ่ ยู่ในระบบโรงเรียน โดยเฉพาะผดู้ ้อยโอกาสกลุม่ ต่างๆ ดว้ ยวธิ เี รียนที่หลากหลาย
และการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

๕) สง่ เสริม สนับสนนุ และเร่งรัดให้ กศน.อาเภอทกุ แห่งดาเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
รวมทัง้ ผลการเรยี นอย่างเปน็ ระบบได้มาตรฐาน สอดคลอ้ งกับหลักสตู รเพอื่ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้กบั
ประชาชนอย่างกว้างขวาง

๖) พัฒนาระบบฐานข้อมลู รวมของนกั ศกึ ษา กศน.ใหม้ คี วามครบถว้ น ถกู ตอ้ งทันสมัย และเช่อื มโยงกนั ทั่ว
ประเทศ สามารถสบื ค้นและสอบทานไดท้ นั ความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาใหก้ ับผูเ้ รยี นและการ
บริหารจดั การอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๗) จัดใหม้ ีวธิ ีการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย เน้นการฝึกปฏิบตั ิจริงโดยกาหนดให้ผู้เรยี นทกุ ระดบั การศึกษาต้อง
เรียนรู้และปฏิบัตกิ ิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดหลกั สตู ร ไมน่ อ้ ยกว่า๒๐๐ ชว่ั โมง (เฉล่ียภาคเรยี นละ ไม่น้อย
กว่า ๕๐ ชว่ั โมง) และใหผ้ ู้เรียนมเี วลาเรยี นสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า ๙ ชวั่ โมง โดยให้เรียนกบั ครูหรือวิทยากรสอน
เสริมอย่างน้อย ๖ ชัว่ โมง และศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองตามทคี่ รมู อบหมาย ๓ ชัว่ โมง ท้งั นเ้ี พ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจและเจตคตทิ ่ีดีต่อการเรียนรู้ รวมท้ังสามารถพัฒนาทกั ษะการเรียนร้ทู ี่สามารถนาไปประยุกต์ใชไ้ ด้จรงิ
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๘) พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศกึ ษาที่มคี วามโปร่งใส ยุติธรรมตรวจสอบได้ มมี าตรฐาน
ตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของกล่มุ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๙) สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นไดร้ วมกลมุ่ กันเพื่อดาเนินกิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ บาเพญ็
สาธารณะประโยชนอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง และส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็น

ประมขุ เช่น กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี และยวุ กาชาดกิจกรรมจิตอาสา การจัดตง้ั ชมรม/ชุมนมุ การแสดง
ความสามารถพิเศษ “สดุ ยอด กศน.” การรว่ มแข่งขนั กฬี า เป็นต้น

๑.๒ ยกระดับการศึกษาประชาชนให้จบการศึกษาในระดับสงู สดุ ของการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานอยา่ งมคี ณุ ภาพ
๑) ใหส้ านักงาน กศน.อาเภอ/เขต ดาเนินการจัดบริการประเมินเทยี บระดบั การศึกษาในระดบั สูงสุดของ
การศึกษาข้ันพน้ื ฐานอยา่ งมคี ุณภาพ เพอื่ ยกระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานของประชาชน
๒) ใหส้ านักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหส้ านกั งาน กศน.อาเภอ/เขต ดาเนินการ
จดั บริการประเมินเทยี บระดับการศกึ ษาในระดับสงู สดุ ของการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพอ่ื ยกระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ของประชาชนในอาเภอ/เขต ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทีก่ าหนดไวอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
๓) ประชาสมั พันธใ์ หอ้ งค์กรหลกั หน่วยงานทางการศกึ ษา ภาคสงั คม และประชาชนตระหนกั ถึง
ความสาคญั และมีสว่ นร่วมในการเทยี บระดบั การศกึ ษาสูงสดุ ของการศึกษาขั้นพน้ื ฐานในฐานะทเี่ ป็นกลไกในการ
ประเมนิ และใหก้ ารยอมรบั คุณคา่ ของมวลความรูแ้ ละประสบการณท์ ่ีแตล่ ะบคุ คลไดส้ ั่งสมมา เพ่ือส่งเสริมให้
นาไปใชป้ ระโยชน์ในการศกึ ษาต่อในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ ไปได้รวดเร็วยิง่ ข้ึน
๑.๓ เปดิ โลก กศน. สู่ กศน.อนิ เตอร์ เพ่อื ประชาคมอาเซยี น
๑) จัดใหม้ หี ้องเรยี นทีจ่ ัดการเรยี นการสอนหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ภาคภาษาองั กฤษ อย่างน้อยจังหวัดละ ๑ หอ้ งเรยี น
๒) จดั หาครูและผเู้ กยี่ วข้อง และพัฒนาสมรรถนะบคุ ลากรดังกลา่ วให้สามารถจดั การศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ภาคภาษาอังกฤษได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๓) สง่ เสริม และสนับสนุนให้ภาคเี ครือขา่ ยร่วมพฒั นาและจดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ภาคภาษาองั กฤษ
๔) พฒั นาระบบการนิเทศ ติดตาม และการวดั และประเมินผลการศึกษา เพ่อื การพัฒนาการศกึ ษาตาม
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ภาคภาษาองั กฤษใหม้ ีประสิทธิภาพ
เหมาะสมกับผเู้ รียน
๑.๔ การศึกษาต่อเน่ือง
๑) ม่งุ จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมงี านทาอย่างยง่ั ยนื โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมี
งานทา ท่ีสอดคล้องกับศกั ยภาพของผเู้ รยี นและศกั ยภาพของแตล่ ะพ้นื ท่ีรวมท้งั ส่งเสริมการใชร้ ะบบเทคโนโลยเี พือ่
การพฒั นาอาชีพ เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นสามารถนาความรู้ความสามารถ เจตคติทีต่ ่อการประกอบอาชีพและทกั ษะที่
พฒั นาขน้ึ ไปใช้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพท่ีสรา้ งรายได้ได้จรงิ และการพัฒนาสู่เศรษฐกจิ เชิงสรา้ งสรรค์
ต่อไป
๒) มงุ่ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิตใหก้ ับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรูปแบบตา่ งๆ
อาทิ ค่ายพัฒนาทกั ษะชีวติ การจัดตง้ั ชมรม/ชุมนมุ การสง่ เสริมด้านกฬี า ศิลปะ ดนตรี ศลิ ปะการแสดง และ
ความสามารถพิเศษต่างๆ ทมี่ ุ่งเนน้ ให้ทกุ กลุ่มเป้าหมายมีความร้คู วามสามารถในการบริหารจัดการชวี ิตของตนเอง
ใหอ้ ยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม รวมทงั้ สามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง
ครอบครัว และชุมชน
๓) มุ่งจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชนตามแนวคดิ การจดั การศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใช้หลักสตู รและการจัดกระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการ

ฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชมุ สมั มนา การจดั เวทีแลกเปลยี่ นเรียนรู้ การจดั กิจกรรมจิตอาสา การสร้าง
ชุมชนนักปฏบิ ัติ และรูปแบบอน่ื ๆ ทีเ่ หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และบรบิ ทของชุมชนแต่ละพนื้ ที่ โดยเน้นการสรา้ ง
จติ สานึกความเป็นประชาธปิ ไตย ความเป็นพลเมืองดี การบาเพญ็ ประโยชน์โดยใชก้ ระบวนการลูกเสือ เนตรนารี
และ ยุวกาชาด การสง่ เสรมิ บทบาทสตรี การสร้างความเข้มแขง็ ของเศรษฐกจิ ชมุ ชน การบรหิ ารกองทุน การสร้าง
ความมั่นคงด้านอาหาร การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การบริหารจัดการนา้ และการ
รองรับการเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน และหลักสตู รเชงิ บูรณาการเพอ่ื การพฒั นาทีย่ ่งั ยืนตามแนวทางปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

๔) พัฒนาระบบคลังหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ืองให้ไดม้ าตรฐาน และสะดวกตอ่ การใชง้ านเพอื่ สนับสนุน
การจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ งของสถานศกึ ษาและภาคีเครอื ข่าย

๑.๕ การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
๑) พัฒนาคุณภาพผู้เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ตามจุดมุง่ หมายและมาตรฐานของหลักสูตร
๒) พัฒนาครูและผทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ งให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีคุณภาพโดยส่งเสรมิ ให้มีความรู้
ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรูก้ ารวดั และประเมินผล และการวจิ ยั เบ้ืองตน้
๓) ส่งเสรมิ การพฒั นาหลกั สูตรท้องถิ่น และกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้มคี วามหลากหลาย ทันสมัยสอดคล้อง
กับความต้องการ บรบิ ทของพ้นื ที่ และสภาพของกล่มุ เป้าหมายและท้องถ่ิน
๔) ส่งเสริมการพฒั นาหลักสูตรทางดา้ นภาษา และวฒั นธรรมของกล่มุ ประเทศอาเซียนและการจดั กิจกรรม
ตามหลกั สูตรดังกลา่ วเพื่อเตรียมความพร้อมใหก้ ับประชาชนในการเขา้ สู่การเปน็ สมาชิกของประชาคมอาเซียน
อย่างมคี ุณภาพ
๕) สง่ เสริมการพัฒนาสอ่ื แบบเรยี น สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ และส่อื อื่นๆ ประกอบหลกั สตู รที่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้
ของผเู้ รยี นและการจัดกระบวนการเรยี นร้ขู องครผู สู้ อนโดยการมสี ว่ นร่วมของทงั้ ภาครัฐและภาคเอกชน
๖) สง่ เสริมการพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอนเพอ่ื สง่ เสริมการศึกษาตลอดชวี ติ ท่ีหลากหลาย สอดคล้อง
กับสภาพ และความต้องการของกล่มุ เปา้ หมายและชุมชน
๗) มงุ่ เน้นให้กลุ่มเปา้ หมายที่ลงทะเบียนเรยี นได้เรียนในรูปแบบทเี่ หมาะสมกับสภาพ และความต้องการ
ของตนเอง โดยมีอัตราการคงอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ และมีผลสัมฤทธใิ์ นสาระความรู้พ้นื ฐานไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ
๖๐
๘) พฒั นาระบบการวัดผลและประเมินผลการศกึ ษานอกระบบทุกหลักสตู รโดยเฉพาะหลักสูตรในระดบั
การศึกษาข้ันพืน้ ฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาข้อทดสอบกลางมาใช้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๑.๖ การประกันคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๑) ใหส้ ถานศึกษาพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคณุ ภาพ
ภายนอกรอบที่สาม โดยพัฒนาบคุ ลากรให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในดว้ ยตนเอง
๒) ให้สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ดาเนินการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยต้นสังกดั ไม่
น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ของจานวนสถานศกึ ษาในสงั กดั
๓) ดาเนินการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา กศน.ท่ไี มผ่ ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพเพอื่ เตรียมความ
พร้อมสาหรบั การขอรับการประเมนิ อกี ครั้งหน่ึงในรอบการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบทส่ี าม โดยปรับ

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และดาเนนิ การตามแผนการจดั การศึกษาของสถานศึกษาใหไ้ ด้
คณุ ภาพตามมาตรฐานที่กาหนด และจัดใหม้ รี ะบบสถานศกึ ษาพีเ่ ลย้ี งเขา้ ไปสนบั สนนุ อย่างใกลช้ ดิ สาหรบั
สถานศกึ ษาทย่ี งั ไม่ไดเ้ ขา้ รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก ใหพ้ ฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพตาม
มาตรฐานทก่ี าหนด

๔) ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน สมศ.ผดงุ ระบบการประกนั
คุณภาพการศกึ ษาใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานท่ีกาหนด

๕) เสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจกับบคุ ลากรใหต้ ระหนักถงึ ความสาคัญของระบบการประกนั คุณภาพ เพ่ือ
ประโยชน์ในการพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๑.๗ การศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสง่ เสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองปัญหาและความ
ตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมท้งั อตั ลกั ษณ์และความเป็นพหวุ ัฒนธรรมของพ้นื ท่ี
๒) พฒั นาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานอยา่ งเขม้ ขน้ และต่อเน่ืองเพอื่ ใหผ้ ู้เรยี น
สามารถนาความรูท้ ่ไี ด้รบั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ
๓) สง่ เสริมระบบการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ และการเทยี บระดับการศกึ ษาดา้ นศาสนศกึ ษาเขา้
สกู่ ารศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
๔) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดใหม้ มี าตรการดูแลรักษาความปลอดภยั แก่บคุ ลากรและนักศกึ ษา กศน.
ตลอดจนผูม้ าใชบ้ ริการอยา่ งทัว่ ถึง
๑.๘ การศกึ ษาทางไกล
๑) พัฒนาการจัดการศกึ ษาทางไกล ทั้งระบบการใหบ้ รกิ าร ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรียน ทง้ั หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งโดยบูรณา
การการใช้เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาในรปู แบบท่ีหลากหลาย เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษาทางไกลใหก้ ับ
ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
๒) พฒั นาศกั ยภาพของบุคลากรให้มคี วามพร้อมในการจัดและใหบ้ ริการการศึกษาทางไกลเพอื่ ให้
ประชาชนไดร้ บั โอกาสและบรกิ ารการศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพอยา่ งท่ัวถงึ
๓) ขยายกลมุ่ เปา้ หมายภาคเี ครอื ขา่ ยผูใ้ ห้บริการ และผรู้ ับบรกิ ารท้ังในประเทศและต่างประเทศให้มากขน้ึ
เพอ่ื ส่งเสริมให้เกดิ การศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน
๔) เผยแพรส่ อื่ แบบทดสอบ รปู แบบ และวธิ กี ารจัดการศึกษาทางไกลให้กบั สถานศึกษา เพอ่ื ใหส้ ามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษารวมทั้งเพ่อื เพ่ิมและกระจายโอกาสทาง
การศึกษาใหก้ บั ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
๕) สง่ เสริมและสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาท่เี หมาะสมในการเพม่ิ ประสิทธิภาพการ
ขบั เคลื่อนการบรหิ ารงานและการจดั บริการการศกึ ษาทางไกลท่ีมีคุณภาพ
๖) ส่งเสรมิ ให้มกี ารจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยโดยวิธีการเรยี นทางไกลให้กบั
แรงงานไทยในต่างประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ สาหรับกลมุ่ เปา้ หมายในกลุ่มประเทศอาเซียน
๒. นโยบายด้านการศึกษาตามอัธยาศัย
๒.๑ การสง่ เสริมการอา่ น

๑) พฒั นาระดบั ความสามารถในการอา่ นของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายใหไ้ ด้
ระดบั อา่ นคลอ่ ง อ่านเขา้ ใจความ เขียนคล่อง และอา่ นเชงิ คดิ วเิ คราะหพ์ น้ื ฐาน โดยใชเ้ ทคนคิ วิธี
การเรียนการสอน และสอื่ ทม่ี คี ุณภาพ

๒) ส่งเสรมิ ใหม้ ีการสรา้ งบรรยากาศ และส่งิ แวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดย
สนบั สนนุ การพัฒนาแหล่งการอ่านใหเ้ กิดขนึ้ อยา่ งกวา้ งขวางและท่วั ถึง รวมทง้ั
เสรมิ สรา้ งความพรอ้ มในด้านสื่ออุปกรณ์เพื่อสนบั สนุนการอ่าน และการจดั กจิ กรรมเพือ่ ส่งเสริม
การอา่ นอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะงานมหกรรมรกั การอ่านในส่วนภูมิภาค

๓) สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การสรา้ งเครือขา่ ยส่งเสริมการอ่านโดยจดั ใหม้ ีอาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ นใน
ทกุ ตาบล เพ่ือร่วมเปน็ กลไกในการพฒั นาคนไทยให้มเี จตคติทีด่ ีต่อการเสรมิ สรา้ งความรดู้ ้วยการอา่ น เห็น
ประโยชน์และความสาคัญของการอา่ น มนี ิสยั รักการอา่ นและพฒั นาตนเองให้เปน็ นกั อ่านทม่ี ีคณุ ภาพตอ่ ไป

๔) พฒั นา“บ้านหนงั สืออัจฉรยิ ะ” ในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน ให้เป็นกลไกในการส่งเสริมการอา่ นให้เกดิ ขึน้ กับ
ประชาชนอยา่ งกว้างขวางและต่อเน่ือง

๒.๒ หอ้ งสมุดประชาชน
๑) จัดตั้งห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” ใหค้ รบ ๑๐๐ แห่ง ภายในปีพ.ศ.๒๕๕๘ เพ่ือเทิดพระเกียรติ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เน่ืองในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายคุ รบ ๖๐ พรรษา
๒) มุ่งเนน้ พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแหง่ ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตของชมุ ชน เปน็ แหลง่
ค้นคว้าและแลกเปลย่ี นเรียนรู้การพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทาและสร้างรายไดอ้ ย่างยั่งยืนและการสรา้ งความพร้อม
ให้กบั ประชาชนในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซยี น
๓) จดั หาโครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื เช่อื มโยงกบั แหล่งการเรียนรู้
ต่างๆ สาหรับให้บรกิ ารในห้องสมดุ ประชาชน
๔) จดั กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในรปู แบบทีห่ ลากหลายทั้งภายในและภายนอกหอ้ งสมดุ เพ่อื ปลูกฝัง
นิสัยรกั การอา่ น การพัฒนาศักยภาพการเรยี นรู้ด้วยตนเอง การสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต และการรบั รขู้ ้อมลู
ข่าวสารทท่ี ันเหตกุ ารณข์ องประชาชน เพื่อสามารถนาความรู้ทีไ่ ดร้ บั ไปใช้ประโยชนใ์ นการปฏบิ ัติจริง
๕) จัดหน่วยบรกิ ารเคลื่อนที่พรอ้ มอุปกรณ์เพ่ือส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรูท้ ี่หลากหลายออกใหบ้ รกิ าร
ประชาชนในพนื้ ท่ตี ่างๆ อย่างทั่วถึง สมา่ เสมอเพอ่ื เพ่มิ โอกาสการเรียนรู้
และการพัฒนาอาชีพของประชาชนและชมุ ชน
๖) พัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ที่รบั ผดิ ชอบการบริการของหอ้ งสมุดประชาชน ให้มคี วามรู้ ความสามารถและ
มีความเปน็ มืออาชพี ในการจัดบรกิ ารสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรขู้ องประชาชน
๗) แสวงหาภาคีเครือข่ายเพื่อรว่ มจัดและสนับสนุนการดาเนนิ งานของห้องสมุดประชาชนให้เปน็
ศูนย์กลางการเรียนรูต้ ลอดชีวิตของชุมชน โดยชุมชน และเพ่ือชุมชน
๒.๓ วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษา
๑) พฒั นาและจดั ทานิทรรศการ มหกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร และจัดกิจกรรมท่ีเน้นการเสรมิ สร้างทักษะ
กระบวนการเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร ์ และสร้างเจตคตทิ างวิทยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ กระตุ้น
การใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหป้ ระชาชนนาความรู้และทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ ไปใชใ้ นการ

พฒั นาชีวติ พัฒนาอาชพี และสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงในอนาคตได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ

๒) เชอื่ มโยงกระบวนการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาชุมชนโดยเน้นวิทยาศาสตร์
ชุมชนให้ผู้รับบรกิ ารสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ติ การพฒั นาอาชพี การรักษา
สง่ิ แวดล้อม และการป้องกนั ภยั พบิ ตั ิจากธรรมชาติในพนื้ ที่

๓) ส่งเสรมิ และสนบั สนุน ภาคีเครือขา่ ย ท้ังภาครัฐ และภาคเอกชน ทงั้ ในและตา่ งประเทศ เพอื่ เช่ือมโยง
เป็นเครือข่ายในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์

๔) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การวจิ ัยและพฒั นาสื่อการเรียนรู้ และกิจกรรมด้านวทิ ยาศาสตร์ใหม้ รี ปู แบบ
และเนอ้ื หา ท่หี ลากหลาย สามารถปลกู ฝังให้ผูร้ ับบรกิ ารมีความรคู้ วามเข้าใจ มที กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
และมเี จตคตทิ ่ีดีต่อวิทยาศาสตร์

๕) สง่ เสริม และสนบั สนนุ การผลติ และพฒั นานวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์เชงิ บรู ณาการ เพอื่ เป็นฐานสู่การ
พฒั นาเศรษฐกิจเชิงสรา้ งสรรค์ บนพื้นฐานการผลติ และการบริโภคท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม

๖) พฒั นาการบรหิ ารจดั การและการให้บรกิ ารด้านวิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๗) จดั สรา้ ง และพฒั นาศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษา ใหเ้ ป็นแหลง่ การเรยี นรู้เชิงวชิ าการ แหล่งจดุ
ประกายการพฒั นาอาชพี และแหล่งทอ่ งเทีย่ วประจาท้องถน่ิ
๓. นโยบายด้านการส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องชุมชน
๓.๑ การพัฒนา กศน.ตาบล/แขวง ใหเ้ ป็นศนู ย์กลางการสร้างโอกาสและกระจายโอกาสทางการศกึ ษา
ใหก้ ับประชาชนในชมุ ชน
๑) จดั หาครภุ ัณฑ์และสิง่ อานวยความสะดวก ตลอดจนโครงสร้างพน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สารท่เี หมาะสมกับ กศน.ตาบล/แขวง ให้ครบทุกแห่งเพือ่ สนบั สนุนการบริหาร การจดั กิจกรรมการศกึ ษา
และการเรยี นรู้ ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนและชมุ ชนได้อยา่ งต่อเนือ่ งและทันเวลา
๒) จัดหาหนงั สอื และส่อื การเรียนร้ใู นรูปแบบตา่ งๆ อาทิ สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ สอื่ เทคโนโลยี
ทมี่ ีคณุ ภาพและสาระทีห่ ลากหลาย ทันสมยั เพ่อื ใหป้ ระชาชนนาไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในการเพิม่ พูน
สมรรถนะของตนเองและเสรมิ สรา้ งศักยภาพในการแข่งขนั ของชุมชน
๓) จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนร้ตู ลอดชวี ิตเชิงรกุ ทห่ี ลากหลาย ทันสมยั สร้างสรรค์ ต่อเนื่อง และ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน โดยจัดใหม้ กี ารศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การฝึกอาชพี การสง่ เสริมการ
เรยี นรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ิการดูแลรักษาธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม การเสริมสรา้ ง
กระบวนการประชาธปิ ไตย การป้องกนั ภยั จากยาเสพติด การเสรมิ สร้างความรู้เก่ยี วกบั ประชาคมอาเซยี น และการ
จัดการศกึ ษาและกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามความจาเป็นเรง่ ด่วนของแตล่ ะชุมชน
๔) จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน และส่งเสริมให้มกี ล่มุ สง่ เสรมิ การอา่ นใน กศน.ตาบล/
แขวง เพอ่ื พฒั นาเป็นชุมชนรักการอา่ น โดยใช้อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่านเป็นกลไกในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการ
อา่ นในรปู แบบตา่ งๆ ในชุมชน โดยดาเนนิ งานเป็นทมี ร่วมกบั ครู กศน.ตาบล/แขวง
๕) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลสภาพการร้หู นงั สอื และความต้องการทางการศึกษาและการเรียนรขู้ อง
ประชากรวัยแรงงาน ผพู้ กิ าร และผู้สูงอายุ ใหค้ รอบคลุมทุกพนื้ ทที่ ั่วประเทศครบถว้ น ถกู ต้อง ทนั สมยั และ

เชอื่ มโยงกันอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถสืบคน้ ได้ทนั ความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กบั
กลมุ่ เป้าหมายดงั กลา่ ว

๖) ส่งเสรมิ และพฒั นาเครือข่าย กศน.ตาบล/แขวง ท้ังในและต่างประเทศ เพือ่ การประสานเชือ่ มโยง
กระบวนการเรียนรู้ การสง่ ต่อผู้เรยี น และแลกเปล่ียนเรยี นรู้ประสบการณ์การทางานร่วมกัน เพือ่ เสรมิ สร้าง
สมรรถนะในการให้บรกิ ารทางการศกึ ษาท่สี นองตอบตอ่ ความต้องการ
ของผู้เรยี นอย่างมีประสิทธภิ าพ

๗) พัฒนาระบบการตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน กศน.ตาบล/แขวง และจัดใหม้ ีการรายงานผลการ
ดาเนนิ งานต่อสาธารณะ รวมท้ังให้นาผลการติดตามประเมินผลมาใชใ้ นการพฒั นาการดาเนินงาน กศน.ตาบล/แขวง
อย่างต่อเนื่อง

๘) กากับและติดตามให้ กศน.ตาบล/แขวง ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการดาเนินงาน กศน.ตาบล/
แขวงอย่างมีประสิทธิภาพ

๓.๒ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
๑) จดั ให้มี ๑ จงั หวัด ๑ ศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน เพ่ือเป็นศูนย์กลางในการจัดแสดงจาหน่าย และกระจายสนิ คา้
และบรกิ ารของชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร
๒) จดั ให้มี ๑ อาเภอ ๑ สุดยอดหลกั สตู รอาชีพ กศน. เพ่ือเป็นต้นแบบในการจัดการเรยี นรูอ้ าชพี เพ่อื การมี
ทา ทเ่ี ป็นการจัดการศึกษาอาชีพแนวใหม่ เป็นการจัดการศกึ ษาที่สามารถสรา้ งอาชพี หลกั ทมี่ ั่นคงให้กบั ผูเ้ รยี น โดย
สามารถสร้างรายไดไ้ ดจ้ ริงทั้งในระหว่างเรยี นและหลังจากสาเรก็ ารศึกษาไปแลว้ และสามารถใช้ประโยชนจ์ าก
เทคโนโลยใี นการสรา้ งมูลคา่ เพิม่ ให้กับอาชพี เพ่อื พัฒนาใหเ้ ป็นผ้ปู ระกอบการทีม่ คี วามสามารถเชิงการแขง่ ขนั
อย่างยง่ั ยนื
๓.๓ เสรมิ สรา้ งบ้านหนงั สืออจั ฉรยิ ะและพฒั นานิสัยรักการอ่านของประชาชน
๑) ให้ กศน.ตาบล/แขวง ดาเนินการจัดหาหนงั สือและส่อื ส่งิ พิมพต์ า่ งๆทต่ี รงกบั
ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย เพ่ือจดั ใหบ้ ริการกับประชาชนอยา่ งต่อเน่ือง ที่บ้านหนงั สอื
อจั ฉรยิ ะหรอื หอ้ งสมุดประชาชนหมบู่ ้าน/ชุมชน
๒) ให้ กศน.ตาบล/แขวง ดาเนนิ การจัดกิจกรรม และประสานความรว่ มมือกับภาคเี ครือขา่ ยในการจัด
กิจกรรมเสรมิ สรา้ งนสิ ัยรักการอา่ นของกลมุ่ เป้าหมาย โดยการสง่ เสรมิ การอา่ น
ใหเ้ ขา้ ถงึ ทุกครอบครวั ในพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบ รวมทัง้ สร้างความรู้ความเขา้ ใจให้กับผูใ้ ช้บริการเกย่ี วกบั
ระเบียบวนิ ยั และข้อพึงปฏบิ ัตใิ นการใชบ้ า้ นหนงั สอื หรือหอ้ งสมดุ ประชาชนหม่บู ้าน/ชมุ ชนการเคารพสทิ ธิผอู้ ่ืน
ตลอดจนการช่วยกันดูแลรักษาและพฒั นาบา้ นหนงั สอื หรือหอ้ งสมุดประชาชนหม่บู ้าน/ชมุ ชนให้เป็นบ้านหนงั สอื
เสรมิ สรา้ งอัจฉรยิ ภาพของประชาชนในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน อยา่ ง
ยงั่ ยนื
๓) ประชาสัมพันธ์ใหป้ ระชาชนตระหนักถงึ ความสาคัญของการอา่ นในฐานะทเ่ี ป็นกิจกรรมพ้นื ฐานในการ
เสริมสร้างอัจฉรยิ ภาพส่วนบุคคลและความเข้มแข็งของชุมชนและเข้ามามีสว่ นรว่ มอย่างตอ่ เนื่องในการดาเนนิ
กิจกรรมบ้านหนงั สืออจั ฉรยิ ะหรอื ห้องสมดุ ประชาชนหมู่บา้ น/ชุมชน

๓.๔ การสง่ เสริมและสนบั สนุนใหท้ กุ ภาคส่วนเขา้ มามีสว่ นร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจดั ส่งเสริม และ
สนับสนุนการจดั การศึกษาตลอดชีวติ และการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทาอย่างยง่ั ยืน ใหค้ รอบคลมุ พื้นที่ทุก
ระดบั

๑) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ภาคเี ครือขา่ ยทุกระดบั โดยจาแนกตามระดับความพร้อมในการมสี ่วนร่วม ท้งั นี้
ใหด้ าเนนิ การจัดทาระบบฐานข้อมลู ใหม้ คี วามถูกต้อง ทนั สมยั และสามารถเชอ่ื มโยงกันไดท้ ั่วประเทศ เพอื่
ประโยชนใ์ นการให้การส่งเสริมและสนับสนนุ การดาเนินงานได้อย่างเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั ศักยภาพ และระดบั
การมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของภาคีเครือข่าย

๒) พัฒนาบุคลากรภาคีเครือข่ายให้มศี ักยภาพในการจดั การศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพ่อื การมี
งานทาอย่างมคี ณุ ภาพ

๓) ใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษา ประสานการทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพ่ือให้มีความรูค้ วามเขา้ ใจใน
บทบาทหนา้ ท่ี และภารกจิ เก่ียวกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในการเปน็ กลไกสาคัญเพอ่ื การ
พฒั นาเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน

๓.๕ อาสาสมคั ร กศน.๑) ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้มจี ิตอาสา ตลอดจนผูร้ ู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และขา้ ราชการบานาญเข้า
มาเป็นอาสาสมัคร กศน. โดยเขา้ มามบี ทบาทในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อัธยาศยั ในชมุ ชน เป็นผูส้ ื่อสารขอ้ มลู ความรทู้ ่เี ป็นประโยชนแ์ กป่ ระชาชนและนาเสนอความต้องการการเรยี นรู้และ
การพฒั นาชุมชน โดยทางานเปน็ ทีมรว่ มกับครใู นสังกดั สานกั งาน กศน.

๒) สง่ เสริมให้อาสาสมัคร กศน. ไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะให้เปน็ ผจู้ ัด และผูส้ ง่ เสริมและสนบั สนนุ การ
จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี คี ณุ ภาพ

๓) เสริมสร้างขวัญและกาลังใจในรูปแบบต่างๆ แกอ่ าสาสมัคร กศน. เพ่ือให้ตระหนกั ถงึ คุณคา่ และ
ความสาคัญของตนเอง และเขา้ มามสี ว่ นรว่ มดาเนนิ การจัดและส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพและ
ย่งั ยืน

๓.๖ การส่งเสริมการจัดการเรียนรใู้ นชุมชน
๑) จดั กิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ในชมุ ชนโดยใช้ กศน.ตาบล/แขวง ท่ดี าเนนิ การอยู่แลว้ ใหเ้ กิด
ประโยชนส์ ูงสดุ สามารถสรา้ งเครือขา่ ยการเรียนรู้รว่ มกบั องค์กรชุมชนอ่นื ๆ อยา่ งกว้างขวาง
๒) สง่ เสริมการจดั กระบวนการเรียนรใู้ นชมุ ชนโดยการจัดทาแผนชมุ ชน จดั เวทีชาวบา้ น การศึกษาดงู าน
การฝกึ อบรม เพื่อนาความรู้ไปแกป้ ัญหาหรือพัฒนาชุมชน
๓) ส่งเสริมใหม้ ีการบูรณาการความรู้ในชมุ ชนให้เช่ือมโยงกบั หลกั สูตรตา่ งๆ ของกศน. โดยคานงึ ถึงการ
ประกอบอาชพี และการมงี านทาของผูเ้ รียนที่แท้จรงิ เพ่ือประโยชน์ในการ
มีงานทาและการเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์
๔) สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารขยายและพัฒนาแหล่งการเรยี นรชู้ ุมชนเพอื่ การสบื สานและการถา่ ยทอดองค์ความรู้
โดยใหม้ ีการจัดทาและเผยแพร่สอ่ื ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในชุมชน
๕) พฒั นาศักยภาพและส่งเสรมิ ใหภ้ มู ิปัญญาท้องถ่นิ ผู้เชยี่ วชาญองค์ความรู้ดา้ นต่างๆ เปน็ แหล่งการเรยี นรู้
และนักจัดการความรูท้ ี่สาคัญของชมุ ชน
๔. นโยบายด้านการสนบั สนุนโครงการพเิ ศษ
๔.๑ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ

๑) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพือ่ สนบั สนุนโครงการอนั เนื่องมาจาก
พระราชดาริ หรือโครงการอันเก่ยี วเน่ืองกบั พระราชวงศ์ อย่างเปน็ ระบบตอ่ เนื่องและเกิดผลโดยตรงกับ
กลมุ่ เป้าหมาย ท้งั ระดบั บุคคลและชมุ ชน

๒) จัดทาฐานข้อมลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารทิ ่ี
สามารถนาไปใชใ้ นการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพฒั นางานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๓) สง่ เสริมการสร้างเครือขา่ ยการดาเนินงานเพ่ือสนับสนุนโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ เพื่อให้
เกิดความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

๔) พัฒนาศูนยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง” ให้มีความพรอ้ มในการจัดการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนา้ ทท่ี ีก่ าหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๔.๒ โครงการจดั การศึกษาเพือ่ ความมัน่ คงชายแดนของ ศฝช.
๑) พฒั นาศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เปน็ ศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชนต้นแบบด้าน
เกษตรกรรม
๒) มงุ่ จัดและพฒั นาการศึกษาอาชพี โดยใชว้ ิธีการหลากหลาย ใช้รปู แบบเชิงรกุ
เพอ่ื การเข้าถงึ กล่มุ เปา้ หมายอาทิ การจัดมหกรรมอาชพี การประสานความร่วมมือกับเครือขา่ ย การ
จดั อบรมแกนนาด้านอาชพี ทเี่ นน้ เร่ืองเกษตรธรรมชาตทิ ี่สอดคล้องกบั บรบิ ทของชุมชนชายแดน
ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน
๓) จดั และพฒั นา ศฝช.ให้เป็นศนู ยส์ าธติ การประกอบอาชีพ ศูนยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบการจดั กจิ กรรมตาม
แนวพระราชดารปิ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวธิ ีการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย
๔) ให้ ศฝช.ทุกแห่ง เปน็ ศูนย์กลางในการพฒั นาบคุ ลากร และการเผยแพรค่ วามรดู้ า้ นเกษตรธรรมชาติ โดย
ความรว่ มมือระหว่าง สานักงาน กศน.กับ มลู นิธิ MOA ไทย และ MOAInternational
๕) จัดระบบเครือขา่ ยศูนยก์ ารเรยี นรู้อาชีพ ศูนยเ์ รียนรปู้ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงโดยเช่ือมโยงกบั กศน.
ตาบล/แขวง ในพื้นท่ี
๔.๓ การสง่ เสรมิ และจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ
๑) จัดและส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั การร้หู นังสอื ภาษาและวฒั นธรรมไทย
และยกระดับการศกึ ษาสาหรับกล่มุ เปา้ หมายพเิ ศษ โดยเฉพาะ ผูพ้ กิ ารผดู้ ้อยโอกาส เด็กและเยาวชนท่ีอยู่นอกระบบ
โรงเรยี น คุณแม่วัยใส คนเร่ร่อน คนไร้บ้าน ผู้สงู อายุกล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ ชนกลมุ่ น้อย บคุ คลท่ไี ม่มีหลักฐานทางทะเบียน
ราษฎร์หรือไม่มสี ัญชาตไิ ทย (คนตา่ งด้าวและผู้ไรส้ ัญชาติ) ผูห้ นภี ัยการสู้รบจากพม่าในพ้นื ที่พักพิงชว่ั คราว คนไทย
ในต่างประเทศ
๒) ศกึ ษา วิจยั พฒั นาและเผยแพรร่ ปู แบบการจัด ส่งเสริม และสนบั สนุนการจดั การศกึ ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ เพอ่ื ใหม้ ีการนาไปสู่การปฏบิ ัตอิ ย่างกว้างขวางและมกี ารพฒั นาให้
เหมาะสมกบั บริบทอย่างต่อเน่ือง
๓) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกจิ กรรม ใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของ
กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษแต่ละกลมุ่
๕. นโยบายด้านส่ือและเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา

๕.๑ พฒั นาสถานีวทิ ยศุ กึ ษาเพือ่ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้
เปน็ ช่องทางการเรียนร้ทู ีม่ ีคุณภาพได้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ โดยขยาย
เครือขา่ ยการรบั ฟงั ใหส้ ามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพน้ื ท่ีท่ัวประเทศ

๕.๒ พัฒนาสถานวี ิทยโุ ทรทัศน์เพือ่ การศึกษาเพ่อื เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการผลติ และการออกอากาศให้
กลมุ่ เป้าหมายสามารถใช้เป็นชอ่ งทางการเรียนร้ทู มี่ คี ุณภาพได้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยเพ่ิมช่องทางใหส้ ามารถ
รับชม ไดท้ ้งั ระบบ Ku - Band และ C - Band และทางอนิ เทอร์เนต็ พร้อมที่จะรองรับการพฒั นาเปน็ สถานวี ทิ ยุ
โทรทัศน์เพอ่ื การศกึ ษาสาธารณะ (FreeETV)

๕.๓ พฒั นารายการวทิ ยุเพ่ือการศกึ ษา รายการโทรทศั น์เพื่อการศึกษาใหเ้ ชื่อมโยงและตอบสนองตอ่ การจดั
กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษาเพื่อสง่ เสรมิ คุณภาพการเรยี นการสอนและ
กระจายโอกาสทางการศกึ ษาสาหรับกลุม่ เปา้ หมายต่างๆท่ัวประเทศ

๕.๔ เสรมิ สรา้ งโอกาสให้นักเรยี น นักศึกษา และประชาชนทุกกลุ่มเปา้ หมายมีทางเลือกในการเรยี นรทู้ ี่
หลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหร้ ู้เทา่ ทันส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร โดยจดั ให้
มีการผลิตรายการพัฒนาอาชีพเพือ่ การมีงานทารายการเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกบั ประชาคมอาเซียน รายการตวิ เขม้
เติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวทิ ยุศึกษา สถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์เพือ่ การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV)
และสถานีวิทยโุ ทรทศั นส์ าธารณะ และทางอินเทอร์เน็ต

๕.๕ ผลติ และเผยแพร่สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์เพ่ือการศึกษาสาหรบั กล่มุ เปา้ หมายท่ัวไปและกล่มุ เป้าหมายเพือ่
คนพกิ าร เพือ่ พฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนรูปแบบการจัดการศกึ ษา
ทางไกลและการศกึ ษาตลอดชีวิต

๕.๖ พฒั นาบุคลากรของสถานศกึ ษาและภาคเี ครือขา่ ยให้สามารถผลิต เผยแพร่รว่ มพัฒนา และใช้
เทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๕.๗ พัฒนาระบบการใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษาให้ได้หลายช่องทางทงั้ ทางอินเทอร์เน็ต และ
รปู แบบอ่ืน ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี และ Tablet, DVD,CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพอื่ ให้
กลุ่มเปา้ หมายสามารถเลอื กใชบ้ ริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการ
ศกึ ษาและการเรยี นรู้ได้ตามความต้องการ

๕.๘ สารวจ วิจัย และตดิ ตามประเมินผลดา้ นสอ่ื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง และนาผลมาใช้ใน
การพัฒนางานให้มีความถกู ต้อง ทันสมยั และสามารถสง่ เสรมิ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของประชาชนได้
อยา่ งแท้จริง

๖. นโยบายด้านการบริหารจัดการ
๖.๑ การพัฒนาบคุ ลากร
๑) จัดทาแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาบุคลากรของสานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ –
๒๕๕๙ เพ่ือพฒั นาบุคลากรของสานกั งาน กศน. ทุกระดบั ทกุ ประเภทใหม้ คี วามเป็นมอื อาชพี ในการดาเนินงาน
ตอบสนองความต้องการทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของประชาชน
๒) พฒั นาบคุ ลากรทุกระดบั ทกุ ประเภทใหม้ สี มรรถนะสูงขึน้ อยา่ งต่อเนื่อง ท้งั ก่อนและระหว่างการดารง
ตาแหน่งเพือ่ ใหม้ ีเจตคตทิ ่ีดใี นการปฏิบตั ิงาน สามารถปฏบิ ัตงิ านและบรหิ ารจัดการการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน
และสถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๓) พัฒนาหัวหนา้ กศน.ตาบล/แขวงใหม้ สี มรรถนะสูงขึน้ ในการบรหิ ารจัดการกศน.ตาบล/แขวง และการ
ปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทภารกิจอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยเน้นการเป็นนกั จดั การความรูแ้ ละผู้อานวยความสะดวกใน
การเรียนร้เู พื่อใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรูท้ ม่ี ปี ระสิทธิภาพอย่างแทจ้ รงิ

๔) ส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการ กศน.ตาบล/แขวง เพือ่ การมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารการ
ดาเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน.ตาบล/แขวง อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๕) พัฒนาอาสาสมคั ร กศน. ให้สามารถทาหนา้ ที่เป็นผู้จดั ส่งเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

๖) เสรมิ สรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งบุคลากร รวมท้ังภาคีเครอื ข่ายท้งั ในและต่างประเทศในทกุ ระดับเพื่อ
เพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานรว่ มกนั โดยจัดให้มีกจิ กรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสรา้ งความสัมพันธ์
ระหว่างบุคลากร และภาคเี ครอื ข่ายในรูปแบบท่หี ลากหลายอยา่ งต่อเน่ือง เช่น มหกรรมกีฬา กศน. การแลกเปลยี่ น
เรยี นรกู้ ารดาเนินงาน และการสร้างความรว่ มมอื ในรปู แบบต่างๆ เป็นต้น

๗) ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหม้ กี ารพัฒนานวตั กรรมเพื่อการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของ
บคุ ลากรอย่างมีประสทิ ธิภาพ

๘) สง่ เสริมให้บคุ ลากรในสังกัดพฒั นาตนเองเพือ่ เล่อื นตาแหนง่ หรอื เลือ่ นวทิ ยฐานะโดยเนน้ การประเมิน
วทิ ยฐานะเชิงประจกั ษ์

๙) ให้มกี ารจัดทาโปรแกรมระบบสารสนเทศทรพั ยากรบุคคล (DPIS) ของหน่วยงาน
และสถานศึกษาในสงั กัด เพ่ือเป็นเคร่ืองมอื ประกอบการบริหารจดั การและการพฒั นาบคุ ลากรใน
สงั กัด

๑๐) จัดทาแนวทางการขับเคลอ่ื น กศน. ส่กู ารเปน็ “องคก์ รแห่งศักด์ศิ รแี ละสุจริตธรรม” สง่ เสริมการจัด
กิจกรรม การจดั ทานวตั กรรมเกย่ี วกับองค์ความรู้ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมการป้องกนั การทุจรติ และราชการใส
สะอาด ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา เพ่ือให้ กศน.เปน็ องค์กรแห่งศกั ดิศ์ รแี ละสุจริตธรรมท่ปี ระชาชนมีความ
เช่ือมั่น ศรทั ธาและมีความไว้วางใจในการปฏบิ ัตงิ าน

๖.๒ การพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานและอัตรากาลงั
๑) เร่งผลักดันให้มีการประกาศใชก้ ฎหมายว่าด้วยการศึกษาตลอดชวี ติ
๒) จัดทาแผนการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและดาเนินการปรับปรงุ สถานท่แี ละวสั ดอุ ปุ กรณ์ ให้มีความ
พรอ้ มในการจัดการศกึ ษา
๓) ระดมทรพั ยากรจากชุมชน เพ่ือนามาใช้ในการปรับปรุงโครงสร้างพ้นื ฐานให้มีความพร้อมสาหรบั
ดาเนินกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นร้ขู องประชาชน
๔) แสวงหาภาคีเครือขา่ ยในท้องถ่นิ เพ่อื การมสี ว่ นรว่ มในการดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย
๕) บรหิ ารอตั รากาลังท่มี ีอย่ทู ั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจา้ ง ให้เกิดประสทิ ธิภาพ
สงู สุดในการปฏบิ ัตงิ าน
๖.๓ การพฒั นาองค์ความรู้และฐานขอ้ มูล

๑) วิจยั และพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั นโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธิการในการใชก้ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเปน็ กลไกสาคญั ในการพัฒนาที่ยั่งยนื
โดยเฉพาะด้านเศรษฐกจิ สังคม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

๒) สง่ เสรมิ ให้มกี ารจัดการความรใู้ นหน่วยงานและสถานศกึ ษาทุกระดับ รวมท้งั การศึกษาวจิ ยั เพื่อสามารถ
นามาใช้ในการพัฒนาประสทิ ธิภาพการดาเนินงานทส่ี อดคล้องกบั ความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนพร้อมทง้ั
พัฒนาขีดความสามารถเชงิ การแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาทง้ั ในระดบั อาเซียนและระดับสากล

๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลใหม้ คี วามครบถ้วน ถกู ตอ้ ง ทันสมัย และเชือ่ มโยงกนั ทัว่ ประเทศอย่างเป็น
ระบบเพ่อื ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดสามารถนาไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการบริหาร และจัดบรกิ าร
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

๔) สนบั สนนุ ใหม้ กี ารประชาสัมพันธ์ “กศน.ยุคใหม่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่สากล” และสรา้ ง
ภาพลักษณใ์ หม่ของ กศน. ในการสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ และการศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทา เพ่อื สรา้ ง
กระแสให้ประชาชนและทุกภาคส่วนของสังคมเห็นความสาคญั และเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการดาเนินกจิ กรรมของ
กศน.ทง้ั ในฐานะผู้รับบรกิ าร ผจู้ ัด ผู้สง่ เสรมิ และผสู้ นบั สนุนการดาเนินงานของ กศน.

บทบาทหนา้ ที่ของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอ

1 จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2 ส่งเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่าย เพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั
3 งานนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมัน่ คงของชาติ
4 จัด สง่ เสริม สนับสนนุ และประสานการจัดการศกึ ษาตามโครงการ อันเน่อื งมาจากพระราชดาริ
5 จดั ส่งเสรมิ สนบั สนุน พัฒนาแหล่งเรยี นร้แู ละภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น
6 วิจัยและพฒั นาคณุ ภาพหลกั สตู ร สอื่ กระบวนการเรยี นรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
7 ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ และเทียบระดับ
การศึกษา
8 กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
9 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และภาคีเครอื ข่าย
10 ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
11 ดาเนินการประกันคณุ ภาพภายใน ให้สอดคล้องกบั ระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการทกี่ าหนด
12 ปฏิบตั งิ านอ่ืน ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอครบรุ ี

ปรัชญา “คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเปน็ ”

วสิ ัยทัศน์ ประชาชนในอาเภอครบรุ ไี ด้รับการศึกษาตลอดชวี ติ และการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างมี
คณุ ภาพ ทว่ั ถึงและเท่าเทยี มกนั เพ่ือใหเ้ กดิ สังคมแหง่ การเรียนรู้และการมอี าชีพอยา่ งย่งั ยืน

อัตลกั ษณ์ ผ้รู ับบริการต้องมี “ความรู้ คุณธรรม ทกั ษะดาเนนิ ชีวติ อย่างพอเพียง”

พันธกิจ
1. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ีคุณภาพ
2. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทาเพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ชมุ ชนมีอาชพี อย่างยั่งยนื
3. เพ่ิมขีดความสามารถให้ประชาชนมีความรู้ มีรายได้เพ่ือสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและ

สังคมแห่งการเรยี นรู้

เป้าประสงค์

1. ผ้สู าเรจ็ การศึกษามคี วามรู้ มคี ณุ ภาพและดารงชีวิตอยา่ งมคี วามสุขในสังคม
2. พัฒนาคนและสรา้ งอาชีพสอดคล้องตอ่ ความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ และตลาดแรงงาน
3. ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษามีทักษะอาชีพ มีรายได้ มงี านทา
4. ประชาชนทกุ กลมุ่ ได้รบั การศึกษาอย่างทวั่ ถงึ และเสมอภาค
5. พัฒนาศักยภาพบุคลากร และการให้บริการทางการศึกษา การวิจัยและองค์ความรู้ เพ่ือการ
เตรยี มพร้อมสปู่ ระชาคมโลก

กลยทุ ธ์
1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ครอบคลุมทกุ ตาบล ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย
2. เร่งรัดพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามมาตรฐานการ

ศกึ ษานอกนอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน
4. ส่งเสริมสนับสนุนประสานงานภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือและสนับสนุน การจัดการศึกษา

นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

ความสาคญั และท่มี า

จากการจดั การเรยี นการสอนและการร่วมการจดั กจิ กรรมทางการศกึ ษาของครู กศน.ตาบลทกุ ตาบล
ท่ีพบปญั หาและอุปสรรคของผเู้ รียนตามแตล่ ะ กศน.ตาบล ครูกศน.ตาบลในทุกตาบลของกศน.อาเภอครบุรีผ้เู รียน
ในทุกระดับการศึกษาพบว่าผู้เรียนสว่ นใหญม่ กั จะส่งงานที่ไดร้ บั มอบหมาย / การบ้านไม่ตรงเวลาทีค่ รูผู้สอน
กาหนด หรือบางคนกไ็ มส่ ง่ งาน / หรอื การบ้านเลย ซึ่งทาใหค้ รผู ้สู อนไมส่ ามารถวดั ความรู้ หรือติดตาม
ความก้าวหน้าของผู้เรยี นได้ ซงึ่ ในบางรายวชิ าอาจมีผลต่อคะแนนเก็บของผู้เรยี นดว้ ย ดังนั้นผวู้ ิจยั ซง่ึ ในฐานะทเี่ ปน็
ทั้งครูผ้สู อนและเป็นครู กศน.ตาบล เห็นความสาคัญของปัญหาดังกลา่ ว จึงได้ ทาการวิจัยเพอ่ื ศกึ ษาเจตคตขิ อง
ผเู้ รยี นในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เพอ่ื นามาเป็นขอ้ มูลในการแกป้ ัญหาของผู้เรยี นในเรื่องการไมส่ ง่ งานท่ไี ด้รับ
มอบหมาย / การบา้ นต่อไป
ทางเลอื กทีค่ าดว่าจะแกป้ ัญหา

จัดทาแบบสอบถามเพื่อศกึ ษาเจตคติของผู้เรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลเฉลยี งในเรอ่ื งการไม่
สง่ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย / การบา้ น เพ่ือนาผลจากการวจิ ยั มาเกบ็ เป็นข้อมลู เพื่อนาไปแก้ไขปัญหาในการไม่ส่งงาน
/ การบา้ น แกป้ ัญหาการเรียนการสอน รวมท้ังเพ่ือให้ผู้เรียนเหน็ ความสาคัญของการสง่ งานที่ได้รบั มอบหมาย /
การบา้ น
จดุ มุ่งหมาย

1. เพือ่ ศึกษาเจตคติของการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย / การบ้าน ของผเู้ รียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
2. เพื่อรวบรวมขอ้ มลู สาหรบั การจัดการเรยี นการสอนแก้ปัญหาการไม่สง่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย /

การบ้านของผู้เรยี น
ตวั แปรทศ่ี กึ ษา

1. แบบสอบถามเพอ่ื ศกึ ษาเจตคตขิ องผู้เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตาบลเฉลียง
ในเร่ืองการไม่ส่งงานที่ได้รบั มอบหมาย / การบ้าน

2. ระดบั คะแนนเฉล่ียของแบบสอบถาม
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

การวิจัยครั้งนเี้ ป็นการศกึ ษาเจตคตขิ องผเู้ รยี นในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตาบลเฉลียงผู้วจิ ัยได้
จดั ทาแบบสอบถามเพื่อศกึ ษาสาเหตุของการไม่ส่งงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย / การบ้านของผู้เรียนจานวน 15 ข้อ โดย
ให้ผ้เู รียนเรยี งลาดับสาเหตกุ ารไมส่ ง่ งานท่ีได้รับมอบหมาย / การบ้านตามลาดบั ท่ีมากท่ีสดุ จนถงึ น้อยทีส่ ดุ จาก
ลาดับ 1 – 15 และไดท้ าการนาผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่า รอ้ ยละ แลว้ นาขอ้ มูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุปพรอ้ ม
ทงั้ นาเสนอในรูปของตารางประกอบคาบรรยาย เพอ่ื ศกึ ษาเจตคตชิ องผู้เรียนในเร่อื งการไม่สง่ งานที่ได้รบั มอบหมาย
/ การบ้าน

สมมตุ ิฐานในการวจิ ยั
ผเู้ รยี นมกี ารพฒั นาเจตคติเพ่ือผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ที่มีตอ่ วินัยในตนเองด้านวินัยในการสง่ งาน ความขยนั อดทน
ทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของผู้เรียนในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตาบลเฉลยี งใน
ระดับทส่ี ูงขึ้น

ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ทราบถึงเจตคติและสาเหตขุ องการไม่ส่งงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย / การบ้านของผเู้ รียน
2. ได้แนวทางในการแก้ปัญหาการเรียนการสอน

ขอบเขตของการวิจัย
ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ีเป็นการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนในการไม่ส่งงานที่ได้รับ

มอบหมาย/การบา้ นของผเู้ รยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายโดยใช้ข้อความท่ีคาดว่าจะเป็นสาเหตุของการไม่ส่งงาน
ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย / การบ้าน จานวน 15 ขอ้ และไดก้ าหนดขอบเขตของการวจิ ยั ไวด้ ังนี้

1.ประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษา คือผเู้ รียน กศน.ตาบลเฉลียง กาลังศกึ ษาอยใู่ นระดับมัธยม
ศกึ ษาตอนปลายในภาคเรียนท่ี 2 ประจาปีการศึกษา 2556 จานวน 103 คน

2. แบบสอบถามทีใ่ ช้ในการศกึ ษา เป็นเป็นแบบสอบถามเพือ่ ศึกษาเจตคติของผู้เรยี นในระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนปลายในเร่อื งการไม่ส่งงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย / การบ้าน จานวน 15 ข้อ

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
เจตคติ (Attitude )หมายถงึ ความร้สู กึ หรือทา่ ทีของบคุ คลทีม่ ตี ่อบคุ คล วัตถุสง่ิ ของ หรอื สถานการณ์

ต่างๆ ความรสู้ กึ หรือท่าทีจะเปน็ ไปในทานองท่พี งึ พอใจ หรือไม่พอใจ เห็นด้วยหรือไมเ่ ห็นด้วยกไ็ ด้
ผเู้ รียน (Students) หมายถึง นกั ศึกษาการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระดับมธั ยมศึกษา

ตอนต้น กศน.ตาบลเฉลียง ประจาภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษาท่ี 2556
ความรสู้ ึก (Feeling) หมายถึง อารมณ์ทม่ี ีต่อเป้าหมาย
ความรับผดิ ชอบ หมายถึง ความมงุ่ มัน่ ของผู้เรียนที่จะงานท่ีไดร้ ับมอบหมายให้สาเร็จลลุ ่วงด้วยดี และ

ตัง้ ใจเรียนและตั้งใจทางานอย่างเตม็ ความสามารถ
แนวโนม้ พฤตกิ รรม (Action tendency ) หมายถงึ ความพร้อมที่จะมพี ฤตกิ รรมท่สี อดคล้องกับเจต

คติ ถ้าบคุ คลมเี จตคตทิ ี่ดตี ่อเป้าหมาย เขาจะมคี วามพร้อมท่จี ะมีพฤตกิ รรมช่วยเหลือหรือสนบั สนนุ เป้าหมาย
น้ัน ถ้าบคุ คลมเี จตคตใิ นทางลบต่อเป้าหมาย เขาก็จะมีความพรอ้ มท่ีจะมพี ฤติกรรมทาลาย หรือทาร้าย เปา้ หมาย

แรงจูงใจในการเรยี นรู้ หมายถงึ การแสดงพฤติกรรมเม่อื ถูกกระต้นุ จากสิง่ เร้า เชน่ คาชมเชย การให้
รางวลั ฯลฯ แลว้ สามารถประพฤติตนไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายโดยการเรยี นรู้ของแตล่ ะคน

การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม อันเป็นผลมาจากการได้รับ
ประสบการณ์

บทที่ 2

เอกสารและทฤษฎที ่เี กยี่ วขอ้ ง

ทฤษฎีที่เก่ียวขอ้ งในการจดั ทางานวิจยั มดี ังน้ี
จิตวทิ ยาการศกึ ษา
เจตคติ (Attitude)
ทฤษฎีแรงจงู ใจ
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้แบบวางเงื่อนไข แบบแบบการกระทาของสกินเนอร์

จิตวิทยาการศึกษา
จิตวทิ ยาการศกึ ษา มบี ทบาทสาคญั ในการจัดการศกึ ษา การสรา้ งหลกั สตู รและการเรียนการสอนโดย

คานึงถึงความแตกต่างของบุคคล นกั ศกึ ษาและครู จาเป็นตอ้ งมีความรพู้ น้ื ฐานทางจิตวิทยาการศึกษา เพื่อจะได้
เข้าใจพฤตกิ รรมของผู้เรยี นและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนถงึ ปญั หาตา่ งๆเกี่ยวกบั การเรยี นการ
ความสาคญั ของการศกึ ษาจิตวทิ ยาการศึกษา

ความสาคญั ของวัตถุประสงค์ของการศกึ ษาและบทเรียน นักจติ วิทยาการศกึ ษาได้เน้นความสาคญั ของ
ความชัดเจนของการระบุวัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาบทเรียนตลอดจนถึงหนว่ ยการเรยี น เนื่องจากวัตถุประสงค์
จะเปน็ ตวั กาหนดการจัดการเรยี นการสอน ทฤษฎพี ฒั นาการ และทฤษฎีบุคลกิ ภาพ เปน็ เรื่องท่ีนกั การศึกษาและ
ครจู ะต้องมคี วามรเู้ พราะจะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเอกลักษณข์ องผเู้ รียนในวัยตา่ ง ๆ โดยเฉพาะวัยอนุบาล วยั เด็ก และ
วยั รุ่น ซึง่ เป็นวัยที่กาลงั ศึกษาในโรงเรียน ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและกล่มุ นอกจากมคี วามเข้าใจพฒั นาการ
ของเด็กวัยตา่ ง ๆ แลว้ นักการศึกษาและครจู ะต้องเรียนรู้ถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คลและกลุ่มทางดา้ นระดับ
เชาวนป์ ัญญา ความคิดสรา้ งสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงนกั จติ วทิ ยาไดค้ ดิ วธิ กี ารวิจัยที่จะชว่ ย
ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลเปน็ ตัวแปรทส่ี าคัญในการเลือกวิธีสอนและในการสรา้ งหลักสูตรที่
เหมาะสม ทฤษฎีการเรียนรู้ นักจิตวิทยาท่ีศึกษาวิจัยเกยี่ วกับการเรยี นรู้ นอกจากจะสนใจว่าทฤษฎีการเรียนรจู้ ะ
ชว่ ยนกั เรียนให้เรียนรู้และจดจาอยา่ งมีประสิทธภิ าพได้อย่างไรแล้ว ยังสนใจองคป์ ระกอบเกีย่ วกับตัวของ
ผู้เรียน เชน่ แรงจูงใจว่ามคี วามสัมพันธก์ บั การเรยี นรู้อย่างไร ความรู้เหล่าน้กี ็มคี วามสาคัญต่อการเรยี นการสอน
ทฤษฎกี ารสอนและเทคโนโลยที างการศึกษา นกั จิตวิทยาการศกึ ษาได้เปน็ ผูน้ าในการบกุ เบกิ ต้งั ทฤษฎีการสอน
ซึ่งมคี วามสาคัญและมปี ระโยชนเ์ ทา่ เทยี มกับทฤษฎีการเรยี นร้แู ละพฒั นาการในการชว่ ยนักการศึกษาและครู
เกย่ี วกับการเรียนการสอน สาหรบั เทคโนโลยใี นการสอนทีจ่ ะชว่ ยครูได้มากก็คือ คอมพวิ เตอรช์ ่วยการสอน
หลกั การสอนและวิธสี อน นักจติ วทิ ยาการศึกษาได้เสนอหลกั การสอนและวิธีการสอนตามทฤษฎที างจิตวิทยาท่ี
แตล่ ะท่านยดึ ถอื เช่น หลกั การสอนและวิธีสอนตามทัศนะนักจิตวทิ ยาพฤตกิ รรมนิยม ปัญญานยิ ม และมนษุ ยนยิ ม
หลกั การวัดผลและประเมินผลการศึกษา ความรพู้ น้ื ฐานเก่ียวกับเรือ่ งนี้จะชว่ ยให้นกั การศกึ ษา และครูทราบวา่
การเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธิภาพหรือไม่ หรือผู้เรยี นได้
สมั ฤทธผิ ลตามวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะของแต่ละวชิ าหรือหน่วยเรียนหรอื ไม่ เพราะถา้ ผ้เู รียนมีสมั ฤทธิผลสูง กจ็ ะเปน็
ผลสะท้อนวา่ โปรแกรมการศึกษามปี ระสิทธิภาพและการสรา้ งบรรยากาศของหอ้ งเรียน เพอ่ื เอ้ือการเรยี นรู้และช่วย
เสรมิ สร้างบคุ ลกิ ภาพของนกั เรียน ความสาคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครูมคี วามสาคญั ในเร่ืองต่อไปนี้

1. ช่วยใหค้ รูรู้จักลักษณะนสิ ยั ของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางรา่ งกาย
สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบคุ ลิกภาพเป็นสว่ นรวม

2. ชว่ ยให้ครมู คี วามเขา่ ใจพฒั นาการทางบุคลิกภาพบางประการของนกั เรยี น เช่น อัตมโนทัศน์ วา่
เกิดขน้ึ ได้อย่างไร และเรยี นรู้ถงึ บทบาทของครูในการทช่ี ่วยนักเรยี นให้มีอัตมโนทัศน์ท่ีดแี ละถูกตอ้ งได้อย่างไร

3. ช่วยครูให้มคี วามเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบคุ คลเพ่ือจะได้ชว่ ยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้
พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล

4. ช่วยใหค้ รรู ู้วธิ ีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก้วยั และข้นั พัฒนาการของนกั เรยี น
เพือ่ จงู ใจให้นักเรียนมคี วามสนใจและมีความทีอ่ ยากจะเรียนรู้

5. ชว่ ยใหค้ รทู ราบถึงตัวแปรต่างๆ ท่มี อี ิทธพิ ลต่อการเรียนรขู้ องนักเรยี นเชน่ แรงจูงใจอัตมโนทศั น์
และการตง้ั ความคาดหวังของครทู ่มี ีต่อนกั เรยี น

6. ชว่ ยครใู นการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพื่อทาให้การสอนมีประสทิ ธิภาพสามารถช่วยให้
นกั เรียนทุกคนเรียนตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล โดยคานึงถึงหัวข้อต่อไปนี้

6.1 ช่วยครเู ลือกวัตถปุ ระสงค์ของบทเรียนโดยคานึงถึงลักษณะนสิ ัยและความแตกต่างระหว่างบคุ คล
ของนักเรียนทีจ่ ะต้องสอนและสามารถท่จี ะเขยี นวัตถปุ ระสงคใ์ หน้ กั เรยี นเข้าใจว่าสง่ิ คาดหวังใหน้ กั เรียนรมู้ ี
อะไรบ้าง โดยถือว่าวัตถปุ ระสงค์ของบทเรียนคือส่ิงท่จี ะช่วยใหน้ กั เรียนทราบ เมื่อจบบทเรียนแล้วนักเรยี นสามารถ
ทาอะไรได้บ้าง

6.2 ช่วยครูในการเลือกหลกั การสอนและวิธสี อนท่ีเหมาะสม โดยคานงึ ลกั ษณะนสิ ัยของนักเรยี น
และวิชาทีส่ อน และกระบวนการเรยี นรูข้ องนักเรยี น

6.3 ช่วยครใู นการประเมินไม่เพยี งแตเ่ ฉพาะเวลาครไู ดส้ อนจนจบบทเรียนเท่าน้นั แต่ใช้ประเมิน
ความพรอ้ มของนักเรยี นกอ่ นสอน ในระหว่างทีท่ าการสอน เพือ่ ทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าหรือมปี ัญหาใน
การเรียนรู้อะไรบา้ ง

7. ชว่ ยครูให้ทราบหลกั การและทฤษฎขี องการเรยี นรทู้ ีน่ ัก ไดพ้ ิสูจน์แลว้ ว่าไดผ้ ลดี เช่น การเรยี นจาก
การสังเกตหรือการเลียนแบบ

8. ชว่ ยครใู ห้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนท่ีมีประสทิ ธภิ าพรวมทัง้ พฤติกรรมของครูทมี่ ีการสอน
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพวา่ มีอะไรบ้าง เชน่ การใช้คาถาม การใหแ้ รงเสรมิ และการทาตนเป็นต้นแบบ

9. ชว่ ยครใู หท้ ราบวา่ นกั เรียนทม่ี ีผลการเรียนดีไม่ได้เปน็ เพราะระดบั เชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดยี ว
แตม่ อี งคป์ ระกอบอ่นื ๆ เช่น แรงจูงใจ ทศั นคตหิ รืออัตมโนทัศนข์ องนักเรียนและความคาดหวงั ของครทู ี่มีต่อ
นักเรยี น

10. ช่วยครใู นการปกครองช้ันและการสร้างบรรยากาศของหอ้ งเรียนใหเ้ ออ้ื ต่อการเรียนรู้และ
เสริมสร้างบคุ ลิกภาพของนักเรยี น ครแู ละนักเรียนมีความรกั และไวว้ างใจซงึ่ กนั และกันนักเรยี น ต่างก็ชว่ ยเหลือกัน
และกัน ทาใหห้ อ้ งเรียนเปน็ สถานทที่ ่ที ุกคนมีความสุขและนักเรยี นรกั โรงเรยี น อยากมาโรงเรียน

เนอื่ งจากการศึกษามบี ทบาทสาคญั ในการชว่ ยให้เยาวชนพฒั นาการทัง้ ทางดา้ นเชาวน์ปญั ญา และทาง
บุคลิกภาพ เพ่อื ชว่ ยให้เยาวชนมคี วามสาเร็จในชวี ติ ทุกประเทศจงึ หาทางส่งเสริมการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพ มี
มาตรฐานความเป็นเลศิ ความร้เู กีย่ วกบั จิตวิทยาการศึกษาจึงสาคญั ในการช่วยท้ังครแู ละนักศึกษาผูม้ ีความ
รบั ผิดชอบในการปรับปรงุ หลกั สูตรและการเรียนการสอน

พัฒนาการจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยา เป็นศาสตรท์ ีม่ ีคนสนใจมาตง้ั แต่สมยั กรกี โบราณก่อนครสิ ตก์ าล มีนกั ปรัชญาชื่อ

เพลโต (Plato 427 – 347 กอ่ นคริสต์กาล) อรสิ โตเตลิ (Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสตก์ าล) ได้กล่าวถงึ
ธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ในเชิงปรัชญามากกวา่ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศกึ ษาในยคุ นน้ั เป็นแบบ
เกา้ อีโ้ ต๊ะกลมหรอื เรยี กว่า Arm Chair Method เรียกจติ วิทยาในยุคนน้ั วา่ จิตวทิ ยายคุ เก่าเพราะนกั จิตวิทยานงั่
ศึกษาอย่กู บั โตะ๊ ทางาน โดยใชค้ วามคดิ เห็นของตนเองเพยี งอยา่ งเดยี วไมม่ กี ารทดลอง ไมม่ ีการวิเคราะห์ใด ๆ
ท้งั สน้ิ ตอ่ มาอรสิ โตเติลได้สนใจจิตวิทยาได้ทาการศึกษาและไดเ้ ขียนตาราเลม่ แรกของโลกเปน็ ตาราท่ีวา่ ด้วย
เรื่อง วญิ ญาณช่ือ De Anima แปลวา่ ชวี ิต เขากลา่ วว่า วญิ ญาณเป็นต้นเหตใุ หค้ นต้องการเรียนจิตวทิ ยา คนใน
สมยั โบราณจงึ ศึกษาจติ วิทยาท่ีเกีย่ วข้องกบั วิญญาณ โดยมีความเชือ่ วา่ วิญญาณจะสงิ อยใู่ นรา่ งกายของมนุษย์ขณะมี
ชีวติ อยู่ เมื่อคนสนิ้ ชีวิตกห็ มายถึงรา่ งกายปราศจากวิญญาณและวิญญาณออกจากร่างล่องลอยไปชว่ั ระยะหนง่ึ แล้ว
อาจจะกลับสรู่ า่ งกายคืนอกี ได้ และเมือ่ น้ันคน ๆ นนั้ กจ็ ะฟื้นคืนชีพข้ึนมาอีก ชาวกรีกจึงมกี ารคดิ คน้ วิธีการ
ปอ้ งกนั ศพไมใ่ ห้เนา่ เป่อื ยท่ีเรียกวา่ มมั มี่ เพื่อคอยการกลบั มาของวิญญาณ ตอ่ มาประมาณศตวรรษท่ี
11 - 12 ได้เกดิ ลทั ธิความจริง (Realism) เป็นลทั ธิที่เชอื่ สภาพความเปน็ จรงิ ของส่งิ ต่าง ๆ และลทั ธคิ วามคิดรวบ
ยอด (Conceptualism) ทกี่ ลา่ วถึงความคดิ ท่ีเกดิ หลังจากได้วิเคราะห์พิจารณาสิง่ ต่าง ๆ ถ่ีถ้วนแล้ว จากลทั ธิทั้ง
สองน้เี องทาให้ผู้คนมีความคิดมากขน้ึ มกี ารคิด วิเคราะห์ ไตร่ตรอง จงึ เป็นเหตใุ ห้ผู้คนเร่ิมหนั มาสนใจในทาง
วทิ ยาศาสตร์ และจึงเรมิ่ มาสนใจในเรื่องจิตวทิ ยาในเชงิ วิทยาศาสตรม์ ากขนึ้ ในขณะเดียวกนั กย็ งั สนใจศึกษาเรอื่ ง
จติ มากข้ึนด้วย รวมทั้งใหค้ วามสนใจศึกษาเก่ียวกบั เรื่องจิตสานึก (Conscious) อันไดแ้ ก่ การมสี มาธิ การมี
สติสัมปชญั ญะ และเชื่อวา่ จะเป็นมนษุ ยไ์ ด้จะต้องประกอบไปดว้ ย รา่ งกายกับจติ ใจ จึงมีคาพูดตดิ ปากวา่ “A
Sound mind is in a sound body” จิตทีผ่ ่องใสอยู่ในรา่ งกายทส่ี มบรู ณ์ ความสนใจเรื่องจิตจงึ มีมากข้นึ
ตามลาดบั นอกจากนยี้ ังเช่ือว่า จิต แบง่ สามารถเป็นสว่ นๆ ไดแ้ ก่ ความคดิ (Idea) จินตนาการ (Imagine)
ความจา (Memory) การรับรู้ (Concept) ส่วนทสี่ าคญั ท่สี ดุ เรียกว่า Faculty of will เป็นส่วนหน่งึ ของจิตที่
สามารถส่ังการเคลื่อนไหวตา่ ง ๆ ของร่างกายต่อมา Norman L. Mumm มคี วามสนใจเรื่องจิต เขา
กล่าวว่า จติ วทิ ยา คือ การศึกษาเรอื่ งจิต ในปี ค.ศ. 1590 คาว่า Psychology จงึ เปน็ ทร่ี จู้ กั และสนใจของคน
ทั่วไป

จอหน์ ลอค (John Locke ค.ศ. 1632 - 1704) ได้ชื่อว่าเป็น บดิ าจิตวทิ ยาแผนใหม่ เขาเชือ่ ว่า ความ
รู้สึกตวั ( Conscious ) และส่ิงแวดลอ้ มเป็นตัวทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ่ จิต

วิธกี ารศึกษาทางจติ วทิ ยา การศึกษาทางจติ วทิ ยาใชห้ ลาย ๆ วิธกี ารมาผสมผสานและทาการ
วิเคราะหบ์ นสมมตุ ฐิ าน นักจิตวิทยาจะใช้วิธีการตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ เชน่ การตรวจสอบตนเอง การสังเกต
การศกึ ษาบุคคลเป็นรายกรณี การสัมภาษณ์ การทดสอบ ดั งจะอธบิ ายเรียงตามลาดบั ต่อไปนี้

1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถงึ วิธกี ารให้บุคคลสารวจ ตรวจสอบตนเองด้วยการ
ย้อนทบทวนการกระทาและความรู้สึกนึกคดิ ของตนเองในอดีต ทผ่ี ่านมา แลว้ บอกความรสู้ ึกออกมา โดยการ
อธบิ ายถงึ สาเหตุและผลของการกระทาในเรื่องตา่ ง ๆ เช่น ตอ้ งการทราบวา่ ทาไมเด็กนกั เรียนคนหนึ่งจึงชอบพดู
ปดเสมอ ๆ กใ็ หเ้ ลา่ เหตหุ รือเหตุการณใ์ นอดีต ที่เป็นสาเหตใุ หม้ ีพฤตกิ รรมเชน่ นนั้ กจ็ ะทาใหท้ ราบท่มี าของ
พฤติกรรมและได้แนวทางในการที่จะช่วยเหลือแก้ไขพฤติกรรมดังกลา่ วได้

การตรวจสอบตนเองจะได้รับขอ้ มูลตรงตามความเป็นจริงและเป็นประโยชน์ เพราะผู้รายงานทมี่ ี
ประสบการณ์และอยู่ในเหตกุ ารณน์ นั้ จริง ๆ แตห่ ากผู้รายงานจดจาเหตกุ ารณ์ได้แม่นยา และมีความจริงใจในการ
รายงานอยา่ งซอ่ื สตั ย์ไม่ปดิ บังและบิดเบือนความจริง แต่หากผู้รายงานจาเหตุการณห์ รือเร่อื งราวไม่ได้หรือไม่
ตอ้ งการรายงานข้อมลู ทแี่ ท้จรงิ ใหท้ ราบกจ็ ะทาให้การตคี วามหมายของเรื่องราวต่าง ๆ หรอื เหตกุ ารณ์ผิดพลาดไม่
ตรงตามข้อเท็จจรงิ

2. การสงั เกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรมในสถานการณท์ ี่เป็นจรงิ อยา่ งมี
จดุ มงุ่ หมาย โดยไม่ให้ผู้ถูกสงั เกตรู้ตวั การสงั เกตแบง่ เป็น 2 ลกั ษณะคือ

2.1 การสงั เกตอย่างมีแบบแผน ( Formal Observation ) หมายถงึ การสงั เกตที่มีการเตรียมการ
ลว่ งหน้า มกี ารวางแผน มกี าหนดเวลา สถานการณ์ สถานท่ี พฤติกรรมและบคุ คลทจ่ี ะสงั เกต ไว้เรียบร้อยเมื่อถึง
เวลาทนี่ ักจิตวิทยาวางแผน กจ็ ะเริม่ ทาการสงั เกตพฤติกรรมตามท่ีกาหนดและผู้สังเกตพฤตกิ รรมจะจด
พฤตกิ รรมทุกอยา่ งในช่วงเวลาน้ันอย่างตรงไปตรงมา

2.2 การสงั เกตอย่างไม่มีแบบแผน ( Informal Observation ) หมายถึง การสังเกตโดยไม่ตอ้ งมีการ
เตรยี มการล่วงหน้าหรือวางแผนลว่ งหน้า แต่สังเกตตามความสะดวกของผู้สงั เกตคือจะสังเกตช่วงเวลาใดกไ็ ดแ้ ลว้
ทาการจดบันทึกพฤติกรรมท่ีตนเห็นอยา่ งตรงไปตรงมา

การสงั เกตช่วยใหไ้ ด้ข้อมลู ละเอียด ชัดเจนและตรงไปตรงมา เชน่ การสังเกต อารมณ์ ความรู้สึก
ของบคุ คลต่อสถานการณต์ า่ ง ๆ จะทาให้เห็นพฤติกรรมไดช้ ดั เจนกว่าการเก็บขอ้ มูลดว้ ยวิธกี ารอืน่ ๆ แต่การ
สงั เกตทีด่ ีมีคณุ ภาพมีส่วนประกอบหลายอยา่ ง เช่น ผสู้ งั เกตจะตอ้ งมใี จเป็นกลางไมอ่ คตหิ รือลาเอยี งอย่างหนงึ่
อยา่ งใด และสังเกตไดท้ วั่ ถึง ครอบคลุม สงั เกตหลาย ๆ สถานการณ์หลาย ๆ หรือหลายๆ พฤติกรรม และใชเ้ วลา
ในการสังเกต ตลอดจนการจดบันทึกการสงั เกตอย่างตรงไปตรงมาและแยกการบันทึกพฤตกิ รรมจากการตีความ
ไมป่ ะปนกัน ก็จะทาให้การสงั เกตได้ข้อมูลตรงตามความเป็นจริงและนามาใช้ประโยชน์ตามจดุ มุ่งหมาย

3. การศึกษาบุคคลเปน็ รายกรณี (Case Study) หมายถงึ การศกึ ษารายละเอยี ดต่าง ๆ ทสี่ าคัญของ
บุคคล แต่ต้องใชเ้ วลาศึกษาตดิ ต่อกนั เป็นระยะเวลาหนึ่ง แลว้ รวบรวมข้อมลู มาวิเคราะห์พิจารณาตีความเพื่อให้
เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษทผ่ี ู้ศกึ ษาตอ้ งการทราบ ท้ังนี้เพ่อื จะได้หาทางชว่ ยเหลอื แก้ไข
ปรบั ปรงุ ตลอดจนส่งเสรมิ พฤติกรรมให้เปน็ ไปในทางสร้างสรรคท์ ี่สาคัญของบุคคลแตต่ ้องใช้เวลาศึกษา
ตดิ ต่อกันเป็นระยะหนงึ่ แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พจิ ารณาตีความเพื่อใหเ้ ขา้ ใจถึงสาเหตขุ องพฤติกรรม
หรอื ลกั ษณะพเิ ศษที่ผศู้ กึ ษาต้องการทราบ ทัง้ น้ี เพ่ือจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอดจนสง่ เสรมิ
พฤติกรรมใหเ้ ป็นไปในทางสร้างสรรค์

4. การสมั ภาษณ์ (Interview) หมายถงึ การสนทนากนั ระหวา่ งบคุ คลต้ังแต่สองคนขึ้นไป โดยมี
จุดมุ่งหมาย ซงึ่ การสัมภาษณ์กม็ หี ลายจุดมุ่งหมาย เช่น การสมั ภาษณเ์ พ่ือความคุ้นเคย สมั ภาษณเ์ พือ่ คดั เลอื ก
บคุ คลเข้าทางาน สมั ภาษณ์เพ่อื คัดเลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษาต่อ ตลอดจนสมั ภาษณ์เพือ่ การแนะแนวและการให้
คาปรึกษา เปน็ ต้น แต่ทัง้ การสมั ภาษณ์กเ็ พือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมลู หรอื ข้อเท็จจริงตา่ ง ๆ เพื่อใชใ้ นการตดั สนิ ใจ

การสมั ภาษณท์ ี่ดี จาเป็นต้องมีการเตรยี มการล่วงหนา้ วางแผน กาหนดสถานที่ เวลาและเตรียม
หวั ข้อหรือคาถามในการสมั ภาษณ์ และนอกจากน้ันในขณะสัมภาษณผ์ ูส้ ัมภาษณ์ควรจะใช้เทคนคิ อ่ืน ๆ
ประกอบด้วยก็ยง่ิ จะได้ผลดี เช่น การสงั เกต การฟัง การใช้คาถาม การพดู การสรา้ งความสัมพันธ์ทด่ี ี
ระหวา่ งผใู้ หส้ มั ภาษณ์และผู้สัมภาษณ์กจ็ ะช่วยให้การสมั ภาษณ์ไดด้ าเนินไปด้วยดี

5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครอ่ื งมือทีม่ ีเกณฑ์ในการวดั ลกั ษณะของพฤติกรรมใด

พฤติกรรมหน่งึ หรอื หลาย ๆ พฤตกิ รรม โดยใหผ้ ู้รับการทดสอบเปน็ ผูต้ อบสนองต่อแบบทดสอบซงึ่ อาจเป็น

แบบทดสอบภาษาและแบบปฏิบัตกิ ารหรือลงมอื ทา ทั้งน้เี พอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลเกยี่ วกับบุคคลนัน้ ตามจุดมงุ่ หมายท่ผี ู้

ทดสอบวางไวแ้ บบทดสอบที่นามาใชใ้ นการทดสอบหาข้อมลู ได้แก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบทดสอบ

ความสนใจ เป็นตน้

การทดสอบก็มีสิ่งท่ีควรคานึงถึงเพอ่ื ผลของข้อมูลที่ได้รับ ซ่งึ แบบทดสอบทีน่ ามาใช้ควรเป็น

แบบทดสอบที่เชื่อถอื ได้เปน็ มาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เป็นตน้

6. การทดสอบ (Experiment) หมายถงึ วธิ กี ารรวบรวมข้อมูลทีเ่ ป็นระบบ มขี ัน้ ตอนและเป็น

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ซง่ึ มีลาดับข้นั ตอนดงั น้ี ตัง้ ปญั หา ต้งั สมมุตฐิ าน การรวบรวมขอ้ มูล การทดสอบ

สมมุติฐาน การแปลความหมายและรายงานผล ตลอดจนการนาผลทไี่ ดไ้ ปใช้ในการแกป้ ญั หาหรือส่งเสรมิ

ตอ่ ไป การทดลองจึงเป็นการจดั สภาพการณ์ขน้ึ มาเพ่ือดผู ลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขนึ้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ

กลุม่ หรอื สถานการณ์ คือ

1. กลุ่มทดลอง (Experiment Group) คอื กลุ่มที่ได้รบั การจัดสภาพการณท์ ดลองเพือ่ ศึกษาผลท่ี

ปรากฏจากสภาพนน้ั เชน่ การสอนด้วยเทคนคิ ระดมพลังสมอง จะทาใหก้ ล่มุ เกิดความคิดสร้างสรรคห์ รือไม่

2. กลุม่ ควบคุม (Control Group) คือ กลุ่มทไ่ี ม่ไดร้ ับการจัดสภาพการณใ์ ด ๆ ทุกอย่างถูกควบคมุ

ใหค้ งภาพเดมิ ใช้เพื่อเปรยี บเทยี บกับกลุม่ ทดลอง สงิ่ ทผี่ ้ทู ดลองต้องการศกึ ษาเรียกวา่ ตัวแปร ซึ่งมตี ัวแปรอิสระ

หรือตวั แปรต้น (Independent Variable) และตวั แปรตาม ( Dependent Variable )

เจตคติ (Attitude)

ความหมายของเจตคติ

เจตคติ หมายถึงอะไร ขัตตยิ า กรรณสูต (2516:2) ให้ความหมายไว้ คือ ความรสู้ กึ ท่คี นเรามตี ่อสิง่ หน่ึง

สิง่ ใดหรอื หลายส่ิงในลักษณะท่ีเป็นอตั วสิ ัย (Subjective) อันเป็นพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ หรือการแสดงออกทเ่ี รียกวา่

พฤติกรรม

สุชา จันทร์เอม และ สรุ างค์ จันทร์เอม (2520:104) ให้ความหมายเจตคติ คือความรู้สกึ หรอื ท่าทีของ

บุคคลท่ีมีต่อบคุ คล วตั ถสุ งิ่ ของ หรือสถานการณ์ต่างๆ ความรูส้ กึ หรอื ทา่ ทีจะเปน็ ไปในทานองทีพ่ ึงพอใจ หรอื ไม่

พอใจ เห็นดว้ ยหรอื ไม่เห็นด้วยกไ็ ด้

สงวนศรี วิรัชชยั (2527:61) ใหค้ วามหมายเจตคติ คือสภาพความคิด ความเขา้ ใจและความร้สู ึกเชิง

ประเมนิ ทมี่ ีต่อสิ่งตา่ งๆ(วัตถุ สถานการณ์ ความคิด ผคู้ น ฯลฯ) ซ่ึงทาให้บุคคลมีแนวโน้มท่ีจะแสดงพฤตกิ รรมต่อสง่ิ

นน้ั ในลกั ษณะเฉพาะตวั ตามทศิ ทางของทศั นคตทิ ่ีมีอยู่

ชม ภูมิภาค (2516:64) ใหค้ วามหมายเจตคติ คอื วิถที างทบ่ี คุ คลเกิดความรู้สึกต่อบางสิง่ บางอย่าง คา

จากดั ความเชน่ นม้ี ใิ ช่คาจากัดความเชิงวิชาการมากนกั แตห่ ากเราจะพิจารณาโดยละเอยี ดแล้วเราก็พอจะมองเหน็

ความหมายของมันลึกซงึ้ ชดั เจนพอดู เม่อื พูดวา่ คอื ความรูส้ กึ ตอ่ สิง่ นัน้ กห็ มายความว่าเจตคตินั้นมวี ัตถุ วัตถุท่ีเจ

คติจะมุง่ ตรงต่อน้ันจะเปน็ อะไรกไ็ ดอ้ าจจะเปน็ บคุ คล สิง่ ของ สถานการณ์ นโยบายหรืออนื่ ๆ อาจจะเป็นไดท้ งั้

นามธรรมและรปู ธรรม ดงั น้ัน วัตถแุ หง่ เจตคตินั้นอาจจะเป็นอะไรก็ไดท้ ค่ี นรับรู้หรือคดิ ถึงความรู้สึกเช่นนี้อาจจะ

เปน็ ในดา้ นการจงู ใจหรืออารมณแ์ ละเชน่ เดยี วกันแรงจูงใจแบบอื่นๆคือดูได้จากพฤติกรรม ตวั อย่างเช่น เจคตติ ่อ

ศาสนาหากเปน็ เจตคติที่ดีเราจะเกิดความเคารพในวดั เราจะเกิดความรสู้ กึ วา่ ศาสนาหรือวัดนั้นจะเปน็ สง่ิ จรรโลง

ความสงบสขุ เรายินดีบริจาคทาบุญร่วมกับวัดเราจะพูดได้อีกอย่างหนึ่งวา่ เป็นความพร้อมที่จะถูกกระตนุ้ ดว้ ย
วัตถุ การกระทาตา่ งๆของคนน้นั มกั ถูกกาหนดด้วยเจตคติท่ีจะตัดสินใจวา่ จะบริจาคเงินแก่วดั สกั เท่าใดน้ันย่อมมี
ปัจจัยตา่ งๆเขา้ เกยี่ วข้อง เชน่ ชอบสมภาร รายได้ตนเองดีข้ึน เหน็ ความสาคญั ของวัด เห็นวา่ สงิ่ ที่จะตอ้ งบูรณะมาก

“เจตคติ” คือ สภาพความร้สู ึกทางดา้ นจิตใจท่เี กิดจากประสบการณแ์ ละการเรยี นรู้ของบคุ คลอนั เป็นผล
ทาใหเ้ กดิ มีทา่ ทีหรือมีความคิด เหน็ รู้สกึ ต่อสงิ่ ใดสงิ่ หน่ึงในลกั ษณะท่ีชอบหรือไมช่ อบ เหน็ หรือไม่เหน็ ดว้ ย เจต
คติมี ๒ ประเภทคือ เจตคติท่วั ไป เจตคติเฉพาะอยา่ ง

COLLINS (1970:68) ใหค้ วามหมายเจตคติ คือการทีบ่ คุ คลตัดสินในสงิ่ ตา่ งๆว่าดี –ไม่ดี เห็นด้วย-ไม่
เห็นด้วย ยอมรับได้-ยอมรับไม่ได้

ROKEACH (1970:10) ให้ความหมายเจตคติ คือการผสมผสานหรอื จดั ระเบยี บของความเชื่อที่มตี ่อสง่ิ
หนึง่ ส่ิงใดหรือสถานการณ์หนง่ึ สถานการณใ์ ด ผลรวมของความเช่ือนี้จะเป็นตัวกาหนดแนวทางของบคุ คลใน
การท่ีจะมปี ฏกิ ริยาตอบสนองในลกั ษณะท่ชี อบหรอื ไมช่ อบ

BELKIN และ HKYDELL (1979:13) ให้ความหมายเจตคติ คือ แนวโนม้ ทบี่ ุคคลจะตอบสนอง
ในทางทเ่ี ป็นความพอใจ ไม่พอใจ ต่อผคู้ น เหตุการณ์ และสิง่ ต่างๆอย่างสม่าเสมอและคงที่

ดังนัน้ อาจสรปุ ความหมายของเจตคติ คือ ความรสู้ ึกของบุคคลทมี่ ตี ่อสงิ่ ใด ๆ ซ่งึ แสดงออกมาเป็น
พฤติกรรมในลักษณะชอบ ไม่ชอบ อาจเหน็ ดว้ ย ไม่เห็นดว้ ย พอใจ ไม่พอใจ ตอ่ ส่งิ ใด ๆ ในลกั ษณะเฉพาะตวั ตาม
ทศิ ทางของทศั นคตทิ ่มี ีอยแู่ ละทาใหจ้ ะเป็นตัวกาหนดแนวทางของบคุ คลในการทจี่ ะมีปฏิกรยิ าตอบสนอง

องค์ประกอบของเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติทีส่ าคัญ 3 ประการ คือ
1. การรู้ (COGNITION) ประกอบดว้ ยความเช่ือของบุคคลท่ีมีตอ่ เป้าหมาย เจตคติ เช่น ทัศนคติต่อ

ลทั ธิคอมมิวนิสต์ สิง่ สาคญั ขององค์ประกอบน้ี กค็ ือ จะประกอบด้วยความเช่อื ท่ไี ด้ประเมินค่าแล้วว่านา่ เช่ือถือ
หรอื ไม่นา่ เชื่อถือ ดหี รือไมด่ ี และยังรวมไปถึงความเชื่อในใจว่าควรจะมปี ฏิกรยิ าตอบโต้อย่างไรต่อเป้าหมาย
ทศั นคตจิ ึงจะเหมาะสมที่สดุ ดังน้ันการรแู้ ละแนวโนม้ พฤตกิ รรมจงึ มีความเก่ยี วข้องและสัมพันธ์อย่างใกลช้ ดิ

2. ความรู้สึก (FEELING) หมายถึง อารมณ์ทมี่ ตี ่อเปา้ หมาย เจตคติ นั้น เป้าหมายจะถกู มองด้วย
อารมณ์ชอบหรอื ไม่ชอบ ถูกใจหรือไม่ถกู ใจ ส่วนประกอบดา้ นอารมณ์ ความรสู้ ึกน้เี องท่ที าให้บคุ คลเกิดความดื้อ
ดึงยึดม่นั ซงึ่ อาจกระตุ้นให้มีปฎิกรยิ าตอบโต้ได้หากมสี งิ่ ทขี่ ัดกับความรู้สึกมากระทบ

3. แนวโนม้ พฤตกิ รรม(ACTION TENDENCY) หมายถงึ ความพร้อมท่ีจะมีพฤติกรรมท่ีสอดคล้อง
กบั เจตคติ ถา้ บุคคลมีเจตคตทิ ดี่ ีต่อเปา้ หมาย เขาจะมีความพรอ้ มท่ีจะมีพฤติกรรมช่วยเหลอื หรือสนับสนุน
เปา้ หมายน้นั ถ้าบคุ คลมเี จตคติในทางลบต่อเป้าหมาย เขากจ็ ะมคี วามพรอ้ มทีจ่ ะมีพฤติกรรมทาลาย หรือทารา้ ย
เปา้ หมายน้ันเช่นกัน

การเกิดเจตคติ และเจตคตเิ กดิ จากอะไร
เจตคตเิ กดิ จากการเรยี นรู้ของบคุ คลไม่ใช่เป็นส่ิงมตี ิดตวั มาแตก่ าเนิด หากแต่วา่ จะชอบหรือไมช่ อบสง่ิ

ใดต้องภายหลัง เมื่อตนเองได้มปี ระสบการณใ์ นสิง่ นน้ั ๆ แล้ว ดงั นัน้ จึงพอสรุปไดว้ ่า เจตคติเกดิ ขนึ้ จากเรื่องตา่ งๆ
ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. การรวบรวมความคิดอันเกิดจากประสบการณห์ ลาย ๆ อยา่ ง
2. เกิดจากความรู้สึกทร่ี อยพิมพ์ใจ
3. เกดิ จากการเหน็ ตามคนอ่ืน
ชม ภูมภิ าค (2516:66-67) ไดอ้ ธบิ ายเรอ่ื งการเกดิ เจตคติว่าเกดิ จากการเรียนรู้และโดยมากกเ็ ป็นการ
เรียนร้ทู างสังคม(social learning)ดังนัน้ ปจั จัยทีท่ าให้เกิดเจตคตจิ งึ มีหลายประการเช่น
1. ประสบการณ์เฉพาะ เม่ือคนเราไดร้ ับประสบการณต์ ่อส่ิงใดสิ่งหนึ่งอาจจะมลี ักษณะในรูปแบบท่ผี ู้
ไดร้ ับรสู้ กึ วา่ ได้รางวัลหรือถูกลงโทษ ประสบการณ์ท่ผี รู้ ู้สึกเกดิ ความพึงพอใจย่อมจะทาให้เกดิ เจตคติที่ดตี ่อสิ่งนน้ั
แตถ่ ้าเป็นประสบการณ์ทไ่ี มเ่ ปน็ ที่พึงพอใจกย็ ่อมจะเกดิ เจตคติทีไ่ ม่ดี
2. การสอน การสอนน้ันอาจจะเป็นทง้ั แบบทีเ่ ป็นแบบแผนหรือไมเ่ ปน็ แบบแผนก็ไดซ้ ่ึงเราได้รบั จาก
คนอ่นื องค์การทที่ าหน้าทส่ี อนเรามมี ากมายอาทิเช่น บ้าน วัด โรงเรยี น สื่อมวลชนตา่ ง ๆ เรามักจะได้รับเจตคติที่
สงั คมมีอยู่และนามาขยายตามประสบการณ์ของเรา การสอนทไี่ มเ่ ป็นแบบแผนนนั้ สว่ นใหญเ่ ริม่ จาก
ครอบครวั ตง้ั แต่เดก็ ๆ มาแล้ว พ่อแมพ่ น่ี ้องมักจะบอกเราวา่ ส่งิ นัน้ ไม่ดสี ิ่งนไ้ี ม่ดีหรือใครควรทาอะไรมี
ความสาคญั อย่างไร การสอนสว่ นมากเปน็ แบบยัดทะนานและมกั ได้ผลดีเสียด้วยในรปู แบบการปลกู ฝังเจตคติ
3. ตวั อย่าง (Model) เจตคติบางอย่างเกิดขึ้นจากการเลยี นแบบในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เราเห็นคนอ่นื
ประพฤติ เราเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมคนอืน่ ออกมาเปน็ รูปของเจตคตถิ ้าเรายอมรบั นบั ถือหรือเคารพคนๆนน้ั เราก็
มกั ยอมรับความคิดของเขาตามที่เราเข้าใจ เช่น เดก็ ชายแดงเหน็ บิดาดรู ายการกฬี าทางโทรทศั นป์ ระจาเขาก็จะแปล
ความหมายวา่ กฬี านัน้ เป็นเร่ืองน่าสนใจและจะต้องดูหรอื ถ้าเขาเหน็ พ่อแม่ระมัดระวังต่อชดุ รบั แขกในบ้านมากกว่า
ของท่อี ยใู่ นสนามหญา้ หลงั บ้านเขาก็จะเกิดความรู้สกึ วา่ ของในบา้ นต้องระวังรกั ษาเป็นพิเศษ ซึง่ การเรียนรู้เชน่ นี้
พ่อไมไ่ ม่จาเปน็ ตอ้ งพูดวา่ อะไรเลย เดก็ จะเฝ้าสังเกตการณ์ปฏิบัตขิ องพ่อแม่ตอ่ บคุ คลอ่ืนอย่างถีถ่ ้วนจะเรียนรวู้ ่าใคร
ควรคบใครควรนบั ถือ ใครไม่ควรนับถือ
4. ปัจจัยท่ีเกีย่ วกับสถาบนั ปัจจัยทางสถาบันมีอยูเ่ ป็นอันมากทม่ี สี ว่ นสร้างสนับสนนุ เจตคตขิ องเรา
ตวั อยา่ งเช่น การปฏิบตั ิตนในวัด ในโบสถ์ การแต่งกายของคนในสถานการณท์ างสังคมต่าง ๆ เปน็ สิ่งใหแ้ นวเจต
คตขิ องคนเราเปน็ อนั มาก
สภาวะที่มผี ลต่อการก่อเกดิ ของเจตคติน้นั มีหลายอยา่ ง อาทิเช่น ประการแรก ขน้ึ อยู่กับการท่เี ราคิด
ว่าเราเป็นพวกเดยี วกัน (identification) เดก็ ที่ยอมรบั ว่าตนเองเป็นพวกเดียวกบั พอ่ แม่ยอ่ มจะรับเจตคตขิ องพ่อแม่
งา่ ยขึ้น หรือท่ีโรงเรยี นหากเด็กถือว่าครูเป็นพวกเดียวกบั ตนเดก็ ย่อมจะรบั ความเช่ือถือหรือเจตคตขิ องครู
ประการท่ีสอง ขนึ้ อยกู่ บั ว่า เจตคติน้ันคนอื่นๆเป็นจานวนมากเช่ืออย่างน้ันหรือคดิ อย่างนน้ั
(uniformity) การที่เราจะมเี จตคติเขา้ กลมเกลยี วเป็นอันหนงึ่ อันเดยี วกันได้น้นั อาจจะมีสาเหตุอื่นอีกเช่นโอกาสที่จะ
ได้รบั เจตคติแตกต่างไปนน้ั ไมม่ ีประการหนึง่ อีกประการหน่งึ หากไม่เห็นดว้ ยกบั สว่ นใหญ่เราเกดิ ความรู้สกึ วา่ ส่วน
ใหญ่ปฏิเสธเรา นอกจากน้ีประการทีส่ ามการที่เรามีเจตคติตรงกบั คนอื่นทาให้เราพูดติดต่อกบั คนอนื่ เขา้ ใจ เม่ือ

เราเจริญเตบิ โตจากเด็กเปน็ ผู้ใหญน่ นั้ แนท่ ส่ี ดุ ท่ีเราจะพบความแตกต่างของเจตคตมิ ากมาย ในบ้านน้ันนับวา่ เปน็

แหล่งเกิดเจตคติตรงกันทีส่ ุด แตพ่ อมีเพอื่ นฝูงเราจะเห็นว่าเจตคติของเพ่ือนฝูงและของพ่อแมข่ องเขาแตกต่างกนั

บา้ ง ในโรงเรียนโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในระดบั การศกึ ษาชั้นสงู เราจะพบความแตกตา่ งของเจตคติมากมาย ดังนั้น

เราจะเหน็ ไดว้ า่ เจตคติแรกๆทีเ่ ราได้รับนนั้ ค่อนข้างจะคงทนถาวร เจตคตนิ ้นั จะสามารถนาไปใช้กับสถานการณ์ใหม่

ท่คี ล้ายกนั เชน่ คนที่มพี ่อดุดันเขม้ งวดเขาจะเกดิ ความมงุ่ รา้ ยต่อพ่อ อาจจะคิดว่าผู้บงั คับบัญชานั้นดุดนั

เข้มงวดและเกิดความรสู้ ึกมงุ่ รา้ ยต่อผู้บังคบั บัญชาก็ได้ หรือคนงานทีไ่ ม่ชอบหวั หน้างานอาจจะนาความไม่ชอบนั้น

ไปใชต้ อ่ บริษัทหรอื เกลยี ดบรษิ ัทไปด้วย

ลักษณะของเจตคติ

ทิตยา สุวรรรณชฎ (2520:602-603) กลา่ วถึงลกั ษณะสาคญั ของเจตคติ 4 ประการ คอื

1. เจตคติ เปน็ สภาวะก่อนท่ีพฤติกรรมโต้ตอบ (PREDISPOSITION TO RESPOND)

ตอ่ เหตุการณ์หรือสง่ิ ใดสิง่ หน่ึงโดยเฉพาะหรอื จะเรยี กว่าสภาวะพร้อมท่ีจะมพี ฤตกิ รรมจริง

2. เจตคติ จะมีความคงตัวอยใู่ นชว่ งระยะเวลา (PERSISTENCE OVERTIME) แต่มไิ ด้หมายความว่า

จะไม่มกี ารเปลย่ี นแปลง

3. เจตคติ เปน็ ตวั แปรหน่ึงนาไปสู่ความสอดคล้องระหว่างพฤตกิ รรม ความร้สู ึกนกึ คดิ ไมว่ ่าจะเป็น

การแสดงออกโดยวาจา หรอื การแสดงความรูส้ กึ ตลอดจนการทจี่ ะต้องเผชิญหรือหลีกเล่ียงตอ่ สง่ิ ใดสิง่ หน่งึ

4. เจตคติ มคี ุณสมบตั ิของแรงจงู ใจ ในอนั ที่จะทาใหบ้ ุคคลประเมนิ ผล หรือเลือกสง่ิ ใดส่งิ หนึง่ ซง่ึ

หมายความต่อไปถงึ การกาหนดทศิ ทางของพฤติกรรมจรงิ ดว้ ย

เจตคตินับวา่ เปน็ สว่ นประกอบท่สี าคัญในการทางานอยา่ งหน่ึง นอกจากความพร้อมและการจงู ใจ

บุคคลท่ีมีเจตคตทิ ่ีดีต่อการทางานจะช่วยใหท้ างานไดผ้ ลท้ังน้เี พราะเจตคติเป็นต้นกาเนิดของความคิดและการแสดง

การกระทาออกมาน่ันเอง

กลา่ วโดยสรปุ เจตคติ เป็นลักษณะทางจติ ของบุคคลทีเ่ ป็นแรงขบั แรงจงู ใจของบุคคล แสดง

พฤตกิ รรมท่จี ะแสดงออกไปในทางตอ่ ต้านหรือสนบั สนุนต่อส่ิงน้ันหรือสถานการณน์ ้ัน ถา้ ทราบทศั นคติของ

บคุ คลใดทส่ี ามารถทานายพฤติกรรมของบคุ คลน้ันได้ โดยปกติคนเรามกั แสดงพฤติกรรมในทิศทางที่

สอดคล้องกับทศั นคติท่มี ีอยู่

อยา่ งไรกด็ ีเจตคตเิ มื่อเกดิ ขึ้นแลว้ อาจจะมลี กั ษณะท่ีคอ่ นข้างถาวรและคงทน ความรงั เกียจทเ่ี รยี นรู้ใน

วยั เด็กอาจจะคงอยตู่ ่อไปจนชั่วชวี ิต เจตคติทางการเมือง ศาสนาและอน่ื ๆมักจะมีความคงทนเปน็ อันมาก สาเหตุ

ท่ที าใหเ้ จตคติบางอยา่ งมีความคงทนอาจมสี าเหตุดังต่อไปน้ี

1. เนื่องจากเจตคตินั้นเป็นแนวทางปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งพอเพียงคอื ตราบใดท่ีสถานการณน์ ้นั ยงั

สามารถจะใช้เจตคติเชน่ นน้ั ในการปรับตัวอยเู่ จตคตนิ ั้น ก็จะยังคงไม่เปล่ียนแตเ่ นื่องจากไม่สามารถทจ่ี ะใชไ้ ด้

เนอ่ื งจากสถานการณไ์ ด้เปลยี่ นแปลงไปแลว้ เจตคติน้ันกม็ กั จะเปลีย่ นแปลงไป เช่น ในสหรฐั อเมรกิ าคนส่วนใหญ่

มักจะคัดคา้ นการช่วยเหลือของรัฐบาลอย่างรนุ แรง แต่พอเกิดเศรษฐกจิ ตกต่าอยา่ งรุนแรงกอ็ าจจะรับความชว่ ยเหลือ

ของรัฐบาลมากขึน้

2. เหตุที่เจตคตไิ มเ่ ปลี่ยนแปลงา่ ยๆกเ็ พราะวา่ ผู้มีเตคตินน้ั จะไม่ยอมรับรูส้ ิ่งยกเว้นใด ๆ เหตุการณ์

เชน่ นี้เรยี กว่า Selective perception เช่น คนที่เกลียดยิว เกิดความคิดว่าพวกยวิ น้ีขี้เหนยี วเอารัดเอาเปรียบต่อมามียวิ

มาอยู่บ้านใกล้ ๆ ทงั้ ๆ ทย่ี ิวคนน้ันแสนจะดเี ป็นกันเองให้ความชว่ ยเหลือเราดีเจตคตขิ องเรามีอยเู่ ดิมจะไมย่ อมรบั รู้
ความดีของยิวเชน่ นั้น ดังนั้นเจตคตจิ งึ ไมเ่ ปลี่ยน

3. สาเหตุอกี อยา่ งหน่งึ คือ ความภกั ดตี ่อหมกู่ ลมุ่ ที่เราเป็นสมาชิกคนเราไมอ่ ยากได้ช่ือวา่ ทรยศต่อพวก
ตัวอย่างเช่น หญิงสาวถูกอบรมมาในครอบครวั ซง่ึ เคร่ง ไม่ยอมใหเ้ ลน่ การพนัน สูบบุหรี่เพราะการกระทาเช่นน้ัน
ครอบครวั ถือว่าเปน็ การกระทามิใช่วิสัยสตรีทด่ี ี ท่ีจะพึงกระทา ตอ่ มาแมว้ า่ จะมโี อกาสทจ่ี ะกระทาได้แต่ไมท่ า
เพราะเห็นว่าขัดต่อเจตคตขิ องพ่อแมท่ เ่ี คยสั่งสอนไว้

4. ความต้องการป้องกนั ตนเอง บคุ คลที่ไมย่ อมเปลย่ี นเจตคตทิ เี่ ขามีอยเู่ ดมิ นั้นอาจเนื่องจากเหตุผลว่า
หากเขาเปลยี่ นแปลงแลว้ จะทาใหค้ นอ่ืนเหน็ ว่าเขาออ่ นแอ เช่น คนขายของเสนอวธิ ีการขายใหญ่ให้หัวหนา้
หัวหนา้ เหน็ วา่ ดเี หมือนกนั แต่ไมย่ อมรบั เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องทีท่ าให้คนอ่นื เหน็ หัวหนา้ ไม่มคี วามสามารถ

5. การไดร้ ับการสนบั สนนุ จากสงั คมนนั้ คอื การท่ีเราเช่ืออยา่ งน้ันมีเจตคติอยอู่ ย่างน้ันเรายงั ได้รบั การ
สนบั สนุนกับคนท่มี คี วามเช่ืออย่างเดยี วกับเราอยู่

หนา้ ที่และประโยชนข์ องเจตคติ
Katz (อา้ งในนพมาศ 2534:130) มองวา่ เจตคตมิ ปี ระโยชน์และหนา้ ที่ คอื
1. เป็นประโยชน์โดยการเป็นเครื่องมอื ปรบั ตวั และเป็นประโยชน์ในการใชเ้ พ่อื ทาการตา่ ง ๆ
2. ทาประโยชน์โดยการใช้ป้องกันสภาวะจติ ใจ หรือปกป้องสภาวะจติ ของบุคคล (EGODEFENSIVE

FUNCTION) เพราะความคิด หรือความเชื่อบางอย่างสามารถทาให้ผู้เชือ่ หรือคดิ สบายใจ สว่ นจะผดิ จะถูกเป็นอีก
เร่ืองหนง่ึ

3. เจตคติทาหนา้ ท่ีแสดงค่านิยม ใหค้ นเห็นหรือรับรู้ (VALUE EXPRESSIVE FUNCTION)
4. มปี ระโยชน์หรือใหค้ ณุ ประโยชน์ทางความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับผคู้ นและส่ิงตา่ งๆ
5. ชว่ ยให้บุคคลมีหลักการและกฎเกณฑใ์ นการแสดงพฤติกรรมหรอื ช่วยพัฒนาค่านยิ มใหก้ ับบุคคล
การทบ่ี ุคคลมีทศั นคติท่ีดีตอ่ บคุ คล สถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมจะเป็นสิ่งท่ชี ว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถประเมินและ
ตดั สินได้ว่าควรจะเลือกประพฤตอิ ยา่ งไรจึงจะเหมาะสมและดีงาม
ชม ภูมิภาค (2516:65) หน้าทขี่ องเจตคติ เจตคตทิ าหน้าท่ีเก่ียวกับการรับรู้อย่มู าก เจตคตมิ ีสว่ น
กาหนดการมองเห็นของคน นอกจากนยี้ ังทาหน้าท่ีอื่น ๆ อีกเช่น
1. เตรียมบคุ คลเพ่ือให้พร้อมตอ่ การปฏบิ ัติการ
2. ช่วยให้บุคคลได้คาดคะเนลว่ งหน้าว่าอะไรจะเกดิ ข้นึ
3. ทาให้บุคคลได้รับความสาเรจ็ ตามหลกั ชัยท่ีวางไว้

การเปลยี่ นแปลงเจตคติ
สุชา จันเอม และสรุ างค์ จันเอม (2520:110-111) กล่าววา่ ทศั นคติของบุคคลสามารถเปลยี่ นแปลงได้

เนือ่ งมาจาก
1) การชักชวน (PERSUASION) ทัศนคตจิ ะเปลีย่ นแปลงหรอื ปรับปรงุ ใหมไ่ ด้หลงั จากท่ไี ดร้ ับ

คาแนะนา บอกเลา่ หรือไดร้ ับความรู้เพิม่ พูนขึ้น
2) การเปล่ียนแปลงกลมุ่ (GROUP CHANGE) ช่วยเปลยี่ นทศั นคติของบคุ คลได้
3) การโฆษณาชวนเชื่อ (PROPAGANDA) เปน็ การชักชวนใหบ้ ุคคลหันมาสนใจหรือรับรู้โดยการ

สรา้ งสงิ่ แปลกๆใหม่ๆข้นึ

สิ่งทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ เจตคติ คือ
1. บดิ า มารดา ของเด็ก
2. ระเบยี บแบบแผน วัฒนธรรมของสังคม
3. การศกึ ษาเลา่ เรียน
4. สิง่ แวดล้อมในสังคม
5. การพักผ่อนหย่อนใจทแี่ ต่ละคนใช้ประจาตัว
การแก้ไขเจตคติหรือวิธสี ร้างเจตคติ
เจตคตเิ ป็นเร่ืองที่แกไ้ ขได้อยากถ้าจาเปน็ จะต้องชว่ ยแกไ้ ขเปล่ียนเจตคติของคนอาจใชว้ ธิ เี หลา่ นน้ั คอื
1. การคอ่ ย ๆ ช้ืนลงให้เข้าใจ
2. หาสิ่งเร้าและสงิ่ จงู ใจอย่างเขม้ ขน้ มายั่วยุ
3. คบหาสมาคมกบั เพือ่ นดีดี
4. ให้อา่ นหนังสือดีมีประโยชน์
5. ใหล้ องทาจนเห็นชอบแล้วกลับตัวดีเอง
ชม ภูมภิ าค (2516:65) ได้อธิบายว่าเจตคติเปลย่ี นแปลงได้ ปจั จัยท่ีจะชว่ ยให้เจคตเิ ปล่ยี นแปลงไดม้ ีหลาย
ประการเช่น
1. ความกดดันของกลมุ่ (Group pressure) หากกลุ่มจะสามารถให้รางวัลหรือลงโทษไดย้ อ่ มจะมแี รงกดดัน
มากในการทจ่ี ะกดดนั ทิศทางเจตคติของเราสงิ่ ยว่ั ยทุ เ่ี ปน็ รางวลั นัน้ ได้แก่ ความเป็นผมู้ ีคนรจู้ ักมากการเล่อื น
ตาแหนง่ การงาน สญั ลกั ษณ์ของการยอมรบั นับถอื เปน็ ต้น ส่วนสิ่งยั่วยทุ ่เี ปน็ การลงโทษกเ็ ช่น การเสยี เพือ่ นฝงู เสีย
ชือ่ เสียง เสียตาแหน่ง เปน็ ต้น ย่ิงเรามีความผิดปกตไิ ปจากกลมุ่ เท่าใดแรงบีบบังคบั ของหมมู่ มี ากเทา่ ใดหรือย่งิ หมู่
กลุ่มนน้ั ยง่ิ เราต้องการเป็นสมาชกิ ของหมู่ใด แรงบีบบังคับของหมยู่ อ่ มมีมากเทา่ น้นั หรอื ยิง่ หมูก่ ลุม่ ต้องการเรามาก
เท่าใดกลมุ่ ก็ยิ่งต้องการให้เราปฏบิ ัติตามมาตรฐานของกล่มุ เท่าน้นั กลุ่มทม่ี ีเกียรติศักด์ิหรือศกั ดิ์ศรีต่าในหมู่อาจจะ
กระทาผดิ แปลกไปไดบ้ ้าง แตย่ ง่ิ มีตาแหนง่ สูงหรือศกั ด์ิศรีสูงแลว้ กระทาผิดมาตรฐานเพยี งนดิ เดยี วแรงกดดัน
ของหมูจ่ ะเกดิ ข้นึ ทนั ทีเพื่อใหป้ ฏบิ ัตอิ ยใู่ นแนว
นอกจากน้ีแรงกดดันของกลุ่มจะมมี ากก็คือ การที่ไมม่ ีมาตรฐานอ่นื ท่ีจะปฏบิ ัตหิ รือมีน้อยทางทจ่ี ะเลอื ก
หรอื เราไมม่ คี วามรูม้ ากมายนักในเร่ืองน้ัน บุคคลมักจะเปลี่ยนความคดิ เหน็ หรือเจตคตหิ ากกลุ่มของเขาทย่ี ดึ อยู่
เปลย่ี นแปลงไป ตัวอย่างเช่น กรรมกร แรกๆอาจไมส่ นใจกนั รวมเป็นสมาคมแต่ตอ่ มาหากร้วู ่าคนอืน่ ๆ ในกลมุ่ รบั
ฟังความคิดเห็นน้ัน เขากอ็ าจเปลีย่ นความคดิ ยิง่ กลมุ่ มคี วามเป็นเอกภาพเท่าใดแรงกดดันของกลมุ่ ยิ่งมผี ลเทา่ นั้นเรือ่ ง
อานาจของความกดดันของกลุ่มอนั มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงน้นั อาจจะเป็นไปได้ 4 กรณคี ือ

1.1 เราอาจปฏิเสธบรรทัดฐานของกล่มุ และยึดม่นั ในเจตคตขิ องเราและเราอาจจะกา้ วรา้ วยิ่งขึ้นหาก
เราเช่ือว่ากลุ่มไมม่ ีผลบีบบงั คบั เรามากนกั หรือเรามีความภักดตี ่อกลุ่มอ่นื มากกวา่

1.2 เราอาจจะไมเ่ ปล่ยี นแปลงต่อเจตคตขิ องเราแต่เราปฏิบัตติ ามกลุ่มเพราะเหตุผลภายนอกอยา่ งอนื่
โดยถือว่าเป็นส่วนตัวและเราไม่เหน็ ด้วยแตส่ ่วนรวมทาเช่นนนั้ ก็ต้องปฏิบัติตาม

1.3 เราอาจยอมรับบรรทัดฐานของกลุ่มเพียงผวิ เผิน ภายในส่วนลึกของจิตใจเราไม่ยอมเปลย่ี นแต่พอ
เราออกไปอยู่กลมุ่ อ่ืนเราจะได้เหน็ ว่าเราเปลย่ี นแปลงเปน็ อยา่ งอื่น

1.4 เราอาจจะนาเอาบางส่วนของบรรทดั ฐานของกลมุ่ มาผนวกกบั ความเชื่อของเราและปฏิเสธ
บางสว่ น

2. ประสบการณท์ ่นี ่าพึงพอใจหรือไมน่ ่าพึงพอใจ เราอาจเปลย่ี นแปลงเจตคตไิ ปไดเ้ มอื่ ได้รบั
ประสบการณ์ทน่ี า่ พอใจหรือไม่นา่ พอใจ เช่น นายแดงเข้าทางานบรษิ ัทหนึง่ เพราะเขาเชอ่ื วา่ จะมคี วามกา้ วหนา้ แต่
พบวา่ หวั หนา้ ของเขาเป็นคนขอ้ี ิจฉาเมื่อเขาเกดิ เสนอความคิดเห็นดๆี เพอ่ื ปฏิบัติหัวหนา้ อาจจะเห็นว่าการ
เสนอแนะของเขาเชน่ น้ันทาใหฐ้ านะของเขาสั่นคลอนและนอกจากน้ันยงั ทราบดีวา่ เพอ่ื นร่วมงานของเขาไป
ฟ้องแก่หัวหนา้ งานบอ่ ยๆเขาจงึ อาจเปลี่ยนเจตคติไปอกี แบบหนงึ่ คอื มองไมเ่ ห็นความกา้ วหนา้ ในการทางานกับ
บริษัทน้ี เชน่ น้ีเป็นตน้

3. อิทธพิ ลของกลุ่มบุคคลทม่ี ีช่ือเสยี ง บุคคลท่ีมีชื่อเสียงในความหมายนี้อาจจะเปน็ เพ่ือนซงึ่ เรานับถือ
ความคดิ ของเขาหรอื อาจจะเป็นผเู้ ชยี วชาญทางดา้ นความพิเศษตา่ งๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชดั ในเร่ืองน้กี ็คือ การโฆษณา
ซ่ึงมักจะใช้คนมชี ื่อเสยี งไปยงุ่ เกีย่ ว เช่น ดาราภาพยนตร์ชื่อดังคนนนั้ ใชส้ บ่ยู หี่ ้อน้ัน ๆ เป็นต้น

เจตคตเิ ป็นความร้สู ึกของบุคคลท่มี ตี อ่ สงิ่ ต่าง ๆ อนั เป็นผลเน่ืองมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ และเป็น
ตวั กระตุ้นใหบ้ คุ คลแสดงพฤตกิ รรมหรือแนวโนม้ ทีจ่ ะตอบสนองต่อส่ิงเรา้ น้ัน ๆ ไปในทิศทางหนึง่ อาจเป็นไป
ในทางสนับสนุนหรือคดั ค้านกไ็ ด้ ทงั้ นขี้ น้ึ อยกู่ ับขบวนการการอบรมใหก้ ารเรียนรู้ระเบียบวธิ ีของสังคม ซงึ่ เจต
คตนิ จี่ ะแสดงออกหรือปรากฏให้เห็นชดั ในกรณีท่ีสงิ่ เรา้ นั้นเปน็ สิ่งเร้าทางสังคม

องค์ประกอบของเจตคติ
องคป์ ระกอบของเจตคติมี 3 ประการ ได้แก่
1. ด้านความคดิ ( Cognitive Component) หมายถึง การรบั รู้และวินิจฉยั ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่ได้รับ แสดง

ออกมาในแนวคิดท่ีวา่ อะไรถูก อะไรผิด
2. ดา้ นความรู้สกึ ( Affective Component) หมายถึง ลกั ษณะทางอารมณ์ของบุคคลทสี่ อดคล้องกับ

ความคดิ เช่น ถ้าบุคคลมีความคดิ ในทางทีไ่ ม่ดีต่อสิ่งใด กจ็ ะมีความร้สู ึกทไ่ี มด่ ีตอ่ สงิ่ นั้นดว้ ย จึงแสดงออกมาใน
รปู ของความรู้สึกไม่ชอบหรือไม่พอใจ

3. ด้านพฤตกิ รรม ( Behavior Component) หมายถงึ ความพรอ้ มท่จี ะกระทาซงึ่ เป็นผลมาจากความคดิ
และความรสู้ ึกและจะออกมาในรูปของการยอมรบั หรอื ปฏเิ สธ การปฏิบัตหิ รือไมป่ ฏิบัติ

การเรยี นรู้

การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง "การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม อันเป็นผลมาจากการได้รับ
ประสบการณ์" พฤติกรรมที่เปล่ียนแปลงในท่ีน้ี มิได้หมายถึงเฉพาะพฤติกรรมทางกายเท่านั้น แต่ยังรวมถึง
พฤตกิ รรมทั้งมวลทมี่ นษุ ยแ์ สดงออกมาได้ ซงึ่ จะแยกไดเ้ ป็น 3 ด้านคอื
1. พฤติกรรมทางสมอง (Cognitive) หรือพุทธิพิสัย เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง (Fact) ความคิดรวบยอด
(Concept) และหลักการ (Principle)
2. พฤติกรรมด้านทักษะ (Psychromotor) หรือทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมทางกล้ามเน้ือ แสดงออกทางด้านร่างกาย
เชน่ การวา่ ยน้า การขับรถ อ่านออกเสียง แสดงท่าทาง
3.พฤติกรรมทางความรู้สึก (Affective) หรือจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเช่น การเห็นคุณค่า เจตคติ
ความรู้สกึ สงสาร เห็นใจเพือ่ นมนษุ ย์ เปน็ ต้น

นักการศึกษา ได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของ มนุษย์ มีผลการศึกษาท่ีสอดคล้องกัน สรุปเป็นทฤษฎีการ
เรียนร้ทู ส่ี าคัญ 2 ทฤษฎคี อื
1 ทฤษฎีสง่ิ เรา้ และการตอบสนอง (S-R Theory)
2 ทฤษฎีสนามความรู้ (Cognitive Field Theory)

ทฤษฎสี ง่ิ เร้าและการตอบสนอง

ทฤษฎีนี้มีช่ือเรียกหลายช่ือ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะในภาษาอังกฤษ มีช่ือเรียกต่างๆ
เช่น Associative Theory, Associationism, Behaviorism
เป็นต้น นักจิตวิทยาท่ีสาคัญในกลุ่มนี้ คือ พาฟลอฟ (Pavlov) วัตสัน (Watson) ธอร์นไดค์ (Thorndike) กัทธรี
(Guthrie) ฮัล (Hull) และสกินเนอร์ (Skinner) ทฤษฎีนีอ้ ธิบายว่า พ้ืนฐานการกระทาซ่ึงเป็นผลมาจากการเรียนรู้ของ
แต่คน ขึ้นอยกู่ ับอทิ ธิพลของส่ิงแวดล้อม หน้าที่ของผสู้ อน คือ คอยเปน็ ผจู้ ัดประสบการณก์ ารเรยี นร้ใู หก้ บั ผ้เู รียน

หลกั การของทฤษฎีส่ิงเรา้ และการตอบสนอง

1.การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการตอบสนอง หรือให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ตามท่ี
ต้องการเช่น การให้รางวัล หรือการทาโทษ หรือการชมเชย เป็นต้น ผู้สอนจึงควรจะหาวิธีจูงใจ ให้ผู้เรียนมีความ
อยากเรยี นให้มากท่ีสุด
2. การฝึกฝน (Practice) ได้แก่การให้ทาแบบฝึกหัดหรือการฝึกซ้า เพื่อให้เกิดทักษะในการแก้ปัญหาที่สัมพันธ์กัน
โดยเฉพาะวชิ าทเ่ี ก่ียวกับการปฏบิ ัติ
3.การรู้ผลการกระทา (Feedback) ได้แก่ การท่ีสามารถให้ผู้เรียนได้รู้ผลการปฏิบัติได้ทันทีเพ่ือจะทาให้ผู้เรียนได้
ปรับพฤติกรรมได้ถูกต้องอันจะเป็นหนทางการเรียนรู้ที่ดี หน้าท่ีของผู้สอนจึงควรจะต้องพยายามทาให้วิธีสอนที่
สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั ประสบการณ์แห่งความสาเรจ็
4 .การสรุปเปน็ กฎเกณฑ์ (Generaliation) ได้แก่ การได้รับประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีสามารถสร้างมโนทัศน์ (Concept)
จนกระทัง่ สรุปเปน็ กฎเกณฑท์ ี่จะนาไปใช้ได้
5. การแยกแยะ (Discrimination) ได้แก่ การจัดประสบการณ์ ที่ผู้เรียนสามารถแยกแยะความแตกต่างของข้อมูลได้
ชดั เจนย่ิงขึน้ อันจะทาให้เกดิ ความสะดวกต่อการเลือกตอบสนอง
6. ความใกล้ชิด (Continuity) ได้แก่ การสอนที่คานึงถึงความใกล้ชิดระหว่าง สิ่งเร้าและการตอบสนองซ่ึงเหมาะ
สาหรบั การสอนคา เปน็ ตน้

ทฤษฎีสนามความรู้

ทฤษฎอี ธบิ ายว่า พฤตกิ รรมของมนุษยเ์ ป็นผล มาจากความต้องการภายในและส่ิงแวดล้อม (Interactive) ซึ่ง
จะทาให้เกิดกระบวนการคิด ดังน้ัน ผู้สอนควรจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามความสนใจ ภายใต้การ
ช่วยเหลือจากผู้สอน นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มน้ี คือ โคเลอร์ (Kohler) เลวิน (Lewin) ออสซูเบล (Ausubel)
และเพียเจท์ (Piajet)

หลกั การของทฤษฎสี นามความรู้

1. การสอนอย่างมีจุดมุ่งหมาย ได้แก่การสอนให้ผู้เรียนรู้จักการต้ังจุดมุ่งหมายในการศึกษาและเห็นประโยชน์ท่ีจะ
กระทาเพอ่ื บรรลุจุดประสงค์น้ันเชน่ การสอนใหร้ ูจ้ ักศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง
2. การสอนให้รู้จักตัดสินใจได้แก่ การสอนให้รู้จักกระบวนการแก้ปัญหาด้วยตนเองโดยการส่งเสริมให้คิดเป็น ทา
เป็น แก้ปญั หาเปน็
3. การสอนให้รู้จักคิดคานึง ได้แก่ การสอนท่ีทาให้เกิดความเข้าใจระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในสถานการณ์ใด
สถานการณ์หน่ึงดังน้ันผู้สอนจะต้องสร้างสัมพันธภาพให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนแต่ละคน เพื่อให้ผู้เรียนสนใจ เอาใจใส่
กิจกรรมมากขน้ึ
4 การสอนให้เกิดความเข้าใจ ได้แก่ การจัดระเบียบประสบการณ์ไว้ให้ผู้เรียน ได้สามารถเข้าใจ เช่ือมโยง
ประสบการณเ์ กา่ และใหม่ ซง่ึ เป็นหนทางทีจ่ ะนาไปสกู่ ารแกป้ ัญหา
5 การสอนโดยการจัดเค้าโครง ได้แก่การจัดลาดับเค้าโครงเน้ือหาในการเรียน ให้ผู้เรียนได้เรียนอย่างต่อเนื่องจาก
ความรพู้ ืน้ ฐานไปสคู่ วามร้ทู ่ียากขึ้น และยงั เป็นการเรยี นรู้อยา่ งมีจดุ มุ่งหมายอีกดว้ ย

แบบการเรียนรู้ของกาเย

กาเย (Gagne) ได้เสนอหลักทสี่ าคัญเก่ยี วกับการเรยี นรวู้ ่า ไมม่ ีทฤษฎีหน่ึงหรือทฤษฎีใดสามารถอธิบายการ
เรียนรูข้ องบคุ คลได้สมบูรณ์ ดังนั้น กาเย จึงได้นาทฤษฎีการเรียนรู้แบบส่ิงเร้าและการตอบสนอง (S-R Theory) กับ
ทฤษฎคี วามรู้ (Cognitive Field Theory) มาผสมผสานกันในลักษณะของการจดั ลาดับการเรียนร้ดู งั น้ี
1. การเรียนรู้แบบสัญญาณ (Signal Learning) เป็นการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไข เกิดจากความไกล้ชิดของสิ่งเร้า
และการกระทาซา้ ผูเ้ รียนไมส่ ามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
2. การเรียนรู้แบบการตอบสนอง (S-R Learning) คือการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถควบคุมพฤติกรรมนั้นได้การ
ตอบสนองเปน็ ผลจากการเสริมแรงกบั โอกาสการกระทาซ้า หรือฝึกฝน
3. การเรียนรู้แบบลูกโซ่ (Chaining Learning) คือการเรียนรู้อันเน่ืองมาจากการเชื่อมโยงส่ิงเร้ากับการตอบสนอง
ติดต่อกนั เป็นกจิ กรรมตอ่ เนื่องโดยเป็นพฤติกรรมทีเ่ กีย่ วกบั การเคลอื่ นไหว เช่นการขับรถ การใช้เครอ่ื งมือ
4. การเรียนรู้แบบภาษาสมั พันธ์ (Verbol Association Learning) มีลกั ษณะเชน่ เดยี วกับการเรียนรู้แบบลูกโซ่ หากแต่
ใชภ้ าษา หรือสญั ลกั ษณ์แทน
5. การเรียนรู้แบบการจาแนก (Discrimination Learning) ได้แก่การเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นความแตกต่าง
สามารถเลือกตอบสนองได้
6. การเรียนรู้มโนทัศน์ (Concept Learning) ได้แก่การเรียนรู้อันเน่ืองมาจากความสามารถในการตอบสนองสิ่งต่าง
ๆ ในลักษณะที่เป็นส่วนรวมของส่ิงนั้น เช่นวงกลมประกอบด้วยมโนทัศน์ย่อยท่ีเก่ียวกับ ส่วนโค้ง ระยะทาง
ศนู ยก์ ลาง เป็นตน้
7. การเรียนรู้กฎ (Principle Learning) เกิดจากความสามารถเชื่อมโยงมโนทัศน์ เข้าด้วยกันสามารถนาไปต้ังเป็น
กฎเกณฑ์ได้
8. การเรียนรู้แบบปัญหา (Problem Solving) ได้แก่ การเรียนรู้ในระดับที่ ผู้เรียนสามารถรวมกฎเกณฑ์ รู้จักการ
แสวงหาความรู้ รู้จกั สร้างสรรค์ นาความรู้ไปแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้จากลาดับการเรียนรู้น้ีแสดงให้เห็น
ว่า พฤติกรรมการเรียนรู้แบบต้นๆ จะเป็นพืน้ ฐานของการเรียนรรู้ ะดับสูง

การประยุกตใ์ ช้ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีการเรยี นรู้ต่างๆ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้เปน็ หลกั ในการจัดการเรียนการสอน ได้ ในลักษณะต่างๆ
เชน่ การจดั สภาพทเี่ หมาะสมสาหรับการเรียนการสอน การจงู ใจ การรบั รู้ การเสริมแรง การถา่ ยโยงการเรียนรู้ ฯลฯ
การจัดสภาพท่เี ออื้ ต่อการเรยี นรู้
การจดั การเรยี นการสอน ท่ีสอดคล้องกบั ทฤษฎีการเรียนรู้ เพอ่ื เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดน้นั จะต้องคานึงถึงหลักการท่ี
สาคัญอยู่ 4 ประการคอื
1. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างกระฉับกระเฉง เช่นการให้เรียนด้วยการลงมือปฏิบัติ ประกอบกิจกรรม
และเสาะแสวงหาความรู้เอง ไม่เพียงแต่จะทาให้ผู้เรียนมีความสนใจสูงขึ้นเท่านั้น แต่ ยังทาให้ผู้เรียนต้องตั้งใจ
สังเกตและตดิ ตามดว้ ยการสังเกต คิด และใคร่ครวญตาม ซ่งึ จะมผี ลต่อการเพ่มิ พนู ความรู้
2. ใหท้ ราบผลย้อมกลับทนั ที เมอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นลงมือปฏิบัติหรือตัดสินใจทาอะไรลงไป ก็จะมีผลสะท้อนกลับให้ทราบ
ว่านักเรียนตดั สนิ ใจถูกหรอื ผิด โดยทนั ทว่ งที
3. ใหไ้ ด้ประสบการณแ์ ห่งความสาเร็จ โดยใช้การเสริมแรง เมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์หรือถูกต้อง ก็
จะมรี างวลั ให้ เพอ่ื ให้เกิดความภาคภมู ใิ จ และแสดงพฤติกรรมนน้ั อีก
4. การให้เรียนไปทีละน้อยตามลาดับข้ัน ต้องให้ผู้เรียนต้องเรียนทีละน้อยตามลาดับข้ันท่ีพอเหมาะกับความสนใจ
และความสามารถของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสาคัญ จะทาให้ประสบความสาเร็จใน
การเรียน และเกดิ การเรียนร้ทู ี่ม่ันคงถาวรขน้ึ

การจงู ใจ (Motivation)
หลกั การและแนวคดิ ท่สี าคัญของการจูงใจ คอื
1. การจูงใจเป็นเครื่องมือสาคัญที่ผลักดันให้บุคคลปฏิบัติ กระตือรือร้น และปรารถนาที่จะร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
เพราะการตอบสนองใด ๆ จะเป็นผลเพ่ือลดความตึงเครียดของบุคคล ท่ีมีต่อความต้องการน้ันๆ ดังนั้นคนเราจึงด้ิน
รนเพ่อื ใหไ้ ดต้ ามความตอ้ งการท่เี กดิ ขน้ึ ต่อเนอื่ ง กิจกรรมการเรียนการสอนจงึ ตอ้ งอาศยั การจูงใจ
2. ความต้องการทางกาย อารมณ์ และสังคม เป็นแรงจูงใจท่ีสาคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้สอนจึงควร
หาทางเสรมิ แรงหรือกระตุน้ โดยปรับกิจกรรมการเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ้ งกบั ความต้องการเหลา่ นน้ั
3. การเลือกส่ือและกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับ ความสนใจ ความสามารถและความพึงพอใจแก่
ผเู้ รียนจะเปน็ กญุ แจสาคัญใหก้ ารจัดกระบวนการเรียนรู้ประสบความสาเรจ็ ได้งา่ ย มแี รงจูงใจสูงข้ึน และมีเจตคติท่ีดี
ตอ่ การเรยี นเพ่มิ ขึ้น
4. การจูงใจผู้เรียนให้มีความตั้งใจ และสนใจในการเรียน ย่อมขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพของผู้เรียนแต่ละคน ซึ่งผู้สอน
จะต้องทาความเข้าใจลักษณะความต้องการของผู้เรียนแต่ละระดับ แต่ละสังคม แต่ละครอบครัว แล้วจึงพิจารณา
กจิ กรรมการเรียนทจี่ ะจดั ใหส้ อดคลอ้ งกนั
5. ผู้สอนควรจะพิจารณาส่ิงล่อใจหรือรางวัล รวมทั้งกิจกรรมการแข่งขัน ให้รอบคอบและเหมาะสมเพราะเป็น
แรงจูงใจท่มี พี ลังรวดเรว็ ซง่ึ ให้ผลทง้ั ทางดา้ นเสริม สรา้ งและการทาลายก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยกู่ ับสถานการณแ์ ละวธิ กี าร

ทฤษฎกี ารจูงใจ ไดอ้ ธบิ ายเก่ียวกับสภาวะของบคุ คล ท่ีพรอ้ ม ท่จี ะสนองความต้องการหากสิ่งนั้นมีอิทธิพล
สาหรับความต้องการของเขา ทฤษฎีการจูงใจท่ีสาคัญคือ ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow`s Theory) ซ่ึง
อธบิ ายความต้องการของบุคคลว่า พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคล ล้วนเป็นส่ิงแสดงให้เห็นถึงความพยายามหาวิธีการ

สนองความต้องการให้กับตนเองท้ังสิ้น และคนเรามีความต้องการหลายด้าน ซ่ึงมาสโลว์ ได้จาแนกความต้องการ
ของคนไว้ดงั นี้ คอื
1. ความตอ้ งการทางกาย ไดแ้ ก่ ความต้องการปจั จัยทจ่ี าเป็นพ้ืนฐาน สาหรบั การดารงชวี ติ อนั ไดแ้ ก่ อาหาร น้า
และ อากาศ
2. ความตอ้ งการความปลอดภยั เชน่ ตอ้ งการความสะดวกสบาย การคุม้ ครอง
3 .ความต้องการความรัก และความเป็นเจา้ ของ เชน่ ตอ้ งการเปน็ ที่รักของบุคคลอ่นื
4. ความตอ้ งการให้ผู้อื่นเหน็ คณุ คา่ ของตนเช่นการยอมรบั และยกย่องจากสังคม
5 .ความต้องการเข้าใจตนเอง คือความเข้าใจสภาวะของตน เช่น ความสามารถ ความถนัด ซ่ึงสามารถเลือกงาน
เลอื กอาชพี ที่เหมาะกบั ตนเอง
6. ความต้องการทจ่ี ะรแู้ ละเข้าใจ คือ พยายามที่จะศกึ ษาหาความร้แู ละการแสวงหาสง่ิ ที่มคี วามหมายต่อชีวิต
7.ความตอ้ งการด้านสนุ ทรียะ คอื ความตอ้ งการในด้านการจรรโลงใจดนตรี ความสวยงาม และงานศลิ ปะต่าง ๆ
มาสโลว์ ได้อธิบายให้เห็นเพ่ิมเติมว่า ความต้องการของคนเราตั้งแต่ลาดับที่ 1-4 นั้นเป็นความต้องการท่ีจาเป็น ซึ่ง
คนเราจะขาดไมไ่ ด้และทกุ คนจะพยายามแสวงหาเพื่อสนองความตอ้ งการน้ัน ๆ ส่วนลาดับความต้องการที่ 5-7 เป็น
แรงจูงใจทมี่ ากระตนุ้ ใหบ้ คุ คลแสวงหาต่อ ๆไป เมอ่ื สามารถสนองความต้องการพ้นื ฐานได้ สาเรจ็ เป็นลาดับแล้ว
การแข่งขนั (Competition)

จะมคี ุณค่าในดา้ นการจงู ใจ ถา้ หากร้จู กั นาไปใช้ใหเ้ หมาะสมจะเกดิ ผลดที างการเรียน แต่ถ้าใช้ไม่ถูกต้องจะ
เกิดผลเสียทางอารมณ์ของผู้เรียน เบอร์นาร์ด (Bernard) ได้ให้ความเห็นว่าควรจะเป็นการแข่งขันกับตนเอง ในการ
พัฒนาผลงานใหมๆ่ กับที่เคยทามาแล้ว ถ้าหากเป็นเกมการแข่งขันระหว่างผู้เรียนควรจะเน้นย้าการรักษากติกา การ
ยอมรบั และมนี ้าใจเป็นนักกีฬา ให้ผ้เู รยี นเข้าจุดมงุ่ หมายเพอื่ ผลสมั ฤทธ์ิ มากกว่าชัยชนะ

การรบั รู้ (Perception)
การรับรู้ เป็นพ้ืนฐานการเรียนรู้ท่ีสาคัญของบุคคล เพราะการตอบสนองพฤติกรรมใด ๆ จะข้ึนอยู่กับการ

รับรู้จากสภาพแวดล้อมของตน และความสามารถในการแปลความหมายของสภาพน้ัน ๆ ดังนั้นการเรียนรู้ท่ีมี
ประสิทธิภาพจึงข้ึนอยู่กับการรับรู้ และสิ่งเร้าท่ีมีระสิทธิภาพซึ่งปัจจัยการรับรู้ประกอบด้วย ประสาทสัมผัส และ
ปัจจัยทางจิต คือ ความรู้เดิม ความต้องการและเจตคติ เป็นต้น หลักการรับรู้สาหรับการศึกษา ท่ีสาคัญโดยสรุป มี
ดังน้ี
1. การรับร้จู ะพัฒนาตามวยั และความสามารถทางสตปิ ัญญาทจี่ ะรบั รูส้ ิง่ ภายนอกอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม
2. การรับรโู้ ดยการเหน็ จะกอ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจดกี วา่ การไดย้ ิน และประสาทสัมผัสอ่ืน ๆ ดังนั้นการเรียนรู้โดยผ่าน
ประสาทสมั ผสั ได้มาก จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจท่สี มบูรณย์ ง่ิ ขนึ้
3. ลักษณะและวิธีการรับรู้ของแต่ละคน จะแตกต่างกันตามพื้นฐานของบุคลิกภาพ และจะแสดงออกตามท่ีได้รับรู้
และเจตคตขิ องเขา
4.การเขา้ ใจผเู้ รยี นทัง้ ในด้านคณุ ลกั ษณะและสภาพแวดลอ้ ม จะเปน็ ผลดตี อ่ การจดั การเรยี นการสอน
การเสริมแรง (Reinforcement)
สรุปแนวคดิ ทีส่ าคัญของนักจติ วิทยาการศกึ ษา ดังน้ี
1. ธอรน์ ไดค์ (Thorndike) ใหข้ อ้ สรุปวา่ การเสรมิ แรง จะช่วยให้เกดิ ความกระหายใคร่รู้เกิดความพอใจ และนาไปสู่
ความสาเร็จ

2. สกนิ เนอร์ (Skinner) กลา่ วว่า "การเสรมิ แรง จะเป็นส่งิ สาคัญที่จะทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมซ้า และพฤติกรรม
ของบุคคลส่วนใหญ่ จะเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้แบบปฏิบัติ (Operant Learning) และพยายามเน้นว่า การ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดๆ ของบุคคล สิ่งเร้านั้นจะต้องมีส่ิงเสริมแรงอยู่ในตัว หากลดสิ่งเสริมแรงลงเม่ื อใด การ
ตอบสนองจะลดลงเม่ือน้นั "
3. กัทธรี (Grthrie) เชื่อว่าการเรียนรู้ จะเป็นผลมาจากสิ่งเร้าและการตอบสนองซ่ึงเมื่อเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน ส่ิงเร้าทุก
อย่างย่อมจะมีลักษณะที่เร้า และก่อให้เกิดพฤติกรรมได้ท้ังหมด ดังน้ันการเสริมแรงไม่จาเป็นต้องนามาใช้สาหรับ
การตอบสนอง
4. ฮัล (Hull) เชื่อว่า การเสริมแรงเป็นสิ่งท่ีทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ไม่มีการเรียน
ใดๆ ทมี่ ีความสมบูรณ์ การเรียนรู้เป็นลักษณะของการกระทาที่ต่อเน่ืองกัน จะค่อยๆ สะสมขึ้นเร่ือยๆ การเสริมแรง
ทกุ คร้ังจะทาให้การเรียนรเู้ พ่ิมประสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ
หลกั การและแนวคิดท่สี าคัญของการเสรมิ แรง
1. การเรียนรู้จะเกิดขน้ึ ไดต้ อ้ งอาศัยการเสรมิ แรง การเสรมิ แรงทางบวกจะดีกวา่ ทางลบ
2. การเรียนรจู้ ะเกดิ ขึ้นไดต้ อ้ งอาศยั ความใกล้ชิดระหวา่ งสิ่งเร้าและการตอบสนอง
3. การเสรมิ แรงมีหลายวิธี อาจใช้วัตถุสิ่งของ หรือถ้อยคาที่แสดงความรู้สึกก็ได้ ท่ีสามารถสร้างบรรยากาศกระตุ้น
ให้ความพึงพอใจให้เกิดความสาเร็จหรือเคร่ืองบอกผลการกระทาว่าถูกผิด และอาจเป็นการส่งเสริมให้เกิดการ
เสรมิ แรงตอ่ ๆ ไป
4. การเสรมิ แรงควรจะตอ้ งให้สม่าเสมอ นอกจากนัน้ หลักการเสรมิ แรงยังทาใหส้ ามารถปรับพฤตกิ รรมได้
5. ควรจะให้การเสริมแรงทนั ที ท่ีมีการตอบสนองได้อยา่ งถูกต้อง ซง่ึ ควรจะเกิดขึ้นภายใน ประมาณ 10 วนิ าที
ถ้าหากมีการตอบสนองที่ต้องการซ้าหลายคร้ังๆ ก็ควรเลือกให้มีการเสริมแรงเป็นบางคราว แทนที่จะเสริมแรงทุก
ครัง้ ไป
6. ควรจะจัดกิจกรรมการเรียน ให้เป็นไปตามลาดับ จากง่ายไปยาก และเป็น ตอนส้ันๆ ที่สอดคล้องกับ
ความสามารถของผู้เรียน

การถา่ ยโยงการเรยี นรู้ (Transfer of learning)
1. ธอร์นไดค์ (Thorndike) กล่าวถึง การถ่ายโยงการเรียนรู้จากสถานการณ์หน่ึงไปสู่อีกสถานการณ์หนึ่งน้ัน
สถานการณ์ทั้งสองจะต้องมีองค์ประกอบที่คล้าย คลึงกัน คือ เน้ือหา วิธีการ และ เจตคติ ที่สัมพันธ์กันกับ
สถานการณเ์ ดิม
2.เกสตัลท์ (Gestalt) กล่าวว่า การถ่ายโยงการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเม่ือผู้เรียนได้มองเห็นรูปร่างทั้งหมดของปัญหา และ
รบั รู้ความสมั พันธ์น้ันเข้าไป กลา่ วคอื สถานการณ์ใหม่จะตอ้ งสมั พันธก์ บั สถานการณเ์ ดิม
หลักการและแนวคิดทส่ี าคญั ของการถา่ ยโยงการเรยี นร้คู ือ
1. การถ่ายโยง ควรจะต้องปลูกฝังความรู้ ความคิด เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นพ้ืนฐานที่สามารถนาไปใช้ใน
สถานการณ์ทค่ี ลา้ ยคลงึ กัน
2. ผู้สอนควรใชว้ ิธกี ารแกป้ ัญหา หรอื วธิ ีการเรยี นรู้ เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีโอกาสคิดและเกิดทักษะอย่างกว้างขวาง
ซึง่ จะเปน็ วิธกี ารท่ีช่วยใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์ของความรู้
3. การถ่ายโยงจะเกี่ยวขอ้ งกับ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล กิจกรรมการเรยี นการสอนจงึ ตอ้ งคานึงหลกั การนด้ี ้วย

4. การถ่ายโยงท่ีอาศัยสถานการณ์ที่สัมพันธ์กันระหว่างสถานการณ์เดิมและสถานการณ์ใหม่ จะช่วยให้เกิดการ
เรียนร้สู ะดวกข้ึน

การส่อื ความหมาย COMMUNICATION

การสอ่ื ความหมาย คอื การส่งข่าวสารความคิดเห็นระหว่างบุคคล อาจส่งผ่านทางเสียง ทาให้เกิดการได้ยิน
จากอวัยวะการรับเสียง เช่น เสียงพูด เสียงสัตว์ร้อง เสียงลมพายุ หรือส่ิงที่ส่งออกมาเป็นภาพ เห็นด้วยตา เช่น การ
เขยี นเป็นหนังสอื รูปภาพ สญั ญาณต่างๆเช่น สัญญาณไฟ ท่าทางต่างๆ รวมท้ังการส่งข่างสารท่ีผ่านประสาทสัมผัส
อืน่ ๆ ของ มนษุ ยด์ ้วย
พจนานุกรมการศึกษาของ คาร์เตอร์ วี กูด (Carter V. Good) ได้ให้ความหมายของการสื่อความหมายไว้ 3 ประการ
คือ
1. วิธีส่งความคิดเห็น ความรู้สึกจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยการแสดงท่าทาง สีหน้า การพูด การเขียน
ใชโ้ ทรศพั ท์ โทรเลข วิทยุ โทรทัศน์และสญั ญาณอนื่ ๆ
2. การใช้เคร่ืองมือและกระบวนการ เทคนิคการพูดการใช้ภาษาในการสื่อความหมาย และการใช้โสตทัศน์ในการ
สอื่ ความหมาย
3. กระบวนการสังคมมนุษย์ ใช้การติดต่อส่ือสาร ความคิด คุณธรรม เจตคติ พิสัย ทักษะ ระบบสังคม วัฒนธรรม
เพื่อสง่ ความเขา้ ใจซึ่งกันและกัน

บทท่ี 3
วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั

วิธีดาเนินการวิจยั
ระยะเวลาในการดาเนินงาน
พฤษภาคม 2557 – กนั ยายน 2557

วนั เดอื น ปี กจิ กรรม หมายเหตุ

2 –31พฤษภาคม 2557 - ศกึ ษาสภาพปญั หาและวิเคราะห์ปญั หา ผ้วู ิจัยบนั ทึกข้อมลู
ผวู้ จิ ยั บันทึกขอ้ มูล
1 - 30 มิถุนายน 2557 - เขียนเค้าโครงงานวจิ ยั ในชั้นเรยี น

- ศกึ ษาเทคนิคการสร้างแบบสอบถาม

-ออกแบบและสร้างแบบสอบถามทจ่ี ะใชใ้ น

งานวจิ ัย

15 กรกฎาคม 2557 - ผู้เรียนทาแบบสอบถาม

16–31สิงหาคม2557 - เกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะหข์ ้อมลู

1 – 24 กันยายน 2557 - สรปุ และอภิปรายผล

- จดั ทารูปเล่ม

เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวิจัย
1. แบบสอบถาม การเยย่ี มบา้ นนักศกึ ษา
2. สถติ ิ คา่ รอ้ ยละ

ขัน้ ตอนการดาเนนิ การ
ผู้วจิ ัยได้กาหนดขั้นตอนในการวจิ ยั โดย ศึกษาหลักการ ทฤษฏจี ติ วทิ ยาการศกึ ษา เจตคติ (Attitude)

ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบวางเง่ือนไข แบบแบบการกระทาของสกินเนอร์ ลักษณะด้านวนิ ัยในการ
เรียน ความขยนั อดทนและความรบั ผิดชอบ ในการดาเนินการศกึ ษาวิจัยครงั้ นี้มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศึกษาเจตคติของ
ผเู้ รยี นในเร่ืองการไมส่ ง่ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย / การบา้ น โดยใชแ้ บบสอบถามเพือ่ หาสาเหตุของการไมส่ ่งงาน /
การบ้าน ผ้วู ิจัยได้วางแผนการดาเนนิ การศึกษา สร้างแบบสอบถาม โดยใชข้ อ้ ความที่คาดว่าจะเป็นสาเหตขุ องการ
มาส่งงาน / การบา้ น และได้ดาเนนิ การซึ่งมรี ายละเอยี ดเป็นข้นั ตอนดังน้ี

1.ข้ันวิเคราะห์ ( Analysis)
1.1 วเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้ืนฐานของผูเ้ รียน การวิเคราะห์ผเู้ รียนไดก้ าหนดไวด้ ังนี้
ประชากร คอื ผู้เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2557 กศน.ตาบลเฉลยี ง
จานวน 103 คน
1.2 วิเคราะหส์ าเหตุของการไม่ส่งงาน / การบา้ น ของผู้เรียน โดยการหาคา่ ร้อยละ

2. ขั้นออกแบบ (Design)
ผู้วิจัยดาเนนิ การสร้างแบบสอบถามเพื่อวดั เจตคติของผ้เู รียนในการไม่ส่งงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย/

การบ้าน โดยมีลาดบั ขนั้ ตอนการสรา้ งดังนี้
1.1 ศกึ ษาเทคนคิ การสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารตา่ งๆ
1.2 สร้างแบบสอบถามเพือ่ วัดเจตคติของผู้เรยี นเพื่อหาสาเหตุในการไม่ส่งงานที่ไดร้ ับมอบหมาย/การบ้าน

ของผ้เู รยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน 15 ขอ้ โดยให้ผู้เรียนใสห่ มายเลขลาดับสาเหตุของการไม่สง่ งานจาก
ลาดบั มากทีส่ ุด ( 1 ) ไปจนถึงลาดบั น้อยท่สี ุด ( 15 )

1.3 นาแบบวดั เจตคตทิ สี่ ร้างขึน้ เสนอต่อทป่ี รกึ ษางานวิจยั เพ่ือตรวจสอบแกไ้ ข
1.4 นาแบบวัดเจตคตมิ าปรับปรงุ แก้ไขก่อนนาไปใช้จรงิ
3. ขน้ั ดาเนนิ การ
ในการวจิ ัยครั้งนี้ ผูว้ ิจัยไดม้ กี ารดาเนินการดงั นี้
3.1 นาแบบสอบถามเพื่อศกึ ษาเจตคติ ในเรื่องการไมส่ ง่ งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย/ การบา้ นของผ้เู รียนระดับ
มธั ยมศึกษาตอนต้น ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2557 กศน.ตาบลเฉลียง จานวน 103 คน เพ่ือหาสาเหตุของการไมส่ ่ง
งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย และทาการบนั ทกึ คะแนน
3.2 ดาเนินการหาคา่ ร้อยละของแตล่ ะข้อสาเหตุ
4. ขน้ั วิเคราะหข์ ้อมลู
4.1 วิเคราะห์ขอ้ มูล

- วเิ คราะหผ์ ลจากคะแนนที่ไดจ้ ากการทาแบบสอบถามเพ่ือศกึ ษาเจตคติ
4.2 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล

4.2.1 การหาคา่ ร้อยละ
ค่าร้อยละ = X x 100
N
เม่อื X = คะแนนท่ไี ด้
N = จานวนผ้เู รียนทั้งหมด

5. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
จากการศึกษาวิจัยในชัน้ เรียนคร้งั นี้ มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษาเจตคติของผู้เรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ในเร่ืองการไม่สง่ งานที่ได้รบั มอบหมาย/ การบา้ นเพอ่ื นาผลการวิจยั มาเกบ็ เป็นข้อมลู เพื่อหาสาเหตุ และนาไปแก้ไข
ปัญหาในการเรยี นการสอนและเพือ่ ให้ผูเ้ รยี นเห็นความสาคัญของการส่งงานและการบ้าน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อ
ศึกษาเจตคติจานวน 15 ข้อ โดยกลมุ่ ตวั อยา่ งซงึ่ เป็นผู้เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา
2557 กศน.ตาบลเฉลยี ง จานวน 103 คน โดยสามารถวเิ คราะหผ์ ลได้ดังน้ี

5.1 ผลการประเมินแบบสอบถามของผเู้ รยี นในเรือ่ งการไมส่ ง่ งานท่ีได้รบั มอบหมาย/การบ้านเก่ยี วกับการ
หาสาเหตทุ ่ไี ม่ส่งงาน การบ้านของผเู้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย


Click to View FlipBook Version