The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมรายงานวิภาดา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumaleefern09, 2021-10-27 03:27:57

รวมรายงานวิภาดา

รวมรายงานวิภาดา

รายงานการฝกึ งาน
วชิ า การฝกึ งาน

รหัสวิชา 30204-8002
รหสั วิชา 30204-8003
สถานทฝี่ ึกงานบรษิ ทั สพุ รีมดิสทบิ วิ ช่ัน(ไทยแลนด)์ จำกดั

เสนอ
ครนู เิ ทศนางสาวภทั ราวรรณ วรรณะบำเพญ็

จดั ทำโดย
นางสาววิภาดา ขำเนตร์
รหสั ประจำตัว 63302040011
ระดับ ปวส. ช้นั ปที ี่ 1 และชน้ั ปที ี่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ลั

รายงานการฝกึ งานนี้ เป็นสว่ นหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรวิชาชพี ชัน้ สงู
แผนกวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั บริหารธุรกิจและการทอ่ งเทย่ี วกรงุ เทพ

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563



กติ ตกิ รรมประกาศ

การฝกึ งานครั้งน้ี เป็นการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ ระดบั ปวส.1 รหัสวิชา 30204-8002 และ ระดับปวส.2

รหสั วิชา 30204-8003 ข้าพเจา้ ได้เร่ิมฝึกงานต้ังแต่ วันที่ 23 เดือน พฤษจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงวันที่

30 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 จากการฝึกงานทำให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้และทักษะใหม่ในการทำงาน ข้าพเจ้า
ขอขอบคุณครูนิเทศ นางสาวภัทราวรรณ วรรณะบำเพ็ญ ที่ช่วยให้การฝึกงานของข้าพเจ้า สำเร็จลุล่วงตาม
จุดประสงคข์ องหลักสตู ร

ขอขอบพระคุณบรษิ ัทสุพรีมดิสทิบวิ ชั่น(ไทยแลนด)์ จำกัด และ นางสาวรตั นพงค์ ใจเอ้อื
ผลจากการฝึกงานในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะได้นำไปใช้ประโยชน์ ในการประกอบอาชีพ และแนะนำนกั เรียน
นักศกึ ษาศกึ ษารนุ่ น้อง ตลอดจนนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติงานต่อไป

นางสาววิภาดา ขำเนตร์
25/10/2564



บทคดั ยอ่

การฝึกงานครั้งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งมี
วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาฝึกงาน 2)เพื่อนำความรู้ ความสามารถจากการ
เรียนมาประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง 3)เพื่อให้มีทักษะและประสบการณ์ในการทำงาน ณ สถานที่จริง 4)เพ่ือ
ศึกษาขั้นตอนของการทำงานของสถานประกอบการจริง 5)เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตาม
หลกั สตู รทีส่ าํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากาํ หนด
สถานท่ใี นการฝกึ งานของขา้ พเจ้า คอื บรษิ ทั สุพรีมดิสทบิ วิ ชนั่ (ไทยแลนด์)จำกัด
ซ่งึ ตง้ั อยทู่ ี่ 3/66 หมู่ 6 ซอยสกลุ ชา ถนนประดิษฐ์มนธู รรม แขวงลาดพร้าว เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพมหานคร
10230
เปน็ สถานประกอบการประเภท อปุ กรณ์ IT
ข้าพเจา้ ได้ฝึกงานในตำแหนง่ ทดสอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ ทำหนา้ ที่

1) ลงวินโดว์ ลงโปรแกรม
2) ประกอบคอมพวิ เตอร์
3) ซ่อมคอมพวิ เตอร์
ผลจากการฝึกงานในครั้งนี้ทำให้ข้าพเจา้ ไดป้ ระสบการณ์และความร้ใู หม่ดังนี้
1) ได้รจู้ กั มติ รภาพดีๆในทีท่ ำงาน
2) ได้ลองใชโ้ ปรแกรมทีเ่ ครือ่ งใช้มากอ่ น
3) ได้ลองขับรถไปต่างสถานที่
4) ได้ลองรบั ลูกค้าหน้าร้าน
5) ไดร้ ูจ้ ักมติ รภาพดๆี ในทีท่ ำงาน



สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้

กติ ตกิ รรมประกาศ ก
บทคดั ย่อ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพประกอบ จ
1
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการฝึกงาน 3
1.2 วัตถุประสงคข์ องการฝึกงาน
1.3 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั จากการฝกึ งาน
1.4 ระยะเวลาการฝกึ งาน

บทที่ 2 เอกสารและการบรู ณาการวิชาการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
2.1 วิชามนษุ ยสมั พันธ์
2.1.1 หลกั การมมี นษุ ย์สัมพันธ์
2.1.2 มนุษย์สัมพันธใ์ นการทำงาน
2.1.3 การบรูณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ 3 D

บทท่ี 3 ขัน้ ตอนการฝึกงาน 6
3.1 การดำเนินการก่อนออกฝกึ งาน
3.2 การดำเนินการระหวา่ งฝึกงาน
3.3 การดำเนินการเมอ่ื สน้ิ สดุ ฝกึ งาน

สารบญั (ต่อ) ง

เรือ่ ง หนา้

บทท่ี 4 ผลของการฝกึ งาน 7
4.1 การบันทึกงานในแต่ละสปั ดาห์ 20
4.2 ผลการฝึกงานในแตล่ ะสปั ดาห์
22
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และ ขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรุปผลการฝึกงาน
5.2 ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากการฝึกงาน
5.3 ปญั หาอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ
5.3.1 ปัญหาอุปสรรคทพี่ บ
5.3.2 ข้อเสนอแนะในการนำวชิ าความรู้จากการฝึกงาน
ไปประกอบอาชพี

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประวัตผิ ู้ฝกึ งาน
ภาคผนวก ข บัญชลี งเวลาการปฏบิ ัตงิ าน
ภาคผนวก ค ภาพหนว่ ยงาน/การปฏิบตั ิงาน

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของการฝึกงาน
การฝึกงานเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญ

สถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ปัญหา ซ่ึงจัดดําเนินการโดยความร่วมมือ
ระหว่างสถานศึกษากับภาคการผลิตและหรือภาคบริการ หลังจากที่ผู้เรยี นได้เรียนรู้ภาคทฤษฎีและการ
ฝกึ หัดหรือฝึกปฏบิ ัติเบื้องต้นในสถานศึกษาแล้วระยะเวลาหน่ึง ทั้งน้ี เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สมั ผัสกับ
การปฏิบัติงานอาชีพ เครื่องมือเคร่ืองจักร อุปกรณ์ที่ทันสมัย และบรรยากาศการทํางานทางธุรกิจที่ต้อง
แข่งขันกันในการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของงาน รวมทั้งการทํางานร่วมกัน ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้คิดเป็น ทําเป็นและเกิดการใฝ่รู้อย่าง ต่อเน่ือง
ตลอดจนเกิดความม่ันใจและเจตคติท่ีดีในการทํางานและการประกอบอาชีพอิสระ เพ่ือให้เป็น ไปตาม
จุดมุ่งหมายของการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
จงึ ได้กําหนดหลักการฝึกงาน ดงั น้ี

1. เปน็ การจดั ฝึกประสบการณ์งานอาชพี ให้กับผู้เรียนในระบบที่เนน้ การศกึ ษาในสถานศึกษาเป็น
หลัก

2. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สูง

3. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพ โดยเน้นการสร้างระบบเครือข่ายและการ มีส่วนรวมใน
การจัดการอาชีวศึกษากับสถานประกอบการ ชุมชน ทองถ่ิน และเครือข่ายความ ร่วมมือท้ังในประเทศ
และตา่ งประเทศ ทงั้ น้ี ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา

4. เปน็ การจัดฝึกประสบการณ์งานอาชพี ที่ใหค้ วามสําคญั ในการพัฒนาความรู้ความสามารถ และ
สมรรถนะในการปฏิบัติงานเพ่ือการนําไปสู่การประกอบอาชีพ ท้ังการจ้างงาน และการประกอบอาชีพ
อสิ ระ

ดังนน้ั ขา้ พเจา้ จึงได้เขา้ ฝึกงาน ณ บริษัท เอพพี ี ดีเวลลอ็ ปเม้นท์ จํากดั ซง่ึ ได้รบั ผิดชอบงาน
ด้าน ทดสอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพราะจะทำให้รู้ถึงสภาพการทำงานด้าน คอมพิวเตอร์ ว่ามีขั้นตอน
การทำงานอย่างไร การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ได้อย่างไร การรู้ถึงปัญหาที่เกิดข้ึนใน
ระหว่างการทำงานและจะหาแนวทางในการแก้ไขปญั หาท่เี กิดขึ้นอย่างไร อันนำไปสู่การฝึกประสบการณ์
วชิ าชพี ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพและบรรลุจุดม่งุ หมายของสาขาวิชาท่ีกำลังศึกษาอยู่ โดยนำความรู้ทเ่ี รียนมาใชใ้ น
การฝึกงานอย่างแทจ้ รงิ

2

1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการฝึกงาน
1. เพ่อื ให้บรรลตุ ามวัตถุประสงคข์ องรายวชิ าฝกึ งาน
2. เพื่อนำความรู้ ความสามารถจากการเรยี นมาประยกุ ตใ์ ช้ในการทำงานจริง
3. เพื่อใหม้ ที กั ษะและประสบการณ์ในการทำงาน ณ สถานท่จี รงิ
4. เพอ่ื ศึกษาขั้นตอนของการทำงานของสถานประกอบการจริง
5. เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษากําหนด

1.3 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั จากการฝึกงาน
ดา้ นผเู้ รยี น
1. ได้รบั ประสบการณจรงิ ตามสาขาวชิ าทีเ่ รียน
2. ได้ฝกึ ทักษะวชิ าชพี และทกั ษะชีวติ มคี วามมั่นใจในการปฏิบัตงิ านมากข้นึ
3. สามารถคิดเป็น ทําเปน็ จัดการและแก้ปญั หาได้
4. มบี ุคลกิ ภาพ เจตคติและกจิ นิสยั ทด่ี ีในการทำงานอาชีพ
5. มขี อ้ มูลในการเลือกสายงานเพ่ือการประกอบอาชีพ
ด้านสถานศกึ ษา
1. สามารถผลิตผู้สําเร็จการศึกษาทมี่ คี ุณภาพสอดคลองกับความต้องการของตลาดแรงงาน
2. เกดิ ความร่วมมือในการพัฒนาทางวชิ าการ พัฒนาหลกั สตู ร พัฒนางานวิจัย ฯลฯ
3. บุคลากรได้เรียนรู้ระบบการทํางานในสถานประกอบการ
4. มขี ้อมูลในการแนะแนวการเลอื กสายงานเพอ่ื การประกอบอาชีพแก่ผ้เู รยี น
ด้านสถานประกอบการ
1. มีสว่ นรวมในการจัดการอาชวี ศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ
2. มโี อกาสในการคัดเลือกบคุ ลากรทมี่ ีคณุ ภาพตามความต้องการโดยไม่ตอ้ งฝึกเพิม่ เติม
3. ครูฝึก ผู้ควบคุมการฝึกได้เพิม่ ทักษะในการสอนงาน
4. ได้กาํ ลังคนเพอื่ สนับสนุนงานของสถานประกอบการ
5. พนกั งานมีความกระตือรอื รน้ ในการพฒั นาตนเอง

1.4 ระยะเวลาการฝึกงาน
ระยะเวลาฝึกงาน ต้ังแต่วนั ที่ 23 เดอื น พฤษจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงวนั ท่ี 30 เดอื น ตลุ าคม

พ.ศ. 2564 รวมระยะเวลา 223 วัน เป็นจำนวน 1779 ชัว่ โมง โดยฝึกงานในวนั จันทรถ์ งึ วันเสาร์
ตัง้ แตเ่ วลา 08.30 น. ถงึ 17.30 น. วันละ 8 ชั่วโมง เป็นจำนวน 50 สปั ดาห์

3

บทท่ี 2

เอกสารและการบูรณาการวชิ าการท่ีเก่ยี วข้อง

ในการฝึกงานตามหลักสูตรวิชาชีพชั้นสูง ข้าพเจ้าได้ศึกษาวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และได้
ดำเนินการฝึกงาน ซึ่งสถานท่ีในการฝึกงานของข้าพเจ้าคือบริษัท เอพีพี ดีเวลล็อปเม้นท์ จํากัด ต้ังอยู่ที่
0/1 หมู่ 3 40/1 หมู่ที่ 3 ถนนสุขาประชาสรรค์ 3 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 ตลอด
ระยะเวลาการฝึกงานข้าพเจ้าได้บูรณาการการฝึกงาน ให้สอดคล้องกับสาขาวิชาท่ีกำลังศึกษา และ
รายวชิ าดงั ตอ่ ไปน้ี

• วชิ ามนษุ ยสมั พนั ธ์
• หลกั การมมี นุษยสมั พนั ธ์
มนุษยสัมพันธ์ คือ การติดต่อเก่ียวข้องระหว่างมนุษย์ด้วยสัมพันธภาพอันดีกับบุคคลอ่ืน

เพื่อให้ได้มาซ่ึงความรักใครน่ ับถอื และความรว่ มมอื ทด่ี ีตอ่ กนั

มนุษยสัมพันธ์เป็นเร่ืองราวท่ีว่าด้วยพฤติกรรมของบุคคลที่มาเกี่ยวข้องกันในการทำงานใน
องค์กรหรอื หน่วยงาน เพ่ือให้การทำงานดำเนินไปได้อย่างราบร่ืน ความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์ในการ
ทำงานก็คือ สร้างความราบรื่นในการทำงานร่วมกัน สร้างความเข้าใจอันดีและความสามัคคี ก่อให้เกิด
ความรกั ใคร่และความสำเร็จในการทำงานร่วมกัน เป็นปัจจยั ที่ช่วยเพ่ิมผลผลิต และเป็นเครื่องมือช่วยใน
การแก้ปัญหาและขจดั ความขดั แยง้

หลกั ของมนุษยสัมพนั ธค์ อื การตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ โดยใช้หลักปฏบิ ัติท่ีว่าเมื่อ
เราต้องการสิ่งใด ผู้อื่นก็มีความต้องการสิ่งนั้นเช่นกัน ส่วนในด้านจิตใจก็ให้ยึดหลักท่ีว่าเอาใจเขามาใส่ใจ
เรา โดยมนุษยสัมพันธ์นั้นเก่ียวข้องศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์การแพทย์ จิตวิทยา จิต
วเิ คราะห์ และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

• มนษุ ยสมั พันธใ์ นการทำงาน
การสร้างมนุษยสัมพันธ์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก เม่ือทำได้แล้วจะอำนวยประโยชน์ให้กับการ

ดำรงชวี ิต ครอบครวั และการทำงาน สำหรบั ในด้านการทำงานน้นั มีขอ้ ทค่ี วรปฏบิ ัตคิ ือ
การสร้างมนุษยสัมพันธก์ บั เพอ่ื นรว่ มงาน การสรา้ งมนษุ ยสมั พันธท์ ด่ี กี ับบุคคลในองค์กร มี

องค์ประกอบที่สำคัญคือ การสร้างความเชื่อมั่นให้กับเพ่ือนร่วมงาน การเอาใจใส่เพ่ือนร่วมงาน การ
ปรับตัวเองให้เขา้ ได้กบั เพ่ือนร่วมงาน

การควบคุมพฤติกรรมและเจตนารมณ์ผู้อื่น เมื่อต้องการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับเพื่อน
ร่วมงานมีส่งิ ท่ีควรต้องปฏิบัติคือ การสร้างความประทับใจให้กับเพื่อนร่วมงาน การสร้างความเป็นมิตร
มองหาส่วนดีและยอมรับความสามารถของเพ่ือนร่วมงาน คำนึงถึงเสมอว่าเพื่อนร่วมงานทุกคนเป็นผู้มี
คุณค่า การสั่งหรอื ติดต่องานไม่ควรใช้วธิ พี ูดผ่านกับคนอืน่

4

วธิ ีการสร้างเสน่ห์ในบุคลิกภาพ การเป็นคนมีเสน่ห์จะช่วยให้บุคคลท่ีอยู่รอบข้างอยากเข้า
มาชิดใกล้ และปรารถนาจะรว่ มงานด้วย การสร้างเสน่ห์สามารถทำได้โดย การใช้น้ำเสียงหรอื คำพูด การ
แสดงออกทางร่างกาย การใช้ภาษากายท่ีเหมาะสม การพัฒนาบุคลิกภาพให้สง่างาม การแต่งกายให้
เหมาะสมกบั กาลเทศะและการมีความมัน่ ใจในตนเอง

การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา การปฏิบัติงานในองค์กรผู้บังคับบัญชาและ
ผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องการสื่อสารเพ่ือร่วมกันดำเนินงานให้บรรลุภารกิจขององค์กร โดย
ผู้บังคับบัญชาจะทำหน้าที่อำนวยการให้นโยบายและข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้องและเหมาะสมแก่พนักงาน
และในทางตรงกันข้ามก็ต้องรับฟังข่าวสารข้อมูล ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของพนักงาน เพ่ือให้
สามารถประสานงานในการทำงานร่วมกันได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ นอกจากนี้ในการวินจิ ฉัยตดั สินใจกเ็ ป็น
หน้าท่ีๆสำคัญประการหน่ึงของผู้บังคับบัญชาและเป็นศิลปะอันหน่ึงในการสร้างความสัมพันธ์กับ
ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา ผู้บริหารควรต้องรับผิดชอบต่อการตัดสนิ ใจและการวินิจฉัยสั่งการทเ่ี กิดขนึ้ ภาระหนา้ ที่
สำคัญอีกอย่างหนึง่ ก็คอื การสง่ั การ โดยในการสั่งการน้นั สามารถทำได้ในหลายรูปแบบ เชน่ การสัง่ งานด้วย
วาจาและการส่ังงานเป็นลายลกั ษณ์อักษร ซึ่งตอ้ งเลอื กใช้ให้เหมาะสม และยังสามารถส่งั โดยใช้การบังคับ
หรือออกคำส่ัง การส่ังงานแบบขอรอ้ ง การส่ังงานแบบแนะนำ การสั่งงานแบบอาสาสมคั ร ซ่ึงก็ขึ้นอยู่กับ
ว่าตัวผู้บริหารจะเลือกใชก้ ารส่ังงานแบบใด

หลักปฏิบัติในการเป็นผชู้ ่วยท่ีดี การปฏิบัติตัวเปน็ ผู้ช่วยท่ีดีน้ันจะใช้หลัก 3 ประสานก็คือ มือดี
ใจดี ความคิดดี ซึง่ มือดีก็คือมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพและลักษณะท่าทางดี ใจดี
ก็คือมีความม่ันคงทางจิตใจ มีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ในงาน มีความขยันหมั่นเพียรและอดทน ส่วนคิด
ดีก็คือ มีความคิดริเร่ิม มีความเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี รู้จักกาลเทศะ รู้จักช่องทางในการ
ติดตอ่ สอ่ื สารและเป็นผู้รจู้ กั ประมาณตน

ข้าพเจ้าได้นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ
ปฏิบัติงาน ได้แก่ เป็นผู้มีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ในงาน ตรงต่อเวลา ย้ิมแย้มแจ่มใส อ่อนน้อม
ถ่อมตน อาสาทำงาน และไม่เก่ียงงาน

5

• วชิ าคอมพวิ เตอร์พวิ เตอร์เพ่อื งานอาชพี
• โปรแกรม Microsoft Word
• โปรแกรม Microsoft Excel
• โปรแกรม Microsoft PowerPoint.

• การบรูณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ 3 D

การฝึกงานในคร้ังน้ี ขา้ พเจ้าไดน้ ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ดงั นี้

กิจกรรม ความพอประมาณ ความมเี หตุมผี ล มภี มู คิ มุ้ กันทีด่ ใี นตวั

พิ ม พ์ ง า น ต า ม ที่ ไ ด้ รั บ ใช้กระดาษพมิ พถ์ ูกตอ้ ง เพ่มิ พนู ทักษะอาชีพ สามารถวางแผนการ

มอบหมาย และไม่ส้ินเปลือง ทำงานได้อยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

ถ่ายเอกสาร ใชก้ ระดาษรีไซเคลิ กับ เพ่ิมพูนทักษะอาชีพ รู้จกั พอเพยี งในการใช้

เอกสารทีไ่ ม่สำคญั ทรพั ยากร

• การบรู ณาการ 3 D

• ด้านประชาธปิ ไตย (Democracy)

ข้าพเจา้ ทำงานตามหนา้ ท่ีทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากหัวหน้างาน โดยมีการวางแผนการ

ทำงานด้วยความริเรมิ่ สร้างสรรค์ และมีการแสดงความคิดเหน็ ใหข้ ้อเสนอแนะตา่ ง ๆ ตามขอบเขตงานท่ี

ทำ

• ดา้ นคุณธรรมและความเปน็ ไทย (Decency)

ข้าพเจา้ จะแสดงความเคารพตอ่ บคุ ลากรในหน่วยงาน ทั้งระดับหัวหน้างาน และ

เจ้าหนา้ ที่โดยจะยกมือไหว้และกล่าวคำวา่ สวัสดีต่อหวั หน้างาน และเพอ่ื นรว่ มงานทุกครง้ั เม่ือไปถึงที่

ทำงาน และหลังเลิกงาน และจะแต่งกายดว้ ยชุดนักเรยี นทีถ่ กู ระเบยี บของวทิ ยาลัยไปฝกึ งาน

• ด้านภมู คิ มุ้ กนั ภัยจากยาเสพตดิ (Drug Free)

ข้าพเจา้ ไมย่ งุ่ เก่ยี วกับยาเสพติด เพราะยาเสพติดทำให้รา่ งกายทรุดโทรม สมองไม่

แจ่มใส ขาดสติ และเป็นเรอื่ งทผี่ ิดกฎหมายดว้ ย

6

บทท่ี 3

ขัน้ ตอนการฝึกงาน

ในการดำเนินการฝึกงานตามหลักสตู รวชิ าชพี ชัน้ สูง รายวิชาฝกึ งาน รหสั วชิ า 30204-8002
ข้าพเจ้าไดด้ ำเนนิ การตามขนั้ ตอนต่อไปนี้

• การดำเนนิ การก่อนออกฝึกงาน
• การดำเนินการระหวา่ งฝกึ งาน
• การดำเนินการเมื่อสนิ้ สุดฝึกงาน
ดงั มรี ายละเอียดดังน้ี

• การดำเนินการกอ่ นออกฝึกงาน
• ศึกษาข้อมลู ตา่ ง ๆ เกีย่ วกับสถานประกอบการที่จะไปฝกึ งานจากอาจารย์ทป่ี รกึ ษา และงาน
อาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี และรนุ่ พ่ี
• ศึกษาเสน้ ทางการเดินทางจากบา้ นไปที่ทำงาน โดยคำนงึ ถึงความสะดวก และประหยัด
• ศกึ ษางานและวิธีการทำงานในสถานประกอบการ โดยคำนึงถงึ การปฏบิ ัติงานให้ตรงกับ
รายวิชาที่เรียนให้มากที่สดุ เพ่อื จะได้เพ่มิ ประสบการณ์ในการทำงาน
• ตดิ ต่อสถานประกอบการด้วยตัวเอง เพื่อขอเข้าฝึกงาน
• แจ้งขอ้ มูลการติดต่อสถานประกอบการให้หวั หนา้ แผนกวิชาทราบ
• นำหนังสอื ขอความอนุเคราะหฝ์ กึ งานไปให้สถานประกอบการ และนำใบตอบรับการฝึกงานมา
สง่ ให้กบั งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพอ่ื ออกหนงั สือสง่ ตวั ไปฝึกงาน
• เขา้ รับการปฐมนิเทศก่อนออกฝกึ งาน
• เข้ารบั การฝึกงานตามวนั เวลาทกี่ ำหนด

• การดำเนนิ การระหวา่ งฝึกงาน
• ลงชื่อปฏิบัตงิ านทส่ี ถานประกอบการกอ่ นเวลาเขา้ งาน อยา่ งน้อย 15 นาที
• รอฟงั คำสง่ั จากผู้ควบคมุ การฝึกงาน
• ปฏิบตั งิ านตามคำสงั่ ของผ้คู วบคุมการฝกึ งาน
• เกบ็ งาน ดูแลความสะอาดของโตะ๊ ทำงาน
• เลิกงานตามเวลาทสี่ ถานประกอบการกำหนด

• การดำเนินการเมื่อสน้ิ สดุ ฝกึ งาน
• รายงานตวั พร้อมสง่ รายงานการฝกึ งานและเอกสารตา่ งๆ ที่เกี่ยวกบั การฝกึ งาน
• เข้ารับการสมั มนาฝกึ งาน เพ่ือนำเสนอผลการฝึกต่อคณะกรรมการ

7

บทที่ 4
ผลของการฝึกงาน

ในการฝกึ งานของข้าพเจ้า นายจกั ษ์พงษ์ สมจนั ทร์ ไดฝ้ กึ ปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการ
บริษทั เอพีพี ดีเวลลอ็ ปเมน้ ท์ จาํ กัดซ่งึ ได้ปฏิบตั ิงานตัง้ แตว่ ันท่ี 23 พฤษจกิ ายน 2563 ถงึ วันที่
30 เมษายน 2564 ดังรายการปฏิบตั ิงานดงั นี้

• การบนั ทกึ งานในแต่ละสัปดาห์
• ผลการฝึกงานในแต่ละสัปดาห์
ดังมรี ายละเอียดดังนี้

• การบนั ทึกงานในแต่ละสปั ดาห์
4.1.1 การปฏบิ ัตงิ านในสปั ดาหท์ ี่ 1 ระหว่างวนั ท่ี 23 พฤษจิกายน 2563 ถงึ วนั ที่
27 พฤษจิกายน 2563

มีรายการปฏิบตั ดิ ังนี้
รบั ใบซเี รียลตดิ หลงั เครือ่ งแทบ็ เลต็ เทสโน๊ตบุค๊ และเทสเครือ่ ง all in one ต้ังค่าเร่ิมตน้ ทำงานในแทบ็

เลต็ และใส่ซิมพรอ้ มต้ังคา้ ซมิ เปน็ เวลา 3 วนั
4.1.2 การปฏิบตั ิงานในสปั ดาห์ท่ี 2 ระหวา่ งวันท่ี 30 พฤษจิกายน 2563 ถงึ วนั ที่ 4 ธันวาคม 2563

มีรายการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
ตงั้ คา่ เริ่มต้นทำงานในแท็บเลต็ และใสซ่ มิ พร้อมตงั้ ค้าซิม เปน็ เวลา 5 วัน
4.1.3 การปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ี่ 3 ระหว่างวนั ที่ 7 ธนั วาคม 2563 ถงึ วนั ที่ 11 ธนั วาคม 2563

มีรายการปฏบิ ัติดังนี้
วนั หยุดชดเชยเป็นเวลา 3วนั
ตง้ั ค่าเรม่ิ ต้นทำงานในแท็บเล็ต และใสซ่ ิมพร้อมตั้งคา้ ซิม เป็นเวลา 2 วนั
4.1.4 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ี่ 4 ระหว่างวนั ท่ี 14 ธนั วาคม 2563 ถึงวันที่ 18 ธนั วาคม 2563

มรี ายการปฏบิ ตั ิดังนี้
ตง้ั คา่ เรมิ่ ตน้ ทำงานในแท็บเล็ต และใสซ่ มิ พร้อมตัง้ ค้าซมิ เป็นเวลา 5 วัน
4.1.5 การปฏิบัตงิ านในสปั ดาห์ท่ี 5 ระหวา่ งวนั ที่ 21 ธันวาคม 2563 ถึงวนั ที่ 25 ธนั วาคม 2563

มีรายการปฏิบตั ิดงั น้ี
เทสสเปคเครือ่ งโน้ตบุก๊ รุน่ HP ตามใบประกอบเปน็ เวลา 5 วนั
4.1.6 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ี่ 6 ระหว่างวนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2564 ถึงวันที่ 1 มกราคม 2564

มรี ายการปฏิบตั ดิ งั นี้
เทสสเปคเครือ่ งโนต้ บกุ๊ รุ่น HP ตามใบประกอบเป็นเวลา 2 วนั
วันหยดุ ชดเชยวันขึ้นปีใหมเ่ ป็นเวลา 3วัน

8

4.1.7 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาหท์ ี่ 7 ระหวา่ งวันที่ 4 มกราคม 2564 ถึงวันท่ี 8 มกราคม 2564
มีรายการปฏบิ ัติดังนี้

เทสสเปคเคร่ืองโนต้ บ๊กุ รุน่ HP ตามใบประกอบเปน็ เวลา 3 วัน
ประกอบเครื่อง PC ตามใบประกอบ
หัวหนา้ แผนกนัดประชุมเรอ่ื งการขาย

4.1.8 การปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ี่ 8 ระหว่างวนั ท่ี 11 มกราคม 2564 ถงึ วันที่ 15 มกราคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัติดงั นี้

เทสสเปคเครอ่ื งโน้ตบ๊กุ รุน่ HP ตามใบประกอบเป็นเวลา 4 วัน
ลากจิ

4.1.9 การปฏบิ ัติงานในสัปดาห์ที่ 9 ระหว่างวันท่ี 18 มกราคม 2564 ถงึ วนั ที่ 22 มกราคม 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดงั นี้

เทสสเปคเครอ่ื งโนต้ บุ๊ก รนุ่ HP ตามใบประกอบเป็นเวลา 5 วัน
4.1.10 การปฏิบตั งิ านในสปั ดาหท์ ี่ 10 ระหวา่ งวันที่ 25 มกราคม 2564 ถงึ วันท่ี 29 มกราคม 2564

มรี ายการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
เทสสเปคเคร่อื งโน้ตบุ๊ก รุ่น HP ตามใบประกอบเป็นเวลา 5 วนั

4.1.11 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 11 ระหวา่ งวนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถงึ วันท่ี
5 กมุ ภาพันธ์ 2564
มีรายการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
ตรวจนับจอคอมพิวเตอร์และตรวจสอบรอยบนจอภาพและเช็คสภาพจอคอมว่าใช้ไดด้ ีหรือไม่ แล้วทำ
การแยกประเภทจอคอมพิวเตอรจ์ ากนัน้ เก็บลงกล่องให้เหมือนเดิมแลว้ ท่ีสำคัญตอ้ งตรวจสอบสภาพของ
ภายกล่องให้ดเี ป็นเวลา 3 วนั
เทสสเปคเคร่อื ง PC ตามใบประกอบแลว้ ตรวจสอบสเปคเครือ่ ง PC คอมพิวเตอร์เปน็ เวลา 2 วนั
4.1.12 การปฏบิ ัตงิ านในสัปดาห์ท่ี 12 ระหวา่ งวนั ที่ 8 กุมภาพนั ธ์ 2564 ถึงวันที่
12 กุมภาพนั ธ์ 2564
มีรายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
เทสสเปคเครอื่ ง PC ตามใบประกอบแลว้ ตรวจสอบสเปคเครื่อง PC คอมพวิ เตอร์เปน็ เวลา 5 วัน
4.1.13 การปฏบิ ัตงิ านในสปั ดาหท์ ่ี 13 ระหวา่ งวนั ท่ี 15 กมุ ภาพันธ์ 2564 ถึงวันที่
19 กุมภาพันธ์ 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
เทสสเปคเคร่อื ง PC ตามใบประกอบแลว้ ตรวจสอบสเปคเครอื่ งคอมพิวเตอร์เป็นเวลา 5 วนั

9

4.1.14 การปฏบิ ัติงานในสปั ดาหท์ ่ี 14 ระหวา่ งวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ถึงวันที่
26 กุมภาพนั ธ์ 2564
มีรายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
เทสสเปคเคร่ือง PC ตามใบประกอบแล้วตรวจสอบสเปคเครื่องคอมพวิ เตอร์เปน็ เวลา 4 วนั
วันหยดุ ชดเชย
4.1.15 การปฏบิ ัติงานในสปั ดาห์ที่ 15 ระหว่างวันท่ี 1 มีนาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 5 มนี าคม 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
เทสสเปคเครอ่ื ง PC ตามใบประกอบแลว้ ตรวจสอบสเปคเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เป็นเวลา 5 วัน
4.1.16 การปฏบิ ตั งิ านในสปั ดาห์ท่ี 16 ระหวา่ งวันที่ 8 มนี าคม 2564 ถงึ วันที่ 12 มีนาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัติดงั นี้
พอยต่างๆของ PC แล้วกท็ ำการตรวจเช็คสเปคเครือ่ ง สุดท้ายประกอบเขา้ กลอ่ งตรวจสอบ
Seral Numbe rแล้วก็คีย์เลข Seral Numberเป็นเวลา 4 วัน
4.1.17 การปฏบิ ตั ิงานในสัปดาหท์ ี่ 17 ระหวา่ งวันที่ 15 มนี าคม 2564 ถงึ วนั ที่ 19 มีนาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
ตรวจสอบ Seral Numberแล้วกค็ ีย์เลข Seral Number ยกและทำความสะอาดเคร่อื งปรน้ิ เตอร์แล้ว
ทำการเทคเครื่องปรน้ิ ว่าใชง้ านได้ตามปกตแิ ละเก็บลงกลอ่ งใหเ้ รยี บรอ้ ยเปน็ เวลา 4 วนั
4.1.18 การปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ี่ 18 ระหว่างวนั ท่ี 22 มีนาคม 2564 ถึงวนั ที่ 26 มนี าคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัติดงั นี้
ยกและทำความสะอาดเครอ่ื งปร้ินเตอรแ์ ลว้ ทำการเทคเครือ่ งปริ้นว่าใช้งานไดต้ ามปกตแิ ละเกย็ ใส่กล่อง
ใหเ้ รียบร้อยเป็นเวลา 3 วัน
ลาเพ่อื นเข้าวิทยาลยั
ตรวจสอบ Seral Numberแล้วกค็ ีย์เลข Seral Numbe
4.1.19 การปฏบิ ัติงานในสปั ดาห์ที่ 19 ระหวา่ งวันที่ 29 มีนาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 31 มนี าคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
เทสเครื่อง all in one ตามใบประกอบแบ้เกบ็ ลงกลอ่ งเปน็ เวลา 2 วัน
ลากิจ
4.1.20 การปฏิบตั ิงานในสัปดาหท์ ่ี 20 ระหว่างวนั ที่ 1 เมษายน 2564 ถึงวนั ที่ 2 เมษายน 2564
มีรายการปฏิบตั ดิ ังน้ี
เทสเครือ่ ง all in one ตามใบประกอบเป็นเวลา 2 วัน
4.1.21 การปฏิบตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 21 ระหว่างวนั ท่ี 5 เมษายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 9 เมษายน 2564
มรี ายการปฏิบตั ิดังน้ี
เทสเคร่อื ง all in one ตามใบประกอบเปน็ เวลา 4 วนั
วันหยดุ

10

4.1.22 การปฏบิ ัติงานในสปั ดาห์ที่ 22 ระหว่างวันที่ 12 เมษายน 2564 ถึงวนั ท่ี 16 เมษายน 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดังน้ี

เทสเครือ่ ง all in one ตามใบประกอบเปน็ เวลา 2 วัน
วนั หยดุ สงกรานตเ์ ปน็ เวลา 3 วนั

4.1.23 การปฏบิ ัตงิ านในสปั ดาหท์ ่ี 23 ระหว่างวันที่ 19 เมษายน 2564 ถงึ วันท่ี 23 เมษายน 2564
มีรายการปฏิบัติดังนี้

เทสเครื่อง Pc รนุ่ Dell Pc Optiplex 5080ตามใบประกอบเปน็ เวลา 5 วนั
4.1.24 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ี่ 24 ระหว่างวนั ที่ 24 เมษายน 2564 ถงึ วันที่ 28 เมษายน 2564

มีรายการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
เทสสเปคโนต๊ บุ๊ค รนุ่ Lenovo ตามใบประกอบเป็นเวลา 5 วัน
4.1.25 การปฏิบัติงานในสัปดาห์ท่ี 25 ระหว่างวันท่ี 3 พฤษภาคม 2564 ถงึ วนั ที่
7 พฤษภาคม 2564

มรี ายการปฏบิ ัตดิ งั นี้
วนั หยดุ เปน็ เวลา 2 วนั
เทสสเปคโน๊ตบุ๊ค รนุ่ Lenovo ตามใบประกอบเปน็ เวลา 2 วัน
เทสเครอ่ื งปรน้ิ ตามใบประกอบ เดนิ ทางไปสง่ คอมพิวเตอร์ ท่ีสมุทปราการ
4.1.26 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ่ี 26 ระหว่างวนั ที่ 10 พฤษภาคม 2564 ถงึ วนั ที่
14 พฤษภาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัติดงั นี้
เทสสเปคโนต๊ บุ๊ค รุ่น Lenovo ตามใบประกอบเป็นเวลา 5 วัน
4.1.27 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาหท์ ่ี 27 ระหวา่ งวันท่ี 17 พฤษภาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี
21 พฤษภาคม 2564

มรี ายการปฏิบตั ิดงั น้ี
เทสสเปคโนต๊ บุ๊ค รุ่น Lenovo ตามใบประกอบเปน็ เวลา 5 วนั
4.1.28 การปฏบิ ัตงิ านในสัปดาห์ท่ี 28 ระหวา่ งวันท่ี 24 พฤษภาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี
28 พฤษภาคม2564

มรี ายการปฏบิ ัตดิ ังนี้
เทสเครื่องปริน้ และเขยี นว่าใบวา่ เทสว่าเคร่ืองนใี้ ช้งานไดห้ รือไมไ่ ดเ้ ปน็ เวลา 5 วัน
4.1.29 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 29 ระหวา่ งวันท่ี 31 พฤษภาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 4 มิถุนายน 2564

มีรายการปฏิบัตดิ ังนี้
เทสเครื่องปริน้ และเขียนวา่ ใบว่าเทสวา่ เคร่ืองนใี้ ช้งานได้หรือไมไ่ ดเ้ ปน็ เวลา 5 วนั

11

4.1.30 การปฏบิ ตั ิงานในสปั ดาห์ท่ี 30 ระหวา่ งวันที่ 7 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ วันที่ 11 มิถุนายน 2564
มีรายการปฏิบตั ิดังนี้

เทสเคร่ืองปริน้ และเขยี นว่าใบวา่ เทสว่าเคร่อื งนใี้ ชง้ านได้หรือไม่ได้เปน็ เวลา 5 วัน
4.1.31 การปฏบิ ัติงานในสปั ดาหท์ ี่ 31 ระหวา่ งวนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 18 มิถุนายน 2564

มรี ายการปฏิบตั ดิ ังนี้
เช็ดทำความสะอาดเครื่องคอมพวิ เตอรแ์ ละเช็ควา่ เครอ่ื งใช้งานไดป้ กติหรอื ไมเ่ ป็นเวลา 5วนั
4.1.32 การปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ที่ 32 ระหว่างวันท่ี 21 มิถนุ ายน 2564 ถึงวันที่ 27 มิถนุ ายน 2564

มรี ายการปฏบิ ตั ดิ งั นี้
เช็ดทำความสะอาดเครอื่ งคอมพวิ เตอร์และเช็คว่าเครื่องใชง้ านได้ปกตหิ รือไม่เปน็ เวลา 5วัน
4.1.33 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ่ี 33 ระหว่างวันที่ 28 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2564

มรี ายการปฏิบตั ิดงั น้ี
เช็ดทำความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์และเช็คว่าเครอ่ื งใช้งานได้ปกตหิ รือไม่เป็นเวลา 5วนั
4.1.34 การปฏบิ ตั ิงานในสัปดาห์ท่ี 12 ระหวา่ งวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 9 กรกฎาคม 254

มีรายการปฏิบัตดิ งั น้ี
เช็ดทำความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์และเช็คว่าเครือ่ งใชง้ านได้ปกตหิ รือไมเ่ ป็นเวลา 5วนั
4.1.35 การปฏบิ ัติงานในสัปดาห์ที่ 35 ระหว่างวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่
16 กรกฎาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
เทสเคร่ือง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครื่องเป็นเวลา 5 วัน
4.1.36 การปฏิบัตงิ านในสปั ดาห์ที่ 36 ระหวา่ งวันท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ถงึ วนั ที่
23 กรกฎาคม2564

มีรายการปฏิบัติดังนี้
เทสเครื่อง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเคร่ืองเปน็ เวลา 5 วนั
4.1.37 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาห์ที่ 37 ระหว่างวนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่

30 กรกฎาคม 2564
มีรายการปฏิบัติดงั น้ี

เทสเครอ่ื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครอื่ งเปน็ เวลา 4 วัน
วนั หยุดชดเชยวันอาสาฬหบูชา

4.1.38 การปฏบิ ตั งิ านในสปั ดาห์ท่ี 38 ระหว่างวันท่ี 2 สิงหาคม 2564 ถงึ วันท่ี 6 สิงหาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัติดังนี้
เทสเคร่ือง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเครอ่ื งเป็นเวลา 5 วัน

12

4.1.39 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 39 ระหวา่ งวนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2564 ถงึ วนั ที่ 13 สิงหาคม 2564
มีรายการปฏิบัติดังน้ี

เทสเครือ่ ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครอ่ื งเป็นเวลา 5 วัน
4.1.40 การปฏบิ ัตงิ านในสัปดาหท์ ่ี 40 ระหวา่ งวนั ที่ 16 สิงหาคม 2564 ถงึ วันที่ 20 สิงหาคม 2564
มีรายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
เทสเครอ่ื ง Pc ตามใบประกอบเปน็ เวลา 3 วนั
เทสเคร่ือง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเครอ่ื งเป็นเวลา 2 วัน
4.1.41 การปฏิบัติงานในสัปดาห์ที่ 41 ระหว่างวนั ที่ 23 สิงหาคม 2564 ถงึ วันท่ี 27 สงิ หาคม 2564
มีรายการปฏบิ ัตดิ งั นี้
เทสเครอ่ื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครอ่ื งเป็นเวลา 5 วนั
4.1.42 การปฏิบัตงิ านในสัปดาห์ที่ 42 ระหวา่ งวนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2564 ถงึ วันท่ี 3 กนั ยายน 2564
มีรายการปฏบิ ัติดงั น้ี
เทสเครอ่ื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเครอ่ื งเป็นเวลา 5 วัน
4.1.43 การปฏบิ ัตงิ านในสัปดาห์ที่ 43 ระหว่างวันท่ี 6 กันยายน 2564 ถงึ วันท่ี 10 กนั ยายน 2564
มีรายการปฏิบตั ดิ ังน้ี
เทสเครอ่ื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครอ่ื งเป็นเวลา 5 วัน
4.1.44 การปฏิบัตงิ านในสัปดาห์ที่ 44 ระหว่างวนั ท่ี 13 กนั ยายน 2564 ถึงวนั ที่ 17 กันยายน 2564
มรี ายการปฏิบตั ดิ ังนี้
เทสเครอ่ื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเคร่อื งเป็นเวลา 5 วัน
4.1.45 การปฏบิ ตั งิ านในสปั ดาหท์ ่ี 45 ระหว่างวนั ที่ 20 กนั ยายน 2564 ถึงวันท่ี 24 กนั ยายน 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
เทสเครือ่ ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครื่องเป็นเวลา 5 วนั
4.1.46 การปฏิบัติงานในสปั ดาห์ท่ี 46 ระหวา่ งวนั ท่ี 27 กันยายน 2564 ถงึ วันที่ 1 ตลุ าคม 2564
มีรายการปฏิบตั ดิ งั น้ี
เทสเคร่อื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เคร่ืองเป็นเวลา 5 วัน
4.1.47 การปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ท่ี 47 ระหวา่ งวนั ที่ 4 ตุลาคม 2564 ถงึ วนั ที่ 8 ตุลาคม 2564
มีรายการปฏิบัติดังนี้
เทสเครื่อง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเครอ่ื งเป็นเวลา 5 วนั
4.1.48 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ่ี 48 ระหวา่ งวนั ท่ี 11 ตุลาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2564
มีรายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
เทสเครอ่ื ง all in one ตามใบประกอบและแกะเกบ็ เครอ่ื งเป็นเวลา 5 วนั

13

4.1.49 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาห์ที่ 49 ระหว่างวนั ที่ 18 ตุลาคม 2564 ถงึ วันที่ 22 ตลุ าคม 2564
มรี ายการปฏิบตั ดิ ังน้ี

เทสเครื่อง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเคร่อื งเป็นเวลา 5 วนั
4.1.50 การปฏิบัตงิ านในสปั ดาหท์ ี่ 50 ระหวา่ งวันที่ 25 ตุลาคม 2564 ถึงวันที่ 29 ตลุ าคม 2564

มีรายการปฏบิ ัติดังน้ี
เทสเครอื่ ง all in one ตามใบประกอบและแกะเก็บเครื่องเป็นเวลา 5 วัน

• ผลการฝกึ งานในแตล่ ะสัปดาห์
4.2.1 ผลการปฏิบัติงานในสัปดาห์ที่ 1 ระหว่างวันที่ 23 พฤษจิกายน 2563 ถึงวนั ท่ี
27 พฤษจกิ ายน 2563

มรี ายการปฏบิ ัติดงั น้ี
- รบั ใบซีเรยี ลตดิ หลงั เคร่ืองแท็บเลต็ เทสโนต๊ บุ๊ค และเทสเครอ่ื ง all in one
4.2.2 ผลการปฏิบตั ิงานในสปั ดาห์ที่ 2 ระหว่างวันที่ 30 พฤษจิกายน 2563 ถงึ วันท่ี
4 ธนั วาคม 2563

มีรายการปฏิบตั ิดงั น้ี
- ตง้ั คา่ เริ่มต้นทำงานในแท็บเล็ต และใส่ซมิ
4.2.3 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ี่ 3 ระหว่างวนั ท่ี 7 ธนั วาคม 2563 ถงึ วันท่ี 11 ธนั วาคม 2563

มผี ลการปฏิบัติดังนี้
- ตง้ั คา่ เรม่ิ ต้นทำงานในแท็บเล็ต และใสซ่ ิม
4.2.4 ผลการปฏบิ ัตงิ านในสปั ดาห์ท่ี 4 ระหว่างวนั ที่ 14 ธนั วาคม 2563 ถงึ วันท่ี 18 ธนั วาคม 2563

มผี ลการปฏิบัติดงั น้ี
- ตั้งคา่ เริ่มต้นทำงานในแท็บเล็ต และใสซ่ ิม
4.2.5 ผลการปฏิบัติงานในสัปดาหท์ ่ี 5 ระหว่างวนั ที่ 21 ธนั วาคม 2563 ถึงวันท่ี 25 ธันวาคม 2563

มรี ายการปฏิบตั ดิ ังน้ี
- เทสเครื่องโน๊ตบ๊ตตามใบประกอบ
4.2.6 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาหท์ ี่ 6 ระหว่างวนั ที่ 28 ธนั วาคม 2563 ถึงวนั ที่ 1 มกราคม 2563

มรี ายการปฏิบัติดงั นี้
- เทสเคร่อื งโน๊ตบ๊ตตามใบประกอบ
4.2.7 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ่ี 7 ระหว่างวันท่ี 4 มกราคม 2564 ถึงวันท่ี 8 มกราคม 2564

มีรายการปฏิบตั ดิ ังน้ี
- เทสเครอ่ื งโนต๊ บ๊ตตามใบประกอบ
- ประกอบเครื่อง Pc
- ประชมุ

14

4.2.8 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาห์ที่ 8 ระหว่างวนั ที่ 11 มกราคม 2564 ถึงวนั ที่ 15 มกราคม 2564
มีรายการปฏิบัติดังนี้

- เทสสเปคโน๊บ๊คุ ตามใบประกอบ
4.2.9 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ี่ 9 ระหวา่ งวันท่ี 18 มกราคม 2564 ถงึ วันท่ี 22 มกราคม 2564

มรี ายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
- เทสสเปคโนบ๊ คุ๊ ตามใบประกอบ
4.2.10 ผลการปฏิบัติงานในสัปดาห์ที่ 10 ระหว่างวันท่ี 25 มกราคม 2564 ถงึ วันที่
29 มกราคม 2564

มีรายการปฏบิ ัตดิ งั นี้
- เทสสเปคโนบ๊ ุ๊คตามใบประกอบ
4.2.11 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ่ี 11 ระหวา่ งวันท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2564 ถงึ วันที่
5 กุมภาพนั ธ์ 2564

มรี ายการปฏิบตั ดิ ังน้ี
- ตรวจนับจอคอมพวิ เตอร์และตรวจสอบรอยบนจอภาพ
- เทสเคร่ือง Pc ตามใบประกอบ
4.2.12 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ท่ี 12 ระหว่างวันที่ 8 กมุ ภาพันธ์ 2564 ถงึ วนั ท่ี
12 กุมภาพนั ธ์ 2564

มรี ายการปฏิบัตดิ งั นี้
- เทสเคร่ือง Pc ตามใบประกอบ
4.2.13 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาหท์ ี่ 13 ระหว่างวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ 2564 ถึงวนั ที่
19 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

มีรายการปฏบิ ัติดงั นี้
- เทสเครอื่ ง Pc ตามใบประกอบ
4.2.14 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาห์ที่ 14 ระหวา่ งวนั ที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2564 ถงึ วันท่ี
26 กมุ ภาพันธ์2564

มรี ายการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
- เทสเครือ่ ง Pc ตามใบประกอบ
4.2.15 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาหท์ ี่ 15 ระหว่างวันที่ 1 มนี าคม 2564 ถงึ วันท่ี 5 มนี าคม 2564

มีรายการปฏิบตั ดิ ังนี้
- เทสเครอื่ ง Pc ตามใบประกอบ

15

4.2.16 ผลการปฏิบตั ิงานในสปั ดาห์ท่ี 16 ระหว่างวนั ท่ี 8 มนี าคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 12 มนี าคม 2564
มีรายการปฏบิ ัติดงั นี้
- เทสเครอื่ ง Pc ตามใบประกอบ
- ตรวจสอบ Seral Number

4.2.17 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาหท์ ี่ 17 ระหว่างวันท่ี 15 มีนาคม 2564 ถงึ วันที่ 19 มนี าคม 2564
มีรายการปฏิบัติดงั นี้

- ตรวจสอบ Seral Number
4.2.18 ผลการปฏิบัตงิ านในสปั ดาหท์ ี่ 18 ระหวา่ งวนั ท่ี 22 มีนาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 26 มนี าคม 2564

มีรายการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
- ทำความสะอาดเครือ่ งปร้ินและเช็คสภาพการใชง้ าน
4.2.19 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาหท์ ่ี 19 ระหว่างวนั ท่ี 29 มีนาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2564

มรี ายการปฏิบัตดิ งั นี้
- เทสเครื่อง All in one
4.2.20 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาหท์ ่ี 20 ระหวา่ งวันท่ี 1 เมษายน 2564 ถึงวนั ที่ 2 เมษายน 2564

มีรายการปฏิบตั ดิ ังนี้
- เทสเครื่อง All in one
4.2.21 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาหท์ ่ี 21 ระหวา่ งวันท่ี 5 เมษายน 2564 ถึงวนั ท่ี 9 เมษายน 2564

มรี ายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
- เทสเครื่อง All in one
4.2.22 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ่ี 22 ระหว่างวันท่ี 12 เมษายน 2564 ถึงวันที่
16 เมษายน 2564

มีรายการปฏิบตั ดิ ังนี้
- เทสเคร่อื ง All in one
4.2.23 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ี่ 23 ระหว่างวันที่ 19 เมษายน 2564 ถงึ วนั ที่
23 เมษายน 2564

มีรายการปฏบิ ตั ิดังนี้
- เทสเครอ่ื ง Pc รนุ่ Dell Pc Optiplex 5080
4.2.24 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ท่ี 24 ระหว่างวันท่ี 24 เมษายน 2564 ถงึ วนั ที่
28 เมษายน 2564
มรี ายการปฏิบัติดงั นี้

- เทสสเปคโนต๊ บคุ๊ ร่นุ Lenovo

16

4.2.25 ผลการปฏิบัตงิ านในสปั ดาห์ท่ี 25 ระหวา่ งวนั ที่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึงวันท่ี
7 พฤษภาคม 2564
มีผลการปฏิบัตดิ งั น้ี
- เทสสเปคโน๊ตบคุ๊ รุ่น Lenovo
- เทสเครื่องปรนิ้
4.2.26 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาห์ที่ 26 ระหวา่ งวันท่ี 10 พฤษภาคม 2564 ถึงวนั ที่
14 พฤษภาคม 2564
มีผลการปฏิบัติดงั น้ี
- เทสสเปคโน๊ตบคุ๊ รนุ่ Lenovo
4.2.27 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาห์ที่ 27 ระหวา่ งวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 ถงึ วันที่
21 พฤษภมคม 2564
มรี ายการปฏิบตั ดิ ังนี้
- เทสสเปคโนต๊ บคุ๊ รุ่น Lenovo
4.2.28 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาห์ท่ี 28 ระหว่างวันท่ี 24 พฤษภมคม 2564ถงึ วนั ท่ี
28 พฤษภาคม 2564
มรี ายการปฏิบตั ิดงั น้ี
- เทสเครืองปร้ิน
4.2.29 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ่ี 29 ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 ถึงวันที่
4 มิถุนายน 2564
มีรายการปฏบิ ตั ิดงั นี้
- เทสเคร่อื งปริ้น
4.2.30 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ที่ 30 ระหวา่ งวนั ท่ี 7 มิถุนายน 2564 ถงึ วนั ท่ี
11 มถิ นุ ายน 2564
มีรายการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
- เทสเคร่อื งปร้ิน
4.2.31 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาหท์ ี่ 31 ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน 2564 ถงึ วนั ที่
18 มถิ นุ ายน 2564
มีรายการปฏบิ ตั ิดงั นี้
- เชด็ ทำความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์
4.2.32 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาห์ที่ 32 ระหว่างวนั ท่ี 21 มิถุนายน 2564 ถงึ วนั ที่
27 มถิ นุ ายน 2564
มรี ายการปฏิบัตดิ ังนี้
- เช็ดทำความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์

17

4.2.33 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาหท์ ี่ 33 ระหวา่ งวนั ที่ 28 มิถนุ ายน 2564 ถงึ วันท่ี
2 กรกฎาคม 2564
มรี ายการปฏิบัตดิ ังน้ี
- เช็ดทำความสะอาดเครื่องคอมพวิ เตอร์
4.2.34 ผลการปฏิบตั ิงานในสปั ดาหท์ ่ี 34 ระหว่างวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564 ถึงวันท่ี
9 กรกฎาคม 2564
มีรายการปฏิบัติดงั นี้
- เชด็ ทำความสะอาดเครอ่ื งคอมพิวเตอร์
4.2.35 ผลการปฏิบตั ิงานในสปั ดาหท์ ่ี 35 ระหวา่ งวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่
16 กรกฎาคม 2564
มีรายการปฏิบัติดงั นี้
- เทสเครื่อง All in one

4.2.36 ผลการปฏิบตั ิงานในสปั ดาห์ท่ี 36 ระหวา่ งวนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่
23 กรกฎาคม 2564
มรี ายการปฏิบัตดิ ังน้ี
- เทสเคร่ือง All in one
4.2.37 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาห์ที่ 37 ระหว่างวนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2564 ถงึ วันที่
30 กรกฎาคม 2564
มีรายการปฏบิ ตั ดิ ังนี้
- เทสเครอ่ื ง All in one
4.2.38 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 38 ระหว่างวนั ที่ 2 สงิ หาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี
6 สิงหาคม 2564
มีรายการปฏบิ ัติดังนี้
- เทสเครือ่ ง All in one
4.2.39 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาหท์ ี่ 9 ระหว่างวนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2564 ถึงวนั ท่ี
13 สิงหาคม 2564
มีรายการปฏิบตั ดิ งั นี้
- เทสเคร่ือง All in one
4.2.40 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ่ี 40 ระหวา่ งวันที่ 16 สิงหาคม 2564 ถึงวนั ที่
20 สิงหาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
- เทสเครอ่ื ง Pc
- เทสเครื่อง All in one

18

4.2.41 ผลการปฏิบตั ิงานในสปั ดาห์ที่ 41 ระหวา่ งวันท่ี 23 สิงหาคม 2564 ถึงวนั ท่ี
27 สิงหาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ัติดงั น้ี
- เทสเคร่อื ง All in one
4.2.42 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาหท์ ่ี 20 ระหวา่ งวนั ที่ 30 สิงหาคม 2564 ถงึ วนั ที่
3 กนั ยายน 2564
มีรายการปฏิบตั ิดงั น้ี
- เทสเครื่อง All in one
4.2.43 ผลการปฏิบัติงานในสปั ดาห์ที่ 43 ระหว่างวันท่ี 6 กันยายน 2564 ถึงวันท่ี
.10 กนั ยายน 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
- เทสเครื่อง All in one
4.2.44 ผลการปฏิบัตงิ านในสปั ดาหท์ ่ี 44 ระหว่างวันท่ี 13 กนั ยายน 2564 ถงึ วนั ที่
17 กันยายน 2564
มีรายการปฏิบัตดิ ังนี้
- เทสเคร่ือง All in one
4.2.45 ผลการปฏิบัตงิ านในสัปดาหท์ ่ี 45 ระหว่างวันท่ี 20 กนั ยายน 2564 ถึงวนั ท่ี
24 กนั ยายน 2564
มรี ายการปฏิบตั ิดังนี้
- เทสเครือ่ ง All in one
4.2.46 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ที่ 46 ระหว่างวนั ที่ 27 กนั ยายน 2564 ถงึ วนั ที่
1 ตลุ าคม 2564
มีรายการปฏิบัตดิ งั นี้
- เทสเครอ่ื ง All in one
4.2.47 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาหท์ ่ี 47 ระหวา่ งวนั ท่ี 4 ตลุ าคม 2564 ถึงวันท่ี 8 ตุลาคม 2564
มีรายการปฏบิ ัติดงั นี้
- เทสเครื่อง All in one
4.2.48 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาห์ท่ี 48 ระหวา่ งวนั ท่ี 11 ตุลาคม 2564 ถึงวันท่ี 15 ตลุ าคม 2564
มรี ายการปฏิบัติดังนี้
- เทสเคร่อื ง All in one

19

4.2.49 ผลการปฏิบัตงิ านในสปั ดาหท์ ี่ 49 ระหวา่ งวันท่ี 18 ตลุ าคม 2564 ถึงวันท่ี 22 ตุลาคม 2564
มีรายการปฏบิ ตั ดิ งั นี้

- เทสเครอ่ื ง All in one
4.2.50 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาหท์ ี่ 50 ระหว่างวันที่ 25 ตลุ าคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 29 ตุลาคม 2564

มรี ายการปฏบิ ตั ิดังน้ี
- เทสเคร่อื ง All in one

20

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

• สรุปผลการฝึกงาน
จากการฝึกงานตลอดหลักสูตรวิชาชีพช้ันสูงเป็นระยะเวลา 121 วันตั้งแต่วันที่ต้ังแต่วันท่ี 23

เดือน พฤษจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2564 จากการฝึกงานครั้งน้ี ทำให้
ข้าพเจา้ ได้มคี วามรู้เพ่ิมเติมมากขึ้น และได้มกี ารนำความรู้จากการเรียนวิชาต่าง ๆ ในสาขาวิชา เทคโนโลยี
ธรุ กจิ ดจิ ิทลั มาประยุกตใ์ ช้กับงานท่ที ำ รจู้ ักวิธีการแกป้ ัญหาที่เกดิ ขนึ้ จริง การแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้ และ
การได้รับคำแนะนำจากผู้ควบคุมการฝึกงานเป็นบางครั้ง ทำให้สามารถปฏบิ ัตงิ านไดจ้ ริง ๆ ทำใหข้ ้าพเจ้า
ได้ฝึกการทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น ใหค้ วามเคารพต่อทุกคน รจู้ ักการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ทำให้รู้ระบบ
การทำงานของการปฏบิ ตั ิงานจริง

ดังนั้นการฝึกงานน้ันเราให้ความสำคัญมาก เพราะถือเป็นการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งท่ีช่วยพัฒนา
ความสามารถของเราได้ ได้รู้วา่ ความสามารถทเี่ ราเรียนมามปี ระโยชนต์ อ่ การทำงานมากนอ้ ยเพียงใด เมื่อ
เราสำเร็จการศึกษาไปพร้อมเข้าสู่โลกการทำงาน เราจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่าง
แท้จริง

• ประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการฝกึ งาน
1. ได้นำความรทู้ ่ีได้เรียนมาประยกุ ต์ใชใ้ นการทำงานจรงิ
2. ได้รจู้ ักการทำงานของ บริษัทเอพีพี ดเี วลล็อปเมน้ ท์ จาํ กัดมขี ้ันตอนการทำงานอย่างไร
3. ทำให้เราได้มคี วามรู้ ความอดทน และมคี วามรับผิดชอบต่อตนเอง และหน้าท่ีที่ไดร้ ับ
4. ได้รูถ้ งึ ปญั หาของงานและแนวทางในการแก้ไข
5. ได้ปฏิบัติตามเกณฑ์ก่อนการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรท่ีสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชวี ศกึ ษากาํ หนดไว้

• ปัญหาอปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ
• ปญั หาอุปสรรคทีพ่ บ มีดงั นี้
เป็นงานทตี่ ้องเรียนรู้ใหม่ในบางส่วน ทำให้ต้องศึกษางานในบางส่วนนานกว่าปกติ ช่วงแรกอาจจะยังไม่

เขา้ ใจแต่พอได้ทดลองทำก็ทำออกไดด้ ที เี ดยี ว

21

• ข้อเสนอแนะในการนำวชิ าความรจู้ ากการฝกึ งานไปประกอบอาชีพ
การใช้ความรู้ในรายวิชาทไ่ี ด้เรียนมาไปพฒั นาตนเอง ในทุก ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านความรู้

ความสามารถ การปฏิบัติต่อสังคม ด้านการบริหารงาน และการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั รว่ มกับผู้อื่น ทำให้
ขา้ พเจ้าตอ้ งมคี วามกระตอื รือร้นอย่ตู ลอดเวลา โดยขา้ พเจ้าตอ้ งมีการพัฒนาตนเองให้มคี วามรู้มากยิ่งขึน้
เพราะในปจั จุบันน้ีมีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ขา้ พเจา้ ตอ้ งทันต่อเหตุการณ์ และมีการศึกษาค้นควา้
หาความร้เู ก่ียวกับทกั ษะวิชาชพี เพม่ิ เติมอยูเ่ สมอ เพอื่ ข้าพเจา้ จะไดน้ ำความรู้ไปใช้ในการทำงาน

ดงั นั้น จงึ ขอแนะนำให้รุ่นน้องหรือผู้ที่ศึกษาอยู่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษา การฝึก
ทักษะวิชาชีพเพิ่มเติมใหม้ าก เพ่อื ท่จี ะได้ออกไปฝึกงานในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สามารถ
นำความรู้และประสบการณ์จากการฝึกงานไปใช้ในการทำงานในอนาคต และท่ีสำคัญอยากให้รุ่นน้องที่
ฝึกงานมีการเตรยี มตวั และเตรยี มความพร้อมก่อนฝึกงาน ศึกษารายละเอียดของงานท่เี ราจะไปฝึกให้ดี ว่า
มีลกั ษณะงานทสี่ อดคล้องกับสาขาวิชาชีพท่ีกำลงั ศกึ ษาหรอื ไม่ เพ่อื ประโยชน์สูงสดุ ในการนำทกั ษะวิชาชีพ
ท่เี ราได้ศึกษาจากวิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพไปประยุกต์กับการปฏิบัติในหน่วยงาน
จริง และหากมีข้อสงสัยหรือปัญหาใด ๆ ก็ตามระหว่างฝึกงาน ควรท่ีจะซักถามถึงข้อสงสัยและแนว
ทางแก้ไขเบ้ืองต้นกับผู้ควบคุมการฝึกงาน เพื่อนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ของการฝึกงานที่มี
ประสทิ ธิภาพ

22

ภาคผนวก

23

ภาคผนวก ก
ประวัติผฝู้ ึกงาน

24

25

ภาคผนวก ข
บญั ชีลงเวลาการปฏิบัติงาน

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45


Click to View FlipBook Version