The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือคู่มือคุณธรรม65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by deemklong22, 2022-05-12 05:15:58

คู่มือคู่มือคุณธรรม65

คู่มือคู่มือคุณธรรม65

Keywords: คู่มือคู่มือคุณธรรม65

บทนำ�

พระบรมราโชวาท

ของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวในรัชกาลท่ี 9
“…การเรียนที่จะเรยี นให้ดี ใหร้ วู้ ชิ าแจ่มแจ้งลึกซง้ึ ไดน้ นั้
นอกจากอยู่ท่คี วามต้งั ใจ และความหมัน่ เพียรแลว้ ยงั อยทู่ ี่การมสี มั มาคารวะ
ความฉลาดที่จะทำ� ตนให้เปน็ ที่เมตตาเอน็ ดูของครูดว้ ย ถ้าท�ำตวั ดมี คี วามอ่อนน้อม
เคารพเชือ่ ฟังครู เอาใจใสช่ ว่ ยเหลอื ครูในกจิ ตา่ ง ๆ
แม้เลก็ น้อยกไ็ มน่ ิง่ ดูดายหรือเฉยเมย ครูยอ่ มมองเหน็ ความดีในกายในใจของตัว

จะรักใครเ่ หมอื นเป็นทง้ั ลกู ท้ังศิษย์
จะยนิ ดสี ง่ั สอนอบรมความรคู้ วามดีทุกอยา่ งใหโ้ ดยเต็มใจและจริงใจ
ให้เล่าเรียนสำ� เรจ็ ผลไดเ้ ตม็ เปย่ี ม จงึ ขอใหจ้ ำ� ไว้และพยายามปฏบิ ัตใิ หไ้ ดท้ กุ คน…”

วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเจรญิ พฒั นาบรหิ ารธรุ กจิ 1

สารบัญ หนา้
3
4
1. ประวตั วิ ทิ ยาลยั 5
2. สัญลักษณ์ประจำ� วิทยาลยั 6
3. นโยบายของวิทยาลัย 12
4. ระเบยี บการวทิ ยาลัย 18
5. ระเบียบ และ ข้อควรปฏบิ ตั ิ 19
6. ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ 21
7. ระเบยี บดา้ นการศึกษา 22
8. กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น
9. ลูก JBAC

2 คมู่ อื คณุ ธรรม นักเรยี น - นกั ศึกษา

ประวัติของวิทยาลยั อาชีวศึกษาเจรญิ พัฒนาบรหิ ารธุรกจิ
JAREON PATTANA BUSINESS ADMINISTRATION VOCATIONAL COLLEGE

วิ ทยาลัยอาชีวศกึ ษาเจรญิ พัฒนาบริหารธุรกจิ ( JAREON PATTANA BUSINESS ADMINISTRATION
VOCATIONAL COLLEGE) ต้ังอยู่เลขท่ี 429 ถนนสามวา แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ
10510 โดยมนี ายสนอง และนางยพุ า โสมสมบัติ เปน็ ผู้ก่อตัง้ วิทยาลยั นางสาวนนั ทพร โสมสมบตั ิ
เปน็ ผรู้ ับใบอนญุ าต นายสมยงค์ อาจจ�ำนงค์ เปน็ ผ้จู ัดการและผู้อ�ำนวยการ ไดร้ บั อนญุ าตให้เปดิ สอนวันที่
1 มิถนุ ายน 2547 ประเภทอาชวี ศึกษา ใช้หลักสูตรกรมอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร เปดิ สอน 2 รอบ คือ
รอบเช้า รอบบ่าย มี 2 ระดบั คอื ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ(ปวช.) ประเภทวิชาพณชิ ยกรรม สาขาวิชา
พาณชิ ยการ และ ระดบั ช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สูง ( ปวส.) ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ
ในวนั ท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ได้เปล่ียนชือ่ เป็น วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเจริญพัฒนาบรหิ ารธุรกิจ
(JAREON PATTANA BUSINESS ADMINISTRATION VOCATIONAL COLLEGE) ตามใบอนุญาตเลขท่ี
กอ.750/2554 ลว.21 ก.ค. 2554 ต้ังอยูเ่ ลขที่ 429 ถนนสามวา แขวงบางชนั เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร
10510 โดยมนี ายสนอง โสมสมบตั ิ และนางยุพา โสมสมบตั ิ เปน็ ผู้กอ่ ต้งั วทิ ยาลัย นางสาวนนั ทพร โสมสมบัติ
เป็นผรู้ บั ใบอนุญาต นางสาวรตั ติกร โสมสมบตั ิ เป็นผจู้ ัดการ และนายบ�ำรุง ฤทธิอ์ ยู่ เป็นผ้อู ำ� นวยการ
ในปี พ.ศ. 2560 ได้มีการแต่งต้งั นายบ�ำรงุ ฤทธ์อิ ยู่ เปน็ ผูจ้ ัดการ นางสาวรตั ติกร โสมสมบัติ
เปน็ ผอู้ �ำนวยการ และนายธนิต ตาปนานนท์ เปน็ รองผู้อำ� นวยการ

วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเจรญิ พัฒนาบรหิ ารธุรกจิ มกี ารบริหารจัดการการศึกษาโดยได้ศกึ ษา ค้นคว้า วิจยั
ประเภทวิชาพาณิชยกรรมและประเภทวชิ าบริหารธรุ กจิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพ และความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ ของประเทศ และประชาชน สูก่ ารแขง่ ขนั ในสังคมโลก
ทกุ ประเทศในทวปี เอเชีย ยุโรปและอเมรกิ าโดยเน้นความเจริญงอกงามของบคุ คลและสังคม การจัดการศกึ ษา
อบรมให้เกิดความร้คู คู่ ุณธรรมพัฒนาวชิ าชพี สง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญา ศิลปะและวัฒนธรรมของชาตสิ รา้ งสรรคค์ วาม
ก้าวหน้าทางวชิ าการ องค์ความร้คู รอบคลมุ การศึกษาอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต

วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเจริญพฒั นาบริหารธรุ กจิ 3

สัญลักษณ์ประจ�ำวิทยาลัย
ช่ือวทิ ยาลัย

วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเจริญพัฒนาบรหิ ารธรุ กิจ มคี วามหมายวา่ เปน็ วทิ ยาลัย ท่ีมีการพัฒนาอยา่ ง
ต่อเนอื่ ง เพ่ือความเจริญกา้ วหน้าทางดา้ นความรู้ ทักษะ และประสบการณใ์ นประเภทวิชาพาณิชยกรรม และ
ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ

สญั ลกั ษณ์
ตราประจำ� วทิ ยาลยั คอื เสมาธรรมจักรและชอ่ มะกอก
เสมาธรรมจกั ร คอื สญั ลกั ษณท์ แี่ สดงถึง กระทรวงศึกษาธกิ าร
ช่อมะกอก คือ สัญลักษณท์ ่แี สดงถึง ความรกั สามัคคี การทำ� งานเปน็ ทมี
ความเปน็ หม่คู ณะและความเป็นปกึ แผน่
ปรชั ญาวทิ ยาลยั “มีทกั ษะเยย่ี ม เป่ยี มดว้ ยคุณธรรม ล�ำ้ เลิศวิชา รู้จักใชเ้ วลาให้เกิดคุณ”
อตั ลักษณ์วทิ ยาลยั “ทกั ษะดี มคี ณุ ธรรม ”
ทักษะ ผูเ้ รียน มคี วามรู้ ความสามารถในสาขาวิชาชีพ ตรงตอ่ ความต้องการของ
ตลาดแรงงาน รวมถึงบคุ ลากร ท่ีตอ้ งพฒั นาทักษะอยเู่ สมอ
คุณธรรม ผเู้ รียนตอ้ ง มีระเบียบวินยั มคี ุณธรรม จริยธรรม ทง้ั ในสถานศกึ ษา และ
นอกสถานศกึ ษา
เอกลกั ษณ์วทิ ยาลยั “สง่ิ แวดลอ้ มดี กจิ กรรมเด่น เนน้ สัมพันธช์ ุมชน”
สง่ิ แวดล้อมดี : พัฒนาสภาพแวดล้อมให้มีบรรยากาศท่รี ่มร่ืน เอ้อื ต่อการเรยี นรู้
กิจกรรมเด่น : จัดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นข้นึ อยา่ งสมำ่� เสมอ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้
ผ้เู รยี นการมกี ารแสดงออกถึงความสามารถอยา่ งหลากหลายท้งั ภายใน
และภายนอกสถานศึกษา
เนน้ สมั พนั ธ์ชุมชน : สรา้ งความสมั พันธ์อนั ดี มสี ่วนร่วมการจัดกิจกรรมของชุมชน
สปี ระจำ� วทิ ยาลยั “สีฟ้า-สขี าว”
สีฟ้า หมายถงึ ความรกั สมคั รสมานสามคั คี และความกลมเกลียวเสมือนพน่ี ้อง
สขี าว หมายถงึ ความซือ่ สตั ย์ สุจรติ ความโปร่งใส ความจริงใจต่อกันและกัน
ต้นไมป้ ระจำ� วทิ ยาลัย คอื ต้นพญาสัตบรรณ หมายถึง รม่ โพธ์-ิ ร่มไทร ท่แี ผ่ขยายก่ิงก้าน-สาขา
เพอื่ ความเจรญิ พัฒนา สามารถด�ำเนนิ ชีวติ อยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข


4 ค่มู ือคณุ ธรรม นกั เรียน - นกั ศึกษา

ดอกไมป้ ระจำ� วิทยาลยั คอื ดอกกาซะลอง เป็นดอกไม้ทีอ่ อกเป็นฤดูกาล ออกดอกรวมกันเปน็ พวง เปน็ ช่อ ๆ ละ
หลายดอกรวมกนั ส่งกลิน่ หอมไกล นยิ มใชใ้ นงานพธิ ีบายศรีสูข่ วญั และงานมงคลทั่วไป
เป็นสญั ลกั ษณ์ของความสามคั คี และการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งเปน็ สขุ

วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเจรญิ พฒั นาบริหารธุรกิจ มีวตั ถปุ ระสงค์ในการจดั ต้ัง ดังตอ่ ไปน้ี

1. เพ่ือเพ่ิมคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชพี ท่มี ีความส�ำคัญสงู สดุ ต่อการพัฒนาประเทศ
2. พัฒนาคณุ ภาพนักศึกษา ให้สามารถพ่งึ ตนเองได้ แขง่ ขันกบั สังคมโลกได้
3. พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา ให้นกั ศกึ ษามคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี เก่ง และมีความสุข
4. สนบั สนุน ส่งเสริมการคน้ ควา้ วจิ ยั การบรหิ ารหลกั สูตร การเรียนการสอนของครู และบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษาเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา และเพ่อื พัฒนาครวู ชิ าอาชพี อยา่ งมคี ณุ ภาพ

นโยบายของวิทยาลัย

วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเจริญพัฒนาบริหารธุรกจิ มีความมุ่งมัง่ ทีจ่ ะพัฒนา และสรา้ งคนใหม้ คี ุณภาพด้าน
การศึกษา โดยเปดิ โอกาสให้นักศกึ ษา เลือกเรียนไดต้ ามสาขาทช่ี อบ ตามความถนัด ตามความสามารถและตาม
สภาวะเศรษฐกิจ นกั ศกึ ษาทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากวิทยาลยั ตอ้ งเปน็ คนดี เป็นคนเกง่ และมีความสขุ สามารถท่จี ะ
ประกอบอาชีพไดน้ ำ� ความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการประกอบอาชีพรวมท้งั ประสบกับความส�ำเร็จเปน็ อยา่ งดี

วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเจริญพัฒนาบริหารธรุ กจิ มีนโยบายหลัก 4 ประการ คอื
1. ด้านวิชาการ เน้นวชิ าการให้เป็นเลิศ
1.1 เนน้ การเรยี นการสอนใหม้ คี ณุ ภาพและประสิทธิภาพ
1.2 เนน้ มาตรฐานด้านทกั ษะวชิ าชพี ให้เปน็ เย่ยี ม
1.3 เสรมิ สร้างงานจริงและเนน้ ให้มีการปฏบิ ตั ิจริง
1.4 เอาใจใสด่ ูแลอยา่ งใกล้ชิด
2. ดา้ นการปกครอง ใหเ้ หน็ คณุ คา่ ด้านคุณธรรม จริยธรรมของสงั คมโดย
2.1 เป่ียมดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอย่างมรี ะเบยี บวินยั
2.2 ฝกึ การแตง่ กาย ให้ถูกตอ้ งตามระเบียบ กาลเทศะ
2.3 ฝึกฝนการตรงตอ่ เวลา
2.4 ใส่ใจในการ ขาด ลา มาสาย
2.5 ติดตามและป้องปรามส่งิ เสพตดิ ให้โทษ
2.6 ตดิ ตามความประพฤติอย่างใกลช้ ิด
3. ด้านกจิ กรรม
3.1 เสรมิ สร้างความมีน้ำ� ใจ
3.2 สร้างสรรค์กจิ กรรม
3.3 ปลกู ฝงั การออกกำ� ลังกาย
3.4 สง่ เสรมิ ดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า

วิทยาลยั อาชีวศึกษาเจรญิ พฒั นาบริหารธรุ กจิ 5

4. ด้านชุมชน เน้นความสัมพันธก์ บั ชุมชน
4.1 เข้าถึงชุมชนในด้านขนบธรรมเนียมประเพณี รูจ้ ักใช้และรกั ษามรดก ทเ่ี ป็นภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
4.2 สรา้ งภาพพจน์ทดี่ ีสู่สายตาสังคมภายนอก
4.3 ใหค้ วามช่วยเหลือและรว่ มมอื กบั ชมุ ชนด้านฝกึ และแนะแนวอาชีพ

1. การรบั นกั ศึกษา ระเบียบการวิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเจรญิ พฒั นาบรหิ ารธรุ กจิ

1.1. พื้นความร้เู ดมิ
ระดบั ปวช. 1 รบั ผู้ที่จบมัธยมศึกษาตอนตน้ ปีท่ี 3 (ม.3) หรือเทียบเท่า
ระดบั ปวส. 1 รับผจู้ บมัธยมศกึ ษาตอนปลายปที ี่ 6 (ม.6) หรอื เทยี บเทา่ หรอื ผ้ทู ่ีจบชนั้
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช. 3 ) หรอื เทยี บเทา่
1.2. คณุ สมบตั ขิ องผ้สู มคั รเรียน
ระดับ ปวช. 1
(1) ต้องเป็นผสู้ ำ� เร็จการศกึ ษา ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ปีที่ 3 (ม.3) หรือเทียบเทา่ ก่อนวนั เข้า
ศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเจริญพัฒนาบริหารธรุ กิจ
(2) มีความประพฤติดี และมผี ปู้ กครองที่สามารถดแู ลรับผดิ ชอบในความประพฤติและสนบั สนุน
คา่ ใช่จ่ายตา่ ง ๆ ได้
(3) ไม่เปน็ บคุ คลท่สี งั คมรงั เกยี จ เช่น ตดิ สุราเรอื้ รงั หรอื ติดยาเสพติดใหโ้ ทษ
(4) พรอ้ มท่จี ะปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบขอ้ บังคบั ของโรงเรียนอย่างเคร่งครดั

ระดับ ปวส. 1
(1) เป็นผ้สู �ำเรจ็ การศกึ ษาชน้ั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) หรอื ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายปที ่ี 6

(ม.6) หรอื เทียบเทา่ กอ่ นวนั เข้าศกึ ษาต่อในวิทยาลยั อาชีวศึกษาเจรญิ พฒั นาบรหิ ารธรุ กจิ
(2) มคี วามประพฤติดี และมผี ู้ปกครองทส่ี ามารถดูแลรบั ผดิ ชอบในความประพฤตแิ ละสนับสนนุ
คา่ ใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ได้
(3) ไม่เป็นบุคคลทีส่ งั คมรงั เกียจ เชน่ ตดิ สรุ าเร้ือรัง หรือติดยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ
(4) พรอ้ มจะปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบงั คบั ของโรงเรียนอย่างเคร่งครดั
2. หลกั ฐานการรบั สมัคร
2.1 ใบระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ร.บ.) ฉบับจรงิ
2.2 รูปถ่าย 1 นิ้วจำ� นวน 2 รูป
2.3 ส�ำเนาทะเบียนบ้านของผู้เรียน
2.4 สำ� เนาบัตรประจำ� ตัวประชาชนของผ้เู รยี น
2.5 ส�ำเนาทะเบียนบ้านของบิดาและมารดา
2.6 ส�ำเนาบัตรประจ�ำตวั ประชาชนของบดิ าและมารดา

6 คมู่ ือคุณธรรม นักเรียน - นักศึกษา

3. หลักสูตรและวิชาทส่ี อน
3.1 หลักสตู ร ปวช. (พุทธศกั ราช2562) ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม
สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการบัญชี
สาขาวชิ าการตลาด สาขางานการตลาด
สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ
สาขาโลจสิ ตกิ ส์
3.2 หลักสตู ร ปวส. (พุทธศกั ราช 2563) ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ
สาขาวชิ าการบัญชี
สาขาวิชาการตลาด
สาขาวชิ าเทคโนโลยี​ธุรกจิ ​ดิจิทลั
สาขาการจดั การโ​ลจสิ ตกิ สแ​์ ละซ​ ัพพลายเ​ชน
4. วนั หยดุ
5.1 ใน 1สปั ดาห์เปิดเรยี นวันอาทติ ย-์ วันศุกร์
5.2 ใน 1 สปั ดาห์ มวี ันหยุด 1 วนั คือ วันเสาร์ และวนั หยดุ ราชการ หรอื ตามประกาศ ของทางราชการและ
วันประกาศหยดุ ของทางวทิ ยาลยั


ลกู JBAC ตอ้ ง มารช์ จพธ.

1. ตรงต่อเวลา เจรญิ พัฒนาบรหิ ารธรุ กจิ
2. ใฝ่ในการเรียน สร้างชวี ติ ให้เดก็ ไทยไดศ้ กึ ษา
3. พูดดี คิดดี และทำ� ดี วิชาการธรุ กิจมุ่งพัฒนา
4. เปน็ ผู้รกั ความสะอาด สรา้ งคุณคา่ การเรยี นใหร้ ่งุ เรอื ง
5. เป็นผ้มู นี ำ�้ ใจเอือ้ เฟอื้ เผือ่ แผ่ อุณาโลมสวยเด่นเป็นสง่า
6. แต่งกายถกู ต้องตามกาลเทศะ รวั้ ฟา้ ขาว งามล้ำ� น�ำศักด์ศิ รี
7. ไมเ่ ก่ียวข้องกับอบายมุขต่าง ๆ ทักษะเย่ยี มเป่ียมดว้ ยคุณความดี
8. เป็นผมู้ คี วามกตัญญตู อ่ ผ้มู ี พระคุณ ก่อสามคั คีพวกเราชาวจ.พ.ธ.
9. มคี วามรกั และสามัคคใี นหมคู่ ณะ การเรยี นรจู้ ะน�ำไปสคู่ วามส�ำเรจ็
10. ปฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดีแก่สังคม สมเจตน์ผู้เชี่ยวชาญในการสอน
สร้างสรรค์บรรยากาศไมใ่ หร้ า้ วรอน
เออื้ อาทรศษิ ยห์ ญิงชายให้ท�ำดี

วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเจริญพฒั นาบรหิ ารธุรกิจ 7

ระเบียบการแตง่ กาย

เคร่อื งแบบนักศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)
ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม ประกอบด้วย

วนั จันทร์ หรอื วันท่มี ีพธิ กี าร
นกั ศกึ ษาหญิง :

สวมสูทสีกรมท่ากับเส้ือสีขาวไม่มีแถบใส่
เคร่ืองหมาย เนคไทตามระเบยี บ กระโปรงลวดลายตาม
ระเบยี บของวิทยาลยั ความยาวพอดีเข่า รองเทา้ คทั ชสู ดี �ำ สูง
ไม่เกิน 2 นิว้ และไม่มีลวดลาย

นกั ศกึ ษาชาย :
สวมสูทสีกรมท่า เสือ้ เช้ิตสีขาวแขนยาวด้านใน ใส่
เคร่ืองหมายและเนคไทตามระเบยี บ กางเกงลวดลายตาม
ระเบยี บของวิทยาลยั ถงุ เทา้ รองเท้าหนัง สีด�ำสภุ าพ

วนั อังคาร วนั พฤหสั บดี และวันศุกร์
นกั ศึกษาหญงิ :

สวมชุดนักเรยี น เสอื้ สีขาว มีแถบ ใส่เคร่อื งหมาย
เนคไทตามระเบยี บ กระโปรงลวดลายตามระเบยี บของวทิ ยาลัย
ความยาวพอดีเขา่ ถุงเท้าสีขาวปิดตาตุ่ม รองเทา้ นักเรียน

นกั ศึกษาชาย :
สวมเส้อื เช้ติ สีขาวแขนยาว ใส่เครื่องหมายและเนคไทตาม

ระเบียบ กางเกงลวดลายตามระเบียบของวทิ ยาลัย สวมถุงเท้า
และ รองเทา้ หนงั สดี �ำ

8 คู่มอื คุณธรรม นกั เรียน - นักศกึ ษา

เครอ่ื งแบบนักศกึ ษาชาย หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.)
ประเภทวิชาบริหารธรุ กจิ ประกอบด้วย

วนั จันทร์ หรือ วันทมี่ พี ธิ กี าร
นกั ศึกษาหญงิ :

สวมสทู สดี �ำ ด้านในเสอื้ เชิ้ตสขี าว เคร่อื งหมาย
เนคไทตามระเบียบ กระโปรงทรงสอบผา่ หลัง ความยาว
เหนือเขา่ ไม่เกิน 1 นิ้ว รองเทา้ คทั ชูสดี ำ� แบบสุภาพ

นักศกึ ษาชาย :
สวมสูทสีดำ� เสือ้ เชิต้ สีขาวแขนยาว ใส่เครอื่ งหมาย

และเนคไทตามระเบยี บ กางเกงสแลค็ สีด�ำ สวมใสถ่ งุ เทา้
และ รองเท้าหนงั สีด�ำสุภาพ

วนั องั คาร วนั พฤหัสบดี และวันศุกร์
นักศกึ ษาหญิง :
สวมชดุ นักศึกษา เคร่ืองหมายตามระเบยี บ

กระโปรงทรงสอบ หรอื จบี รอบตวั ความยาวเหนือ
เขา่ ไมเ่ กนิ 1 นิ้ว รองเทา้ คัทชูสดี �ำแบบสุภาพ

นกั ศกึ ษาชาย :
สวมชุดนกั ศกึ ษา เสื้อเช้ติ สขี าวแขนยาว ใส่

เครอ่ื งหมายและเนคไท ตามระเบียบกางเกงสแล็ค
สีด�ำ สวมถุงเท้าและรองเท้าหนงั สดี �ำ

วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเจรญิ พฒั นาบรหิ ารธรุ กจิ 9

เครอ่ื งแบบชดุ พละของทางวทิ ยาลัย

วันพุธ /วนั ท่ีมีเรียนวิชาพละ
สวมใสช่ ุดพละตามระเบียบของวทิ ยาลยั ถุงเทา้ และรองเท้าผ้าใบสขี าว

เครื่องแบบชุดพละ เครือ่ งแบบชุดพละ
ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสงู

10 คูม่ ือคณุ ธรรม นกั เรยี น - นักศึกษา

ระเบยี บ และ ขอ้ ควรปฏิบตั ิ

ฝ่ายพฒั นากิจการนกั เรียนนักศึกษา

ระเบียบข้อบังคบั ของวิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเจริญพัฒนาบรหิ ารธุรกจิ

นกั ศึกษาต้องรักษาระเบยี บวินยั และปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บข้อบังคับของวิทยาลัยอย่างเครง่ ครดั ผใู้ ด
ฝ่าฝนื ถอื ว่าผู้นนั้ กระทำ� ความผดิ จะต้องโทษตามที่กำ� หนดใน ระเบยี บนี้

1.1 เข้าแถวเคารพธงชาติ และท�ำกิจกรรมหน้าเสาธงทุกเช้า
1.2 มาเรยี นตามเวลาที่วิทยาลัยกำ� หนดอย่างสม�่ำเสมอ และเข้าเรยี นตามตารางเรยี นทท่ี างวทิ ยาลยั กำ� หนด
1.3 แต่งกายถกู ตอ้ งตามระเบียบของวทิ ยาลยั และแตง่ เครอ่ื งแบบ นกั เรยี น-นักศกึ ษา ทกุ ครง้ั ทีม่ า
วทิ ยาลยั
1.4 ปฏิบัตติ ามคำ� ส่ังของครู-อาจารย์ ซึง่ สงั่ ในหนา้ ทโ่ี ดยชอบด้วยกฎหมายและระเบยี บ ของวทิ ยาลยั ฯ ห้าม
มิให้ขัดขนื หรือหลกี เลยี่ ง
1.5 นักศึกษาตอ้ งไม่แจง้ เท็จต่อคร-ู อาจารย์ การปกปดิ ความซงึ่ ควรบอกถือว่าเป็นการแจ้งเทจ็ ด้วย
1.6 นกั ศึกษาต้องรักษาระเบยี บวนิ ัยในห้องเรยี น ไมก่ ระท�ำการใด ๆ ท่เี ป็นการรบกวนหรอื กอ่ ความร�ำคาญ
แกผ่ อู้ ื่น
1.7 เข้าร่วมการประชมุ ตามทก่ี �ำหนด และรักษาความสงบเรียบรอ้ ยในทีป่ ระชุม
1.8 ประพฤตติ นสุภาพเรียบร้อยตอ่ สาธารณชน
1.9 ไม่กอ่ การทะเลาะวิวาทกับผอู้ ืน่ ทงั้ ภายในและภายนอกวทิ ยาลยั
1.10 เคารพ เช่อื ฟงั คำ� สง่ั สอนของครู-อาจารย์ ไม่แสดงกริ ยิ าอนั ไม่สุภาพทัง้ ตอ่ หนา้ และลบั หลัง
1.11 ไมก่ ลา่ ววาจาหรือแสดงกริ ยิ าท่เี ป็นชนวนก่อใหเ้ กิดความเกลียดชัง หรอื การทะเลาะวิวาท ดังต่อไปน้ี
- กลา่ วคำ� หยาบ หรือไม่สภุ าพต่อผูอ้ ่นื
- กล่าวค�ำประชด เสยี ดสี ล้อเลียนผอู้ นื่
- กล่าวค�ำทา้ ทาย หรือแสดงอาการกา้ วร้าวชวนววิ าท
- กล่าวดหู ม่นิ หรือหมิน่ ประมาทผู้อนื่
1.12 นักศกึ ษาตอ้ งชว่ ยเหลอื การงานของวทิ ยาลัยตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย
1.13 นักศึกษาต้องชว่ ยกนั รกั ษาทรพั ย์สมบัติของวทิ ยาลยั และสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดนิ ให้อยู่ในสภาพที่
เรียบรอ้ ยดงี าม ไม่ทำ� ใหส้ กปรกหรือชำ� รดุ เสยี หาย
1.14 เม่ือนักศึกษามีความจ�ำเปน็ ตอ้ งหยุดเรียน ผูป้ กครองตอ้ งแจง้ ใหท้ างวิทยาลยั ทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษร
1.15 นักศกึ ษาต้องไมต่ กแต่งเคร่ืองประดับต่าง ๆ ไมไ่ ว้เลบ็ ทาเลบ็ เขียนคว้ิ กันค้ิว กันหนา้ และตกแต่ง
ใบหน้าด้วยเครื่องสำ� อาง ไมเ่ ปลีย่ นสผี ม
1.16 ไม่น�ำสินค้าและบรกิ ารทกุ ชนดิ มาจำ� หนา่ ยในวิทยาลัยกอ่ นได้รบั อนุญาต
1.17 ไม่นำ� หนังสือ เอกสาร และแผ่นประกาศมาแจกหรือน�ำมาตดิ ในวิทยาลยั กอ่ นไดร้ บั อนุญาต
1.18 ไมน่ ำ� บคุ คลภายนอกเข้ามาในวิทยาลยั เวน้ แต่ได้รบั อนญุ าตจากฝา่ ยพฒั นากจิ การนักเรยี นนักศึกษา
1.19 ไมอ่ อกนอกบริเวณวทิ ยาลัยกอ่ นไดร้ ับอนญุ าต

วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเจริญพฒั นาบรหิ ารธุรกิจ 11

1.20 ไมจ่ ัดกิจกรรมนำ� เท่ียว หรือชักชวนเพ่อื นกั ศกึ ษาเและผ้อู น่ื ไปตามสถานท่ตี า่ ง ๆ ในเวลากลางคนื
1.21 ไม่เล่นการพนัน หรอื เล่นสิง่ อ่ืนใดทีต่ อ้ งใช้ทรัพย์สินเปน็ เดิมพนั ในการเล่น
1.22 ไม่เสพสง่ิ เสพตดิ และไมน่ �ำส่ิงเสพตดิ เขา้ มาในวทิ ยาลัย
1.23 ห้ามนักศึกษา น�ำสอื่ ลามกอนาจารในรูปแบบ เช่น หนงั สอื การต์ นู ซดี ี โทรศพั ท์มอื ถือ อนื่ ๆ เขา้ มาใน
วทิ ยาลยั และเผยแพร่
1.24 หา้ มนักศึกษานำ� บุหรี่ เหลา้ -เบียร์ ของมึนเมาทุกชนดิ เข้ามาสูบหรอื ดืม่ ในวิทยาลยั หรอื ภายนอก
วทิ ยาลยั ทย่ี ังสวมเครอ่ื งแบบของวทิ ยาลยั
1.25 ไมน่ ำ� อาหารและส่ิงของขึ้นไปรับประทานในห้องเรียนหรือบนอาคารเรียน
1.26 ไม่ประพฤตสิ ิง่ ใดทนี่ �ำความเสื่อมเสียมาสวู่ ทิ ยาลยั

ระเบียบปฏบิ ตั ิทั่วไปสำ� หรับนกั ศกึ ษา
วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเจรญิ พฒั นาบรหิ ารธรุ กจิ พ.ศ. 2565

1.ก ารปฏิบตั ติ นในการมาและเข้าเรยี นวทิ ยาลยั
1.1 นักศกึ ษาทุกคนต้องน�ำบตั รนกั เรียนนักศึกษาน�ำมาทกุ วัน
1.2 นักศกึ ษาระดับ ปวช. สแกนบัตรเพือ่ ลงเวลาเขา้ ทุกวัน กอ่ นเวลา 8.00 น.
1.3 นกั ศกึ ษาระดับ ปวส. สแกนบตั รเพ่อื ลงเวลาเขา้ ทกุ วนั ก่อนเวลา 8.30 น.
1.4 นกั ศกึ ษาต้องเขา้ แถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ กล่าวค�ำปฏิญาณตน และลกู JBAC 10 ประการ เวลา
8.00 น.
1.5 เวลา 8.15 น. เดนิ แถวข้ึนชนั้ เรียนเพ่อื พบอาจารย์ทีป่ รึกษา
1.6 นกั ศึกษา แต่งกายดว้ ยเคร่อื งแบบของวิทยาลยั ตามที่กำ� หนดเท่านัน้
1.7 นักศึกษาทุกคนตอ้ งเขา้ หอ้ งเรียน เวลา 8.30 น.
1.8 หา้ มนักศกึ ษาพกพาอาวธุ นำ� ของมีคา่ เครือ่ งประดบั มาวทิ ยาลยั
2.ก ารขาดเรยี น
2.1 นักศึกษาที่ไม่มาวิทยาลัยไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ต้องมีใบลาทุกครั้งและใบลาต้องมีลายเซ็นผู้ปกครอง
และ สำ� เนาบัตรประจำ� ตัวประชาชนของผ้ปู กครอง
2.2 นักศึกษาตอ้ งส่งใบลาวนั ถดั มาท่ีมาเรยี นตามปกติ หรือไม่เกิน 7 วนั ในกรณลี าล่วงหนา้ ก่อนหยุด
เรียน ใหส้ ง่ ใบลาท่ีหอ้ งฝา่ ยพฒั นากิจการนักเรยี นนกั ศกึ ษา
2.3 ผู้ปกครองมคี วามประสงค์จะขออนุญาตพานกั ศกึ ษากลับบ้าน หรอื ลากิจลาป่วยดว้ ยตวั เอง ให้แจ้ง
การลาต่ออาจารย์ทปี่ รึกษา
2.4 นักศึกษา ขาดเรียน โดยไมท่ ราบสาเหตุให้อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาแจ้งผูป้ กครอง
3. การขออนุญาตออกนอกบรเิ วณวทิ ยาลยั
3.1 ผู้ปกครองมารับนักศึกษาด้วยตนเองให้แจ้งความจ�ำเป็นและเหตุผลที่ฝ่ายพัฒนากิจการ
นกั เรียนนักศกึ ษา และน�ำใบออกนอกบรเิ วณวทิ ยาลัย ให้ผา่ น อาจารยป์ ระจำ� วิชา อาจารย์ทป่ี รึกษา
และฝา่ ยพัฒนากิจการนกั เรียนนกั ศกึ ษา ตามลำ� ดับ และสแกนบัตรเพ่ือลงเวลาออกทุกครัง้ กอ่ นรบั
อนญุ าตออกนอกบรเิ วณวทิ ยาลัยแสดงตอ่ เจ้าหนา้ ทีห่ นา้ ประตูวิทยาลัย
12 คมู่ ือคุณธรรม นกั เรียน - นักศึกษา

3.2 ในกรณีที่นักศึกษาจ�ำเป็นต้องออกนอกบริเวณวิทยาลัยโดยที่ผู้ปกครองไม่ได้มารับจะต้อง
มีจดหมายผู้ปกครองโดยถกู ตอ้ ง ระบวุ นั เวลา สถานที่ และกิจธุระที่ตอ้ งไปปฏบิ ตั ิหรอื แจ้งผปู้ กครอง
หรือท่ีปรึกษาให้แจ้งความจ�ำเป็นและเหตุผลที่ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษาและน�ำใบ
ออกนอกบริเวณวิทยาลัย ให้ผ่านอาจารย์ท่ีปรึกษา ฝา่ ยพฒั นากิจการนักเรยี นนกั ศกึ ษาตามลำ� ดับ และ
สแกนบตั ร เพือ่ ลงเวลาออกทกุ ครง้ั กอ่ นรบั อนญุ าตออกนอกบริเวณวิทยาลัยแสดงใบขออนุญาตตอ่
เจา้ หนา้ ท่หี น้าประตูวิทยาลยั
4.ก ารขออนญุ าตเข้า ออกนอกหอ้ งเรียนขณะเรียน
4.1 เมอื่ มธี ุระตอ้ งออกนอกห้องเรยี นใหข้ ออนุญาตอาจารย์ผสู้ อนทุกครั้งและก่อนเข้าหอ้ งเรียนตอ้ งขอ
อนุญาต เชน่ กนั
4.2 การขออนุญาตต้องขอทีป่ ระตูหนา้ วิทยาลยั เทา่ น้ัน
4.3 เมื่อนักศึกษาต้องการพบนักศึกษาคนใดในระหว่างท่ีอาจารย์ก�ำลังสอนต้องขออนุญาตอาจารย์ผู้สอน
กอ่ น
5. การรับประทานอาหารและซ้อื อาหาร
5.1 นกั ศึกษาจะตอ้ งรับประทานอาหารในโรงอาหาร หรือสถานทีว่ ทิ ยาลัยจดั ไวใ้ ห้
5.2 หา้ มนำ� อาหารหรอื เครื่องดืม่ ขน้ึ ไปรับประทานบนอาคารเรียน ห้องเรียน หรอื สถานทน่ี อกเหนือจากท่ี
วทิ ยาลัยอนุญาต
5.3 นักศึกษาจะตอ้ งช่วยกนั รกั ษาความสะอาดในการรับประทานอาหาร ไม่ทง้ิ เศษอาหารถงุ พลาสตกิ ให้
สกปรก
5.4 นักศึกษาจะตอ้ งน�ำภาชนะไปเกบ็ ทีท่ ีจ่ ัดไวใ้ ห้
6. การใช้หอ้ งเรยี นและหอ้ งปฏิบตั กิ าร
6.1 นกั ศึกษาทกุ คนต้องชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดในหอ้ งเรยี นหลังเลิกเรยี นพรอ้ มท้งั จดั โต๊ะ เก้าอี้ วัสด ุ
อปุ กรณ์ และปิดเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ประตูหน้าตา่ งให้เรียบร้อยหลงั เลกิ เรียนทกุ ครั้ง
6.2 นักศกึ ษาท่เี รยี นคอมพวิ เตอรใ์ นห้องคอมพวิ เตอร์ เมอื่ หมดเวลาเรียนแล้วให้ทุกคนตอ้ งปดิ
เครื่องคอมพวิ เตอร์ และจัดเก็บวสั ดอุ ปุ กรณต์ ่างๆ ให้เรียบรอ้ ยก่อนออกจากหอ้ งทุกคร้ัง
6.3 นักศึกษาท่เี รยี นวชิ าพมิ พด์ ดี ใหห้ ้องพิมพ์ดีด เมอ่ื หมดเวลาเรียนแล้วให้ทกุ คนเก็บเครือ่ งพิมพ์ดีด แล้ว
เอาผา้ คลมุ ให้เรยี บร้อยกอ่ นออกจากห้องทุกครงั้
6.4 ในกรณีที่นกั ศกึ ษาคนใดทำ� วสั ดอุ ุปกรณใ์ นห้องเรยี นและห้องปฏิบัติการช�ำรดุ เสียหาย โดยเจตนา
ตอ้ งชำ� ระค่าเสยี หายตามความเสยี หายที่เกิดข้นึ
6.5 หา้ มนกั ศกึ ษา เคลอ่ื นย้ายโต๊ะ เก้าอ้ี เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งพมิ พ์ดีด หรอื วัสดอุ ุปกรณต์ ่างๆ ออก
นอกห้องเรียนก่อนได้รบั อนุญาต
6.6 หา้ มนักศึกษานำ� อาหาร และเครือ่ งดมื เข้าห้องปฏบิ ตั กิ ารโดยเด็ดขาด
7.ก ารใชโ้ รงอาหาร
7.1 ในการซ้ืออาหารนกั ศึกษาทกุ คนตอ้ งเข้าแถวเปน็ ระเบยี บทกุ คร้ัง
7.2 สินคา้ ในโรงอาหารทุกชนดิ ที่จ�ำหน่ายดว้ ยเงนิ สด
7.3 เม่อื รับประทานอาหารเสร็จ ใหเ้ กบ็ ภาชนะไปวางไวใ้ นท่ีเตรียมไว้ให้ และเกบ็ เศษขยะท้งิ ลงถงั ให้
เรียบรอ้ ยทกุ คร้ัง
7.4 ทุกคนตอ้ งช่วยกนั รักษาความสะอาด และจดั โตะ๊ เก้าอี้เข้าท่ใี หเ้ รียบร้อยหลังรบั ประทานอาหารทกุ ครง้ั

วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเจรญิ พัฒนาบรหิ ารธรุ กิจ 13

7.5 หา้ มนำ� ภาชนะในการรบั ประทานอาหารออกนอกบริเวณโรงอาหาร
7.6 หา้ มขบั ขีร่ ถทุกประเภทเขา้ ไปในโรงอาหาร
7.7 หา้ มนำ� สนิ คา้ เข้ามาจำ� หน่ายในโรงอาหารโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
7.8 หา้ มเคลือ่ นย้ายโต๊ะ เก้าอี้ หรอื วสั ดุอปุ กรณต์ ่าง ๆ ออกนอกโรงอาหารโดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต
8. การเขา้ -ออกประตวู ทิ ยาลัย
8.1 นกั ศึกษาจะต้องสแกนบัตรเข้าออกทุกครั้ง เพอื่ เป็นการยืนยันเวลาเขา้ – ออกภายในวทิ ยาลัย
8.2 นักศกึ ษาตอ้ งแต่งเครอื่ งแบบให้เรียบรอ้ ยและท�ำความเคารพครทู ี่ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีบริเวณประตูวทิ ยาลยั
ทุกครัง้
8.3 ในกรณที น่ี กั ศึกษามาตดิ ต่อธุระกบั ทางวทิ ยาลัยให้แสดงบัตรนกั ศึกษา และแลกบตั ร ผา่ นกับเจ้าหน้าท่ี
รักษาความปลอดภัยกอ่ นเข้าไปในวิทยาลัยทกุ คร้งั
8.4 นกั ศกึ ษาท่ขี บั ขี่รถจกั รยานยนตม์ าวทิ ยาลัยต้องสวมหมวกกันน๊อคและปฏิบตั ติ ามกฎจราจร
8.5 นักศึกษาทีม่ าติดต่องานทวี่ ทิ ยาลัยหลังเวลา 18.00 น. ต้องแสดงบตั ร นักเรียน -นกั ศึกษา
กบั เจา้ หน้าทร่ี ักษาความปลอดภยั ด้วยทกุ ครั้ง
8.6 บุคคลภายนอกท่ีจะเข้ามาติดต่อธุระในวทิ ยาลัยต้องแลกบตั รกบั เจา้ หน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัยกอ่ น
ทกุ ครงั้
8.7 นักศกึ ษาหรือบคุ คลภายนอกทีท่ �ำบตั รเขา้ -ออกภายในวทิ ยาลยั หาย ให ้ไปช�ำระเงนิ คา่ ปรับทฝ่ี ่าย
ธรุ การ แล้วน�ำใบเสรจ็ ไปใหค้ รูหรอื เจา้ หนา้ ท่ีรักษาความปลอดภยั ท่รี ับผดิ ชอบก่อนจึงสามารถออก
จาก วิทยาลัยได้
9. การขับรถและการจอดรถภายในวิทยาลยั
9.1 นักศกึ ษาตอ้ งน�ำรถไปจอดในที่จอดรถหรอื บริเวณท่วี ิทยาลัยฯ กำ� หนดให้ทุกคร้งั
9.2 การขบั ขีร่ ถภายในวิทยาลัย นักศึกษา ทกุ คนต้องปฏิบัติตามกฎจราจรอยา่ งเคร่งครัด
10. การตรวจสารเสพติด
10.1 ในกรณที พ่ี บเหน็ นักศึกษา คนใดมีพฤตกิ รรมเบีย่ งเบนและมีอาการว่านา่ จะเกี่ยวข้องกบั สารเสพติด
ครหู รอื บุคลากรทกุ ทา่ นสามารถแจ้งผู้ช่วยฝ่ายพฒั นากจิ การนกั เรยี นนักศึกษารบั ทราบ ทันที
10.2 เมือ่ ฝ่ายพัฒนากจิ การนกั เรียนนกั ศกึ ษาได้รับแจง้ ตรวจสารเสพตดิ นำ� เร่ืองเสนอผอู้ ำ� นวยการเพอื่ ขอ
อนมุ ตั ติ รวจหาสารเสพตดิ ในปสั สาวะของนกั ศกึ ษาทันที
10.3 ทางฝ่ายพัฒนากิจการนกั เรยี นนกั ศึกษานำ� ชดุ ตรวจสารเสพตดิ เพ่ือมา ตรวจนกั ศกึ ษา กลุ่มเสี่ยง
10.4 เมอ่ื ตรวจพบสารเสพตดิ ในปสั สาวะนักศกึ ษาคนใด ฝ่ายพฒั นากจิ การนักเรียนนกั ศึกษา จะเชิญผ ู้
ปกครองมาพบแลว้ จะต้องเสียค่าธรรมเนยี มการตรวจปัสสาวะให้ทางวทิ ยาลยั ครั้งละ 100 บาท
10.5 ให้ผ้ปู กครองนำ� นกั ศึกษาไปขอใบรบั รองแพทย์จากโรงพยาบาลธญั ญลกั ษณ์เพอ่ื มายืนยนั ผลตรวจให้
กับทางวทิ ยาลัย
10.6 ส่งผลการตรวจปัสสาวะนกั ศกึ ษา ให้ผู้อำ� นวยการเพอ่ื พิจารณาตามความเหมาะสม
11. การเข้าร่วมประชุม
11.1 นกั ศึกษา ทุกระดับช้นั ต้องรบั ผดิ ชอบว่าเป็นหนา้ ท่ี ที่จะตอ้ งร่วมประชมุ ทกุ คร้ัง ตามวันเวลาที่
วทิ ยาลัยกำ� หนด
11.2 เดนิ เข้าห้องประชุมอย่างมีระเบยี บ น่ังดว้ ยความสงบเรียบรอ้ ย
11.3 ให้อาจารยท์ ่ีปรึกษาเช็คช่อื นกั ศึกษาทุกคร้งั ท่มี กี ารประชมุ
14 คู่มอื คุณธรรม นักเรยี น - นกั ศึกษา

12. คะแนนความประพฤติ
12.1 นกั ศกึ ษา ทกุ ระดบั และมคี ะแนนความประพฤตินักศึกษา 100 คะแนน ต่อ 1 คน /ภาคเรียน
12.2 เกณฑ์ในการตดั คะแนน / เพม่ิ คะแนนความประพฤติ นกั ศกึ ษา
12.3 การเขา้ คา่ ยปรบั เปล่ียนพฤติกรรมนักศึกษา
นักศึกษาท่ีมีคะแนนความประพฤติ ต�ำ่ กวา่ 50 คะแนนจะต้องเขา้ คา่ ยปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
นักศึกษา โดยผปู้ กครองจะเปน็ ผู้รับผดิ ชอบค่าใช้จา่ ยทงั้ หมด ในแต่ละภาคเรียน

การตดั คะแนนมีรายละเอียดดงั นี้ 2 คะแนน
- มาเรยี นสายในระดบั ปวช. หลงั จาก 8.00 น. สายแถวตัด
หลังจาก 9.00 น. สายคาบตัด 3 คะแนน
- มาเรียนสายในระดับ ปวส. หลังจาก 8.30 น. สายแถวตัด 2 คะแนน
หลักจาก 9.00 น. สายคาบตดั 3 คะแนน
- ไม่ลงเวลากลบั ตัด 5 คะแนน
- ลืมนำ� บัตรประจ�ำตวั นักเรยี น – นกั ศึกษา มาวิทยาลยั ตดั 3 คะแนน
- ขาดเรียน ตัดคะแนน 5 คะแนน
- ตัดคะแนนจาก พฤตกิ รรมตา่ งๆของนักเรยี น - นักศกึ ษา เชน่ ทะเลาะวิวาท สารเสพตดิ การพนัน
อบายมขุ และสาเหตุอืน่ ๆ อันเนอ่ื งจากพฤติกรรมที่ไม่เหมะสมพิจารณาจากคณะกรรมการตัดสินฝ่าย
พัฒนากจิ การนักเรยี นนกั ศกึ ษา

การเพิ่มคะแนนมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
- มาเรยี นกอ่ นเวลาในระดบั ปวช.ก่อน 8.00 น. บวกเพ่มิ 1 คะแนน
- มาเรียนกอ่ นเวลาในระดบั ปวส.กอ่ น 8.30 น. บวกเพิ่ม 1 คะแนน
- ชว่ ยกิจกรรม และ เปน็ ตัวแทนของวิทยาลยั ฯ บวกเพ่มิ (คะแนนความดพี ิจารณาจากงาน โดยฝา่ ย
พฒั นากจิ การนกั เรียนนักศึกษา)

วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเจริญพัฒนาบรหิ ารธรุ กจิ 15

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ
ว่าดว้ ยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แหง่ พระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ รฐั มนตรี
วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบยี บวา่ ด้วยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไว้ ดังต่อไปนี้
ขอ้ ๑. ระเบยี บนเ้ี รียกวา่ “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘”
ขอ้ ๒. ระเบยี บนีใ้ ห้ใชบ้ ังคับต้ังแตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓. ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นหรอื นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓
ข้อ ๔. ในระเบยี บน้ี

“ผ้บู รหิ ารวิทยาลยั หรอื สถานศกึ ษา” หมายความวา่ ครใู หญ่ อาจารย์ใหญ่ ผอู้ ำ� นวยการ อธิการบดี หรอื หัวหน้าของ
วทิ ยาลยั หรือสถานศึกษาหรือต�ำแหน่งท่ีเรียกชอ่ื อยา่ งอื่นของวิทยาลยั หรือ สถานศกึ ษาน้ัน
“กระทำ� ความผิด” หมายความวา่ การที่นกั เรยี นหรอื นักศึกษาประพฤติฝา่ ฝืนระเบียบ ข้อบังคบั ของสถานศึกษา
หรือของกระทรวงศึกษาธกิ าร หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรยี น และนักศกึ ษา
“การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศึกษาทีก่ ระทำ� ความผิด โดยมคี วามม่งุ หมาย เพือ่ การ อบรม
สงั่ สอน
ข้อ ๕ โทษทีจ่ ะลงโทษแกน่ กั เรียนหรือนักศึกษาทก่ี ระทำ� ความผิด มี ๔ สถาน ดงั น้ี
(๑) วา่ กล่าวตักเตือน
(๒) ท�ำทัณฑ์บน
(๓) ตัดคะแนนความประพฤติ
(๔) ทำ� กจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รบั เปลีย่ นพฤติกรรม
ขอ้ ๖ หา้ มลงโทษนกั เรยี นและนักศกึ ษาด้วยวธิ รี นุ แรง หรอื แบบกลั่นแกลง้ หรือลงโทษดว้ ยความโกรธ หรือ
ดว้ ยความพยาบาท โดยใหค้ �ำนงึ ถึงอายขุ องนักเรียนหรือนกั ศกึ ษา และความร้ายแรง ของพฤติการณป์ ระกอบการลงโทษ
ด้วย การลงโทษนกั เรียนหรือนกั ศกึ ษาให้เปน็ ไปเพอื่ เจตนาทจ่ี ะแกน้ ิสัยและความประพฤติไมด่ ี ของนกั เรยี นหรอื นกั ศึกษา
ให้รูส้ ำ� นึกในความผดิ และกลบั ประพฤตติ นในทางทดี่ ีต่อไป ให้ผู้บริหารวิทยาลัยหรือสถานศึกษา หรอื ผทู้ ่ีผู้บรหิ ารวิทยาลยั
หรอื สถานศึกษามอบหมาย เปน็ ผู้มีอำ� นาจในการลงโทษนกั เรยี น นักศึกษา
ขอ้ ๗ การวา่ กล่าวตักเตือน ใช้ในกรณนี ักเรยี นหรือนักศึกษากระท�ำความผิดไมร่ า้ ยแรง
ข้อ ๘ การท�ำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรยี นหรือนกั ศึกษาที่ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกบั สภาพนักเรยี น นกั ศกึ ษา
ตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยความประพฤตินกั เรียน และ นกั ศึกษา หรอื กรณที �ำให้ เสอ่ื มเสยี ชอื่ เสียงและเกยี รตศิ ักดิข์ องสถาน
ศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบยี บของสถานศกึ ษา หรือไดร้ ับโทษวา่ กลา่ ว ตักเตือนแล้ว แต่ยงั ไม่เขด็ หลาบ การทำ� ทัณฑบ์ นใหท้ �ำ
เป็นหนงั สอื และเชญิ บดิ ามารดาหรอื ผ้ปู กครองมาบันทึกรบั ทราบความผิด และรับรองการท�ำทณั ฑบ์ นไวด้ ้วย
ข้อ ๙ การตดั คะแนนความประพฤติ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบปฏบิ ัติว่าดว้ ยการตดั คะแนน ความประพฤติ
นกั เรียนนักศกึ ษาของแตล่ ะสถานศึกษาก�ำหนด และใหท้ ำ� บนั ทึกขอ้ มูลไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ ๑๐ ท�ำกิจกรรมเพ่ือใหป้ รับเปล่ยี นพฤติกรรม ใชใ้ นกรณที น่ี กั เรยี นและนักศึกษากระทำ� ความผิด ทส่ี มควร
ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกจิ กรรมใหเ้ ป็นไปตามแนวทางทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารก�ำหนด
ขอ้ ๑๑ ให้ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้แี ละใหม้ ีอำ� นาจตีความ และ วนิ ิจฉัย
ปัญหาเก่ียวกบั การปฏิบตั ิตามระเบยี บนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
อดศิ ัย โพธารามิก
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร

16 ค่มู อื คุณธรรม นักเรียน - นักศึกษา

ระเบยี บสถานศึกษา บทลงโทษ
ขั้นตอนการพิจารณาการลงโทษ ตามความผิดของนักเรียน นักศกึ ษา

1. ตักเตอื น หนงั สือทณั ฑบ์ น เชิญผู้ปกครอง
1.1 ไว้หนวดเครา ผมยาวผิดระเบียบ
1.1.1 ทรงผมชายระดบั ปวช. แบบรองทรงสูง สภุ าพ
1.1.2 ทรงผมชายระดับ ปวส. แบบรองทรงตำ่� สภุ าพ
1.2 ใสต่ า่ งหู หรือเคร่อื งประดบั อนื่ ๆ ท่ีวทิ ยาลัยประกาศหา้ ม
1.3 แตง่ กายผิดระเบียบของวทิ ยาลัย
1.4 หนเี รียน ไม่ตงั้ ใจเรียน กอ่ ความร�ำคาญให้ผู้อื่น ทำ� ให้ขาดสมาธิในการเรยี น
1.5 แตง่ เครื่องแบบ นกั ศกึ ษาเขา้ ไปในสถานทีไ่ มเ่ หมาะสมกับสภาพนักเรียน
1.6 บงั คบั ข่มขู่ หรือชกั ชวน นักศกึ ษาให้กระทำ� ความผดิ ระเบยี บข้อบังคับของวิทยาลยั
1.7 น�ำวสั ดุหรอื เครอ่ื งมอื อก นอกหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาตจากครู-อาจารย์
1.8 ปกปิดความผดิ ของเพื่อนนักศึกษา หรือน�ำบุคคลภายนอกเขา้ มาในสถานศึกษาอันจะนำ� มาซ่ึงความเสีย
หายแก่สถานศกึ ษา
1.9 ประมาทเลนิ เลอ่ จนทำ� ใหเ้ กดิ ความเสียหายแกส่ ถานศึกษา เพือ่ นนักศกึ ษา และบุคลากรในวทิ ยาลยั
1.10 มาวิทยาลยั สายโดยไม่มเี หตอุ นั ควร
2. พกั การเรยี น เขยี นใบลาออกไว้
2.1 ชกั น�ำ ย่วั ยุ ส่งเสรมิ หรอื กระทำ� การใดๆ เพอื่ กอ่ ให้เกิดความเสยี หาย ความไม่สงบเรยี บร้อยรวมถงึ การ
ปลกุ ระดม อันก่อให้เกิดความเสยี หายตอ่ ช่อื เสยี งของวิทยาลัยหรอื กอ่ ให้เกดิ ความแตกแยกในหมู่คณะ
2.2 ทจุ ริตในการสอบ หรือสอ่ เจตนาทุจรติ ในการสอบ
2.3 แสดงกริ ิยาอาการกระดา้ ง กระเดือ่ งต่อครู-อาจารย์ หรอื มพี ฤติกรรมท่ีไมเ่ คารพตอ่ วิทยาลัยขอตนเอง
ทั้งภายในและนอกวทิ ยาลยั
2.4 สูบบุหร่ที ั้งภายในและนอกวิทยาลยั ในขณะแตง่ เคร่ืองแบบนกั ศึกษา
2.5 น�ำสุราเครอ่ื งด่มื ของมึนเมา หรือดืม่ สุราของมึนเมา ทั้งภายในและนอกวทิ ยาลัย
2.6 ลกั ทรพั ยข์ องผู้อน่ื หรอื ของวทิ ยาลัย
2.7 ทำ� การขีด เขียน พน่ สี ท้ังภายในและนอกวทิ ยาลยั รวมถงึ ทสี่ าธารณประโยชน์ หรือ การตดิ ปา้ ย แจก
เอกสารภาพถ่ายทย่ี ัว่ ยใุ หเ้ กิดเหตุทะเลาะวิวาท
2.8 นำ� หรือท�ำเอกสาร ภาพถา่ ยทีเ่ ข้าขา่ ยลามก อนาจาร หรอื บอ่ นทำ� ลายศีลธรรมอนั ดี รวมถงึ การมีความ
ผดิ ทางเพศท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ ชอื่ เสยี งของวทิ ยาลัย และเสอื่ มเสียทางศลี ธรรม
3. พ้นสภาพการเป็นนักศกึ ษา ให้ออก หรอื ไล่ออก
3.1 เจตนากอ่ การทะเลาะววิ าท หรือทำ� ร้ายร่างกาย นักศึกษาสถาบันอน่ื
3.2 เสพหรอิ น�ำส่งิ เสพติดทกุ ชนดิ เขา้ มาในวิทยาลัย เชน่ เฮโรอนี ฝน่ิ กญั ชา ยาบา้ ฯลฯ รวมถึงการ
จ�ำหนา่ ยสิ่งเสพตดิ ทกุ ชนดิ
3.3 ลักลอบเล่นการพนันทุกชนิด หรอื เปน็ ท่แี น่ชัดว่าเป็นนกั เลงการพนนั
3.4 พกพา อาวธุ วัตถุระเบดิ ทงั้ ในและนอกวิทยาลยั

วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเจรญิ พัฒนาบรหิ ารธรุ กิจ 17

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เรอ่ื ง ผปู้ กครองนกั เรยี น-นักศกึ ษา
โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ งผ้ปู กครองนักเรียน นกั ศึกษาใหเ้ หมาะสมยิง่

ข้ึนฉะนัน้ อาศยั อ�ำนาจตามความในขอ้ 23 แห่งประกาศของคณะปฏวิ ัติ ฉบับที่ 216 ลงวนั ที่ 29 กนั ยายน 2515
จงึ ได้ยกเลกิ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ หรือผูป้ กครองนกั เรยี น ลงวนั ที่ 19 มกราคม 2503 และผูป้ กครอง
นักเรยี น-นกั ศกึ ษาที่ก�ำลงั รบั การศึกษาระดบั ต่ำ� กวา่ ปรญิ ญาตรี ในสถานศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปฏิบตั ิ
ดังนี้
1. ผูป้ กครอง หมายถึง บคุ คลทีร่ บั นักเรียนนักศกึ ษาไว้ในความปกครองและอุปการะเล้ยี งดหู รอื บุคคลที ่
นักเรียนนักศกึ ษาอาศัยอยู่ด้วย
2. ให้นักเรยี น-นกั ศึกษาท่ีก�ำลังรบั การศกึ ษาอย่ใู นหลักสูตรระดับ ปวส., ป.ก.ศ. สูง หรอื เทียบเท่าลงมาใน
สถานศึกษาในสังกัดหรอื ในความควบคุมดแู ลของกระทรวงศึกษาธิการ เวน้ แตก่ ารศึกษาผใู้ หญ่ มีผู้
ปกครองตลอดระยะเวลาท่ศี กึ ษาอยู่
3. วันมอบตัวนกั เรยี นนักศึกษาใหม่ใหผ้ ูป้ กครองมามอบตวั นกั เรยี น-นกั ศึกษาที่สถานศกึ ษา พร้อมกับสง่
หลกั ฐานและเอกสารต่าง ๆ
4. ผู้ปกครองจะตอ้ งร่วมมอื กบั สถานศึกษาเพอ่ื ควบคุมความประพฤติและการศึกษาเลา่ เรยี นโดยให้
นกั เรียน-นักศกึ ษาแต่งตัวและประพฤติตามระเบียบขอ้ บังคับ หรอื ค�ำสงั่ ของสถานศึกษาหรือของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
5. ผู้ปกครองควรตดิ ตอ่ กบั สถานศกึ ษาอยูเ่ สมอ เพอื่ จะได้รบั ทราบปัญหาต่าง ๆ เก่ียวกับ นกั เรียนนกั ศกึ ษา
และชว่ ยแก้ไข
6. เม่อื ผู้ปกครองเปลีย่ นแปลงทอี่ ยู่ หรือหมายเลขโทรศพั ท์ให้ผู้ปกครองแจง้ ให้สถานศึกษาทราบ
7. สำ� หรับนกั เรียนนักศึกษาทร่ี ับการศึกษาอยู่ในสถานศึกษาแล้ว ใหส้ ถานศึกษาตรวจสอบ
หลกั ฐานการเปน็ ผูป้ กครองนกั เรียนหากเหน็ วา่ นกั เรยี นคนใดไม่มีผู้ปกครองหรือผู้ปกครองไมเ่ หมาะสมกใ็ ห้
สถานศกึ ษาด�ำเนินการตามประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522

18 คูม่ อื คณุ ธรรม นักเรียน - นักศึกษา

ระเบยี บดา้ นการศึกษา
ฝายวิชาการ

ข้อควรทราบดา้ นการศกึ ษาส�ำหรับผู้เรียน โดยขอ้ มูลอา้ งองิ จาก "คู่มอื นกั เรยี น - นกั ศึกษา"

ระเบยี บฝา่ ยวชิ าการ อ้างองิ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร
ตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2556
และประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง พุทธศกั ราช 2557

1.หลกั การประเมินผลการเรยี น
1.1 ตัวเลขแสดงระดบั ผลการเรียนในแต่ละรายวิชา ดังต่อไปนี้
4.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ ีเย่ียม
3.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก
3.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยูใ่ นเกณฑ์ดี
2.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ พี อใช้
2.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑพ์ อใช้
1.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ออ่ น
1.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูใ่ นเกณฑอ์ ่อนมาก
0 หมายถึง ผลการเรยี นต�ำ่ กว่าเกณฑข์ ั้นตำ�่
1.2. รายวชิ าใดทแ่ี สดงระดบั ผลการเรยี นตามตวั อกั ษรต่อไปนตี้ ้องแก้ใหผ้ ่าน ยกเว้น ผ.
ข.ร. หมายถงึ ขาดเรยี น ไมม่ สี ิทธเิ ขา้ รบั การประเมนิ สรปุ ผลการเรยี น เนอ่ื งจากมเี วลาเรยี น
ตำ่� กวา่ รอ้ ยละ 80 โดยสถานศึกษาพิจารณาแลว้ เหน็ วา่ ไมใ่ ชเ่ หตสุ ดุ วสิ ยั
ข.ส. หมายถึง ขาดการประเมนิ สรปุ ผลการเรียน โดยสถานศึกษาพจิ ารณาแล้วเหน็ ว่าไมม่ ี
เหตุผลสมควร
ม.ส. หมายถึง ไม่สมบูรณ์ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถเข้ารบั การประเมนิ ครบทกุ ครง้ั และหรือไมส่ ง่
งานอนั เป็นส่วนประกอบของการเรียนรายวชิ าตามกำ� หนดดว้ ยเหตุจ�ำเปน็ อันสุดวสิ ยั
ท. หมายถงึ ทุจรติ ในการสอบหรอื งานทม่ี อบหมายให้ทำ�
ผ. หมายถงึ ได้เขา้ รว่ มกิจกรรมตามกำ� หนด และผลการประเมินผ่าน
ม.ผ. หมายถึง ไม่เข้าร่วมกจิ กรรม หรือผลการประเมินไม่ผา่ น
2. การนบั เวลาเรยี น
เพื่อสิทธิในการประเมินการเรียนนักศึกษาจะต้องมีเวลาเรียนแต่ละรายวิชาไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นเปิดเรียนเตม็ ใน 1 ภาคเรยี น หากมเี วลาเรยี นนอ้ ยกวา่ ท่กี �ำหนดถอื ว่า ผลการเรียนจะถกู
ประเมนิ เป็น ขร. หมายถงึ ขาดเรยี นเกิน นักศกึ ษาจะไมม่ ีสิทธิเข้ารับการประเมินผลสอบปลายภาค

วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเจริญพัฒนาบริหารธรุ กิจ 19

3. การย่นื คำ� รอ้ งของมีสทิ ธสิ อบ
3.1. การยื่นค�ำร้องขอมีสทิ ธสิ อบไดใ้ นกรณีทีน่ กั ศกึ ษาไมส่ ามารถมาสอบ ตามวนั และเวลาสอบทวี่ ทิ ยาลัย
ก�ำหนดไว้ โดยมีเหตจุ ำ� เปน็ เชน่
ประสบอบุ ตั เิ หตุ
ป่วย (กรณีมใี บรบั รองแพทย์)
รักษาตัวท่ีโรงพยาบาล หรอื กรณีอืน่ ๆ ทมี่ เี หตุจำ� เปน็ โดยผปู้ กครองรบั รอง
3.2 การยื่นคำ� รอ้ งขอมีสทิ ธสิ อบในกรณีทเี่ วลาเรยี นไมค่ รบรอ้ ยละ 80 อยู่ในการพจิ ารณาของอาจารยผ์ ู้สอน
ในรายวิชานน้ั ๆ
3.3 การยนื ค�ำร้องขอมสี ิทธสิ อบให้พิจารณาถงึ ความเหมาะสมเป็นรายบุคคล
การยน่ื คำ� ร้องในกรณีดังกลา่ วข้างตน้ ให้นกั ศึกษาตดิ ต่อย่ืนคำ� ร้องไดท้ ่ฝี ่ายวชิ าการ และด�ำเนนิ การนัดวัน เวลา
ในการด�ำเนินการต่อไป
4. มาตรฐานผู้ส�ำเรจ็ การศึกษา
4.1 ในการศกึ ษาชนั้ ปีสุดทา้ ย นกั ศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส. จะต้องผา่ นการฝกึ ประสพการณ์วชิ าชพี
อยา่ งน้อย 320 ช่วั โมง ข้ึนไป
4.2 นักศกึ ษาทุกคนตอ้ งเรียนครบตามโครงสรา้งตามหลักสตู รของวิทยาลัยแตล่ ะประเภทวชิ า สาขาวิชา และ
สาขางานและมีผลการเรียน เฉล่ียสะสมไมน่ อ้ ยกว่า 2.00
4.3 นกั ศกึ ษาทกุ คนจะต้องผา่ นการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ
4.4 นกั ศกึ ษาท่ีส�ำเร็จการศึกษาต้องผา่ นการทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน
4.5 การทดสอบแหง่ ชาตดิ า้ นอาชีวศึกษา V-Net ผ้เู รยี นระดับชั้นปีสดุ ทา้ ยจะตอ้ งเข้ารับการทดสอบแห่งชาติ
ด้านอาชีวศกึ ษา V-Net

หมายเหตุ ขอ้ มลู ในคมู่ อื ฉบับนคี้ ดั จากคูม่ อื ฉบบั สมบูรณข์ องวทิ ยาลยั ฯ นกั ศกึ ษาสามารถดาวโหลด
เอกสารหรือสอบถามข้อมูลเพม่ิ เตมิ ไดท้ เ่ี ว็บไซตว์ ทิ ยาลยั เพือ่ ใหเ้ นอ้ื หากระชบั จงึ ขอใหน้ กั ศกึ ษารบั ทราบ
และปฏบิ ัติตามระเบียบของวิทยาลยั ฯ
20 คมู่ อื คณุ ธรรม นักเรียน - นักศกึ ษา

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

การเข้ารว่ มกจิ กรรมของนกั ศึกษา

1. นกั ศกึ ษา ตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมทที่ างวิทยาลยั จัดขน้ึ โดยแบง่ ออกเปน็
1.1 กจิ กรรมหลกั หมายถึง กิจกรรมท่ผี เู้ รียนตอ้ งผา่ นการประเมิน จงึ จะสามารถจบการ ศึกษาได้
1.2 กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร หมายถึง กจิ กรรมท่เี กยี่ วกับรายวิชาท่ีท�ำให้เกดิ ความเข้าใจในเร่ืองใดเร่ือง
หนึ่งมากข้ึน หรอื กิจกรรมอ่นื ใดท่ไี ม่ใชก่ ิจกรรมที่จดั ตามวันเทศกาล หรอื วาระตา่ งๆ ท่ีกระทรวงก�ำหนด
1.3 กิจกรรมตามความสนใจ หมายถึง กิจกรรมที่ผเู้ รียนเสนอใหจ้ ดั หรือมสี ว่ นรว่ มในการก�ำหนดรปู แบบ

รวมถึงกจิ กรรมชมรม

ทัง้ น้ี การผ่านกจิ กรรม ตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 จะถอื วา่ "ผา่ น" และถา้ เข้าร่วม
กิจกรรมน้อยกวา่ ร้อยละ 80 จะถอื ว่า"ไม่ผ่าน" ในแตล่ ะประเภทของกิจกรรม
2. ในกรณที ีน่ ักศึกษา ไม่เขา้ รว่ มกิจกรรมใดๆก็ตาม ให้นกั ศกึ ษา ตดิ ต่อฝ่ายสง่ เสริมกจิ การนักศกึ ษา ในการ
ขอรบั หนังสือชีแ้ จงไมเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม และน�ำไปให้ผูป้ กครองกรอกรายละเอียดตามหนงั สือชแ้ี จงการไมเ่ ข้า
รว่ มกิจกรรมโดยละเอยี ด พร้อมท้ังลงนามรับรอง แลว้ น�ำกลบั มาให้อาจารย์ที่ ปรึกษา ลงนามและน�ำสง่ ฝ่าย
ส่งเสริมกจิ การนักเรียน-นกั ศกึ ษาเพือ่ ขอรบั มอบหมายกิจกรรมพเิ ศษทดแทน ทั้งน้ีรวมถึงกิจกรรมชมรม
และกิจกรรมอนื่ ๆ
3. ในการด�ำเนินการโครงการหรือกิจกรรมต่างๆท่ีจัดข้ึนโดยนนักศึกษาหรือคณะกรรมการนักศึกษา
จะตอ้ งเสนอโครงการผ่านฝา่ ยส่งเสริมกจิ การนกั ศกึ ษา และ อนุมตั โิ ดยฝ่ายบริหารซึ่งนกั ศกึ ษาจะตอ้ งทำ�
เอกสารเสนอและปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอน
4. ในการสงั กดั ชมรม นกั ศกึ ษา สามารถสงั กดั ไดเ้ พยี ง 1 ชมรมเทา่ นน้ั โดยภายใน 1 สัปดาห์ หลังจากประกาศ
รับสมคั รเข้าชมรมแลว้ ทุกชมรมจะทำ� การส่งรายช่อื มายงั ฝา่ ยส่งเสริมกจิ กานกั ศกึ ษา หากนกั ศกึ ษาประสงค์
จะขอยา้ ยชมรม ตอ้ งยื่นค�ำร้องขอย้ายชมรม พร้อมกบั แจง้ เหตผุ ลสมควรเพื่อให้ฝา่ ยวิชาการ และฝา่ ยสง่
เสริมกิจการนักศึกษาเหน็ ชอบจึงจะสามารถยา้ ยชมรมได้

วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเจริญพัฒนาบรหิ ารธรุ กิจ 21

ลกู JBAC
คุณธรรม จรยิ ธรรม และ ความดี

เพ่ือให้ผเู้ รียนตระหนักถึงหนา้ ท่ีของตน ประพฤติตนอย่างเหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ป็นผู้
มีคุณธรรม จริยธรรม และมคี ่านยิ มที่ดี

คนดี

“ในบา้ นเมอื งนั้น มีทงั้ คนดี และคนไมด่ ี ไม่มใี ครท่จี ะท�ำให้ทกุ คนเปน็ คนดไี ดท้ งั้ หมด การท�ำให้บา้ นเมอื งมคี วาม
ปกติสขุ เรยี บรอ้ ย จงึ มใิ ชก่ ารท�ำให้ทกุ คนเปน็ คนดี หากแตอ่ ยู่ท่ีการสง่ เสรมิ คนดี ใหค้ นดีปกครองบ้านเมือง และ
ควบคมุ คนไมด่ ี ไมใ่ หม้ อี �ำนาจ ไม่ใหก้ อ่ ความเดอื ดรอ้ นวุ่นวายได้”

(พระบรมราโชวาทในพิธเี ปดิ งานชุมนุมลูกเสอื แหง่ ชาติ คา่ ยลกู เสอื วชิราวุธ จังหวัดชลบรุ ี 11 ธันวาคม 2512)

ความดี

“การทำ� ดนี ้ันทำ� ยากและเห็นผลชา้ แต่ก็จ�ำเป็นต้องทำ� เพราะหาไมค่ วามช่วั ซึง่ ทำ� ได้ง่าย จะเขา้ มาแทนทีแ่ ละจะ
พอกพูนขึน้ อยา่ งรวดเรซ็ โดยไม่ทนั รู้สกึ ตัว แต่ละคนจงึ ตอ้ งต้งั ใจและเพยี รพยายามใหส้ ุดกำ� ลงั ในการสร้างเสริม
และสะสมความด”ี
(พระบรมราโชวาทพระราชทาน แกผ่ ู้ส�ำเร็จการศกึ ษา ท่ีโรงเรยี นนายร้อยตำ� รวจ สวนอัมพร 14 สงิ หาคม 2525)

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น 8 ขอ้

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ท่ีนักเรยี นควรทราบ ควรระลึก
และตอ้ งหมัน่ ปฏบิ ัติอยู่เสมอมดี ังน้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
ตัวชว้ี ดั
1.1 เป็นผลเมืองท่ีดีของชาติ
1.2 ธ�ำรงไว้ซ่ึงความเปน็ ไทย
1.3 ศรัทธา ยดึ มัน่ และปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนา
1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
ตัวชวี้ ดั
2.1 ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองท้งั กาย และวาจา ใจ
2.2 ประพฤติตรงตามเป็นจรงิ ต่อผูอ้ ื่นท้ัง กาย วาจา ใจ
3. มีวินยั
ตัวชีว้ ัด
3.1 ประพฤติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครวั โรงเรยี น และสังคม

22 คู่มอื คุณธรรม นกั เรยี น - นกั ศึกษา

4. ใฝ่เรยี นรู้
ตวั ชีว้ ดั
4.1 ต้งั ใจเพยี งพยายามในการเรยี น และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 แสวงหาความร้จู ากแหล่งเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใชส้ อ่ื
อย่างเหมาะสม สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ และสามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจำ� วันได้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
ตวั ชว้ี ัด
5.1 ดำ� เนินชวี ติ อย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มีคณุ ธรรม
5.2 มีภูมิคุ้มกนั ในตัวทด่ี ี ปรับตวั เพอื่ อยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ
6. มุง่ มั่นในการทำ� งาน
ตวั ชีว้ ดั
6.1 ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบในหน้าท่กี ารงาน
6.2 ทำ� งานด้วยเพยี งพยายามและอดทนเพ่ือใหส้ �ำเร็จตามเปา้ หมาย
7. รกั ความเป็นไทย
ตวั ช้วี ัด
7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทยและมีความกตญั ญูกตเวที
7.2 เห็นคณุ ค่าและใช้ภาษาไทยในการสือ่ สารได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
7.3 อนรุ ักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย
8. มีจติ สาธารณะ
ตวั ช้ีวดั
8.1 ช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ด้วยด้วยความเตม็ ใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน
8.2 เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชุมชน และสงั คม
ทมี่ า/อ้างอิง : กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

ทกั ษะดี มคี ุณธรรม
รู้หน้าทีข่ องตน ตอบแทนสังคมดว้ ยความดี

วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเจรญิ พฒั นาบริหารธรุ กจิ 23


Click to View FlipBook Version