The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumaleefern09, 2021-10-12 03:16:04

รายงาน รวม

รายงาน รวม

รายงานการฝึกงาน
วิชา การฝกึ งาน

รหัสวิชา 30701-8001
สถานท่ีฝึกงาน เซเว่น สาขา อมรพนั ธน์ คร8

เสนอ
ครูนเิ ทศ นางสาวกมลชนก สวา่ งกุล

จัดทำโดย
นายวรกมล สังข์สฤษ
รหัสประจำตัว 63307010049
ระดับ ปวส. ชนั้ ปีท่ี 2 สาขาวชิ า การโรงแรม

รายงานการฝกึ งานน้ี เปน็ ส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรวชิ าชพี ชนั้ สงู
แผนกวิชา บรกิ าร อาหารและเคร่อื งดื่ม วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทอ่ งเที่ยวกรุงเทพ

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564



กติ ติกรรมประกาศ

การฝึกงานครั้งนี้ เป็นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ระดับปวส.2 รหัสวิชา 30701-8001 ข้าพเจ้าได้เร่ิม
ฝึกงานตั้งแต่วันที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 3 เดือน กันยายน พ.ศ. 2564 จากการฝึกงานทำให้
ขา้ พเจ้าไดร้ บั ความรู้และทักษะใหม่ในการทำงาน ขา้ พเจ้าขอขอบคณุ ครูนเิ ทศ
นางสาวภัทราวรรณ วรรณะบำเพ็ญ ทชี่ ่วยให้การฝึกงานของข้าพเจา้ สำเรจ็ ลุลว่ งตามจุดประสงค์ของหลกั สตู ร

ขอขอบพระคณุ บริษัท เอพพี ี ดีเวลลอ็ ปเมน้ ท์ จาํ กดั และ นายการนั ต์ บญุ ยนื
ผลจากการฝึกงานในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะได้นำไปใช้ประโยชน์ ในการประกอบอาชีพ และแนะนำนักเรียน
นกั ศกึ ษาศึกษารุน่ น้อง ตลอดจนนำไปประยุกตใ์ ช้ในการปฏิบัตงิ านต่อไป

นายวรกมล สงั ข์กฤษ
10/09/2564



บทคัดย่อ

การฝึกงานครั้งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งมี
วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาฝึกงาน 2)เพื่อนำความรู้ ความสามารถจากการ
เรียนมาประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง 3)เพื่อให้มีทักษะและประสบการณ์ในการทำงาน ณ สถานที่จริง 4)เพ่ือ
ศึกษาขั้นตอนของการทำงานของสถานประกอบการจริง 5)เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตาม
หลักสตู รทส่ี าํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากําหนด
สถานท่ใี นการฝกึ งานของข้าพเจ้า คอื เซเวน่ สาขา อมรพันธน์ คร8
ซง่ึ ตง้ั อยู่ท่ี สาขา อมรพันธน์ คร 8 ถ. สวนสยาม แขวง คนั นายาว เขตคนั นายาว กรงุ เทพมหานคร 10230
เปน็ สถานประกอบการประเภท จำหน่ายสนิ คา้
ขา้ พเจา้ ไดฝ้ ึกงานในตำแหน่ง เตมิ สนิ ค้าและบรกิ าร ซ่ึงทำหนา้ ท่ี

1) เติมสนิ คา้
2) บรกิ ารลูกค้าหนา้ รา้ น
ผลจากการฝกึ งานในครงั้ นที้ ำให้ข้าพเจา้ ไดป้ ระสบการณแ์ ละความร้ใู หม่ดังน้ี
1) ไดร้ ับร้จู ักการแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า
2) ไดร้ จู้ ักมิตรภาพดีๆในท่ีทำงาน
3) ไดล้ องรบั ลกู ค้าหนา้ ร้าน



สารบัญ

เร่อื ง หนา้

กติ ติกรรมประกาศ ก
บทคดั ย่อ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพประกอบ จ
1
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของการฝกึ งาน 3
1.2 วตั ถุประสงคข์ องการฝึกงาน
1.3 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั จากการฝึกงาน

1.4 ระยะเวลาการฝึกงาน

บทที่ 2 เอกสารและการบรู ณาการวชิ าการที่เกี่ยวข้อง
2.1 วชิ ามนุษยสัมพันธ์
2.1.1 หลกั การมีมนุษยสมั พนั ธ์
2.1.2 มนุษยสมั พนั ธใ์ นการทำงาน
2.1.3 การบรณู าการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ 3 D

บทที่ 3 ขั้นตอนการฝึกงาน 6
3.1 การดำเนินการกอ่ นออกฝกึ งาน
3.2 การดำเนินการระหว่างฝึกงาน
3.3 การดำเนินการเมอ่ื ส้ินสดุ ฝึกงาน

สารบญั (ตอ่ ) ง

เรือ่ ง หน้า

บทที่ 4 ผลของการฝกึ งาน 7
4.1 การบันทกึ งานในแต่ละสัปดาห์ 12
4.2 ผลการฝกึ งานในแตล่ ะสปั ดาห์

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการฝกึ งาน
5.2 ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการฝกึ งาน
5.3 ปญั หาอปุ สรรค และข้อเสนอแนะ
5.3.1 ปญั หาอุปสรรคท่ีพบ
5.3.2 ข้อเสนอแนะในการนำวิชาความรู้จากการฝกึ งาน
ไปประกอบอาชพี

ภาคผนวก 14

ภาคผนวก ก ประวตั ิผู้ฝกึ งาน

ภาคผนวก ข บญั ชีลงเวลาการปฏิบัติงาน

ภาคผนวก ค บันทกึ รายละเอยี ดการฝึกงานออนไลน์ ผา่ นระบบ Job Training / Career Training

Management System

ภาคผนวก ง ภาพหน่วยงาน/การปฏิบตั ิงาน

1

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของการฝึกงาน

การฝึกงานเปน็ การจัดกระบวนการเรยี นรเู้ พื่อฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การจัดการการเผชิญสถานการณ์

และการประยุกต์ ความรู้ มาใช้เพื่อป้องกนั และแกป้ ัญหา ซ่ึงจัดดาํ เนนิ การโดยความรว่ มมือระหว่างสถานศึกษากับ

ภาคการผลิตและหรือภาคบริการ หลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาคทฤษฎีและการ ฝึกหัดหรือฝึกปฏิบัติเบื้องต้นใน

สถานศึกษาแล้วระยะเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับการปฏิบัติงานอาชีพ เครื่องมือ

เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ทันสมัย และบรรยากาศการทํางานทางธุรกิจที่ต้องแข่งขันกันในการรักษาคุณภาพและ

มาตรฐานของงาน รวมท้งั การทํางานรว่ มกัน ซ่งึ จะ ช่วยใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการ

ปฏิบัติให้ทําได้คดิ เป็น ทําเป็นและเกิดการใฝ่รู้อย่าง ต่อเนื่อง ตลอดจนเกิดความม่ันใจและเจตคติที่ดีในการทํางาน

และการประกอบอาชีพอิสระ เพื่อให้เป็น ไปตามจุดมุ่งหมายของการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ

สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจงึ ได้กาํ หนดหลักการฝกึ งาน ดงั น้ี

1. เปน็ การจดั ฝกึ ประสบการณ์งานอาชพี ให้กับผู้เรยี นในระบบทเ่ี นน้ การศึกษาในสถานศึกษาเป็นหลัก

2. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ หลักสูตร

ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู

3. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพ โดยเน้นการสร้างระบบเครือข่ายและการ มีส่วนรวมในการ

จัดการอาชีวศกึ ษากับสถานประกอบการ ชุมชน ทองถ่ิน และเครอื ข่ายความ รว่ มมอื ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ

ทงั้ น้ี ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา

4. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพที่ให้ความสําคัญในการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และ

สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื การนาํ ไปส่กู ารประกอบอาชีพ ท้ังการจา้ งงาน และการประกอบอาชีพอิสระ

ดังนั้น ขา้ พเจ้าจงึ ไดเ้ ขา้ ฝกึ งาน ณ บรษิ ัท ยพู ีดี โบรคเกอร์ จำกัด ซึง่ ไดร้ บั ผิดชอบงาน

ด้าน กราฟฟิก เพราะจะทำให้รู้ถึงสภาพการทำงานด้าน กราฟฟิก ว่ามีขั้นตอนการทำงานอย่างไร การนำ

เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใ์ ช้ได้อย่างไร การรู้ถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการทำงานและจะหาแนวทางใน

การแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดข้ึนอย่างไร อนั นำไปสกู่ ารฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพที่มีประสิทธิภาพและบรรลจุ ุดมุ่งหมายของ

สาขาวชิ าท่กี ำลังศกึ ษาอยู่ โดยนำความรูท้ เี่ รียนมาใช้ในการฝึกงานอย่างแทจ้ ริง

2

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึกงาน
1. เพ่ือใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงค์ของรายวิชาฝึกงาน
2. เพอ่ื นำความรู้ ความสามารถจากการเรียนมาประยุกต์ใชใ้ นการทำงานจรงิ
3. เพ่อื ใหม้ ที กั ษะและประสบการณใ์ นการทำงาน ณ สถานที่จริง
4. เพือ่ ศกึ ษาขั้นตอนของการทำงานของสถานประกอบการจริง
5. เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กาํ หนด

1.3 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั จากการฝกึ งาน
ดา้ นผูเ้ รียน
1. ไดร้ ับประสบการณจริงตามสาขาวชิ าที่เรียน
2. ได้ฝกึ ทักษะวิชาชพี และทกั ษะชวี ติ มีความม่ันใจในการปฏิบัตงิ านมากข้ึน
3. สามารถคิดเป็น ทาํ เป็น จัดการและแกป้ ัญหาได้
4. มบี ุคลิกภาพ เจตคติและกิจนสิ ยั ทด่ี ใี นการทำงานอาชีพ
5. มขี ้อมูลในการเลือกสายงานเพ่ือการประกอบอาชีพ
ดา้ นสถานศึกษา
1. สามารถผลิตผ้สู าํ เรจ็ การศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพสอดคลองกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
2. เกิดความรว่ มมือในการพัฒนาทางวิชาการ พฒั นาหลักสูตร พัฒนางานวจิ ยั ฯลฯ
3. บุคลากรไดเ้ รยี นรู้ระบบการทํางานในสถานประกอบการ
4. มขี อ้ มูลในการแนะแนวการเลือกสายงานเพ่ือการประกอบอาชพี แกผ่ ูเ้ รียน
ดา้ นสถานประกอบการ
1. มีส่วนรวมในการจดั การอาชีวศกึ ษาและฝกึ อบรมวชิ าชพี
2. มโี อกาสในการคัดเลือกบคุ ลากรทม่ี ีคณุ ภาพตามความตอ้ งการโดยไม่ต้องฝึกเพ่ิมเติม
3. ครฝู ึก ผู้ควบคุมการฝกึ ไดเ้ พ่ิมทักษะในการสอนงาน
4. ได้กําลงั คนเพ่ือสนบั สนุนงานของสถานประกอบการ
5. พนักงานมีความกระตือรอื รน้ ในการพฒั นาตนเอง

1.4 ระยะเวลาการฝึกงาน
ระยะเวลาฝกึ งาน ต้งั แต่วันท่ี 17 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ที่ 3 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564 รวม

ระยะเวลา 97 วัน เป็นจำนวน 1067 ชั่วโมง โดยฝึกงานในวันจันทร์ถงึ วันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 08.00 น. ถึง 17.00 น.
วันละ 11 ช่วั โมง เปน็ จำนวน 16 สัปดาห์

3

บทที่ 2

เอกสารและการบูรณาการวชิ าการทเี่ กย่ี วข้อง

ในการฝึกงานตามหลักสูตรวิชาชีพขั้นสูง ข้าพเจ้าได้ศึกษาวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และได้ดำเนินการ
ฝกึ งาน ซ่ึงสถานทใ่ี นการฝกึ งานของข้าพเจา้ คือบรษิ ัท ยูพีดี โบรคเกอร์ จำกดั ตงั้ อยูท่ ี่ 22 ถ. รามอินทรา แขวง มีน
บุรี เขตมนี บรุ ี กรุงเทพมหานคร 10510 ตลอดระยะเวลาการฝึกงานข้าพเจา้ ได้บูรณาการการฝึกงาน ให้สอดคล้อง
กับสาขาวชิ าทีก่ ำลังศกึ ษา และรายวิชาดงั ต่อไปน้ี

• วิชามนุษยสัมพันธ์
• หลกั การมีมนุษยสัมพันธ์
มนุษยสัมพันธ์ คอื การติดต่อเก่ียวขอ้ งระหว่างมนุษย์ด้วยสัมพันธภาพอนั ดกี บั บคุ คลอน่ื เพ่ือให้ได้มาซ่ึง

ความรักใครน่ บั ถอื และความร่วมมอื ที่ดีต่อกัน

มนุษยสัมพนั ธ์เปน็ เรื่องราวทีว่ ่าดว้ ยพฤติกรรมของบุคคลทมี่ าเกีย่ วข้องกันในการทำงานในองค์กรหรือ
หนว่ ยงาน เพื่อใหก้ ารทำงานดำเนินไปไดอ้ ยา่ งราบร่ืน ความสำคญั ของมนุษยสัมพนั ธ์ในการทำงานกค็ ือ สร้างความ
ราบร่นื ในการทำงานรว่ มกัน สรา้ งความเขา้ ใจอันดีและความสามัคคี กอ่ ให้เกิดความรักใครแ่ ละความสำเร็จในการ
ทำงานรว่ มกัน เปน็ ปัจจยั ทช่ี ว่ ยเพมิ่ ผลผลติ และเปน็ เคร่อื งมือชว่ ยในการแก้ปัญหาและขจดั ความขัดแย้ง

หลักของมนุษยสัมพันธ์คือ การตอบสนองความต้องการของมนุษย์ โดยใช้หลักปฏิบัติที่ว่าเมื่อเรา
ต้องการส่ิงใด ผู้อ่ืนก็มีความต้องการส่งิ นัน้ เช่นกัน ส่วนในดา้ นจติ ใจกใ็ หย้ ดึ หลกั ท่วี ่าเอาใจเขามาใสใ่ จเรา โดยมนุษย
สัมพันธ์นั้นเกี่ยวข้องศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์การแพทย์ จิตวิทยา จิตวิเคราะห์ และความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคล

• มนุษยสมั พนั ธใ์ นการทำงาน
การสร้างมนุษยสัมพันธ์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก เมื่อทำได้แล้วจะอำนวยประโยชน์ให้กับการดำรงชีวิต

ครอบครวั และการทำงาน สำหรบั ในดา้ นการทำงานนั้นมขี ้อทค่ี วรปฏบิ ัตคิ ือ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน การสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลในองค์กร มี

องค์ประกอบที่สำคัญคือ การสร้างความเชื่อมั่นให้กับเพื่อนร่วมงาน การเอาใจใส่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเอง
ใหเ้ ขา้ ไดก้ บั เพ่อื นรว่ มงาน

การควบคมุ พฤติกรรมและเจตนารมณ์ผู้อื่น เมือ่ ตอ้ งการสรา้ งสมั พนั ธภาพทีด่ ีกับเพ่ือนรว่ มงานมีสิ่งท่ี
ควรต้องปฏิบัติคือ การสร้างความประทับใจให้กับเพื่อนร่วมงาน การสร้างความเป็นมิตร มองหาส่วนดีและ
ยอมรับความสามารถของเพื่อนร่วมงาน คำนงึ ถงึ เสมอว่าเพ่ือนรว่ มงานทุกคนเป็นผูม้ ีคุณค่า การสั่งหรือติดต่องาน
ไมค่ วรใชว้ ธิ พี ูดผ่านกบั คนอื่น

4

วิธีการสร้างเสนห่ ์ในบุคลิกภาพ การเป็นคนมีเสน่หจ์ ะช่วยใหบ้ ุคคลที่อยู่รอบข้างอยากเข้ามาชิดใกล้
และปรารถนาจะร่วมงานด้วย การสร้างเสน่ห์สามารถทำได้โดย การใช้น้ำเสียงหรือคำพูด การแสดงออกทาง
ร่างกาย การใชภ้ าษากายที่เหมาะสม การพัฒนาบุคลกิ ภาพใหส้ ง่างาม การแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะและ
การมีความม่นั ใจในตนเอง

การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา การปฏิบัติงานในองค์กรผู้บังคับบัญชาและ
ผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องการสื่อสารเพื่อร่วมกันดำเนินงานให้บรรลุภารกิจขององค์กร โดยผู้บังคับบัญชาจะทำ
หนา้ ที่อำนวยการให้นโยบายและข้อมูลขา่ วสารท่ถี ูกต้องและเหมาะสมแก่พนักงาน และในทางตรงกันข้ามก็ต้องรับ
ฟังข่าวสารข้อมูล ข้อเสนอแนะและความคิดเหน็ ของพนักงาน เพื่อให้สามารถประสานงานในการทำงานร่วมกันได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากนี้ในการวนิ จิ ฉยั ตัดสนิ ใจก็เป็นหนา้ ที่ๆสำคัญประการหนึ่งของผู้บังคบั บัญชาและเป็น
ศิลปะอันหนึ่งในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้บริหารควรต้องรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการ
วนิ จิ ฉยั ส่ังการที่เกดิ ข้ึน ภาระหนา้ ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือการสัง่ การ โดยในการส่ังการน้ันสามารถทำได้ในหลาย
รูปแบบ เช่นการสั่งงานด้วยวาจาและการส่ังงานเปน็ ลายลักษณ์อักษร ซึ่งต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม และยังสามารถ
สง่ั โดยใช้การบังคบั หรอื ออกคำสง่ั การส่ังงานแบบขอรอ้ ง การสัง่ งานแบบแนะนำ การสง่ั งานแบบอาสาสมัคร ซ่ึงก็
ข้ึนอยูก่ ับวา่ ตวั ผูบ้ รหิ ารจะเลือกใชก้ ารสง่ั งานแบบใด

หลักปฏิบัติในการเป็นผู้ช่วยที่ดี การปฏิบัติตัวเป็นผู้ช่วยที่ดีนั้นจะใช้หลัก 3 ประสานก็คือ มือดี ใจดี
ความคิดดี ซึ่งมือดีก็คือมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพและลักษณะท่าทางดี ใจดีก็คือมีความ
มั่นคงทางจิตใจ มีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ในงาน มีความขยันหมั่นเพียรและอดทน ส่วนคิดดีก็คือ มีความคิด
ริเริ่ม มีความเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ทีด่ ี รู้จักกาลเทศะ รู้จักช่องทางในการตดิ ต่อสื่อสารและเปน็ ผู้รู้จักประมาณ
ตน

ข้าพเจา้ ได้นำหลกั การสรา้ งมนุษยสมั พันธ์ในการทำงาน มาใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ อ่ การปฏบิ ัตงิ าน ได้แก่
เป็นผู้มีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ในงาน ตรงต่อเวลา ยิ้มแย้มแจ่มใส อ่อนน้อมถ่อมตน อาสาทำงาน และไม่
เกยี่ งงาน

5

• วชิ าการขาย
• การให้บรกิ ารท่ีดีแกล่ กู ค้า
• มจี ติ สำนึกทดี่ ีตอ่ การรบั ลกู ค้า

• ซ่อื สตั ยต์ ่อหนา้ ท่ี

• การบรูณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ 3 D
การฝึกงานในครง้ั นี้ ขา้ พเจา้ ไดน้ ำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ดังนี้

กิจกรรม ความพอประมาณ ความมเี หตุมผี ล มีภมู คิ ุ้มกนั ทด่ี ใี นตัว
การบริการลูกค้า การแนะนำลกู ค้าให้ใช้
ภงุ ผา้ แทนถุงลสาตกิ รับผิดชอบต่อสังคมและ มีจติ สำนึกที่ดี เพ่ือใหอ้ ยู่

รักษาสิ่งแวดล้อม ในสงั ได้อย่างสบายใจ

• การบรู ณาการ 3 D
• ดา้ นประชาธิปไตย (Democracy)

ขา้ พเจ้าทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมายจากหัวหน้างาน โดยมีการวางแผนการทำงานดว้ ยความรเิ ร่มิ
สรา้ งสรรค์ และมีการแสดงความคดิ เหน็ ให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ตามขอบเขตงานทท่ี ำ

• ด้านคุณธรรมและความเป็นไทย (Decency)
ข้าพเจา้ จะแสดงความเคารพตอ่ บุคลากรในหน่วยงาน ทั้งระดบั หัวหน้างาน และเจา้ หน้าท่โี ดยจะยกมอื ไหว้และ
กล่าวคำวา่ สวัสดีตอ่ หัวหนา้ งาน และเพ่ือนร่วมงานทุกคร้งั เม่ือไปถึงท่ีทำงาน และหลังเลิกงาน และจะแต่งกายด้วย
ชดุ นักเรียนท่ถี กู ระเบียบของวิทยาลัยไปฝึกงาน

• ด้านภูมคิ ุ้มกันภยั จากยาเสพตดิ (Drug Free)
ข้าพเจ้าไมย่ งุ่ เก่ียวกับยาเสพติด เพราะยาเสพติดทำใหร้ ่างกายทรดุ โทรม สมอง
ไม่แจ่มใส ขาดสติ และเปน็ เร่ืองที่ผดิ กฎหมายดว้ ย

6

บทท่ี 3

ขน้ั ตอนการฝึกงาน

ในการดำเนินการฝึกงานตามหลักสูตรวชิ าชีพช้นั สูง รายวิชาฝึกงาน รหัสวชิ า 30701-8001
ข้าพเจา้ ไดด้ ำเนินการตามข้นั ตอนต่อไปนี้

• การดำเนนิ การกอ่ นออกฝึกงาน
• การดำเนินการระหวา่ งฝกึ งาน
• การดำเนนิ การเมื่อสิ้นสุดฝึกงาน
ดงั มีรายละเอยี ดดังนี้

• การดำเนินการก่อนออกฝึกงาน
• ศึกษาขอ้ มูลตา่ ง ๆ เกย่ี วกับสถานประกอบการท่จี ะไปฝึกงานจากอาจารย์ที่ปรึกษา และงานอาชวี ศกึ ษา
ระบบทวิภาคี และรุ่นพี่
• ศกึ ษาเส้นทางการเดินทางจากบา้ นไปท่ีทำงาน โดยคำนึงถึงความสะดวก และประหยดั
• ศกึ ษางานและวิธกี ารทำงานในสถานประกอบการ โดยคำนึงถึงการปฏิบัติงานให้ตรงกบั รายวิชาทเ่ี รียน
ให้มากทีส่ ดุ เพื่อจะได้เพิ่มประสบการณ์ในการทำงาน
• ติดต่อสถานประกอบการดว้ ยตวั เอง เพื่อขอเข้าฝกึ งาน
• แจ้งข้อมลู การติดต่อสถานประกอบการใหห้ วั หนา้ แผนกวิชาทราบ
• นำหนงั สือขอความอนุเคราะหฝ์ ึกงานไปให้สถานประกอบการ และนำใบตอบรบั การฝกึ งานมาสง่ ใหก้ ับ
งานอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี เพือ่ ออกหนังสือส่งตัวไปฝึกงาน
• เขา้ รับการปฐมนเิ ทศก่อนออกฝึกงาน
• เข้ารับการฝึกงานตามวนั เวลาท่กี ำหนด

• การดำเนินการระหวา่ งฝึกงาน
• ลงชอื่ ปฏบิ ัติงานทสี่ ถานประกอบการกอ่ นเวลาเข้างาน อย่างนอ้ ย 15 นาที
• รอฟังคำส่งั จากผู้ควบคมุ การฝึกงาน
• ปฏิบัติงานตามคำส่งั ของผคู้ วบคุมการฝึกงาน
• เกบ็ งาน ดแู ลความสะอาดของโต๊ะทำงาน
• เลิกงานตามเวลาที่สถานประกอบการกำหนด

• การดำเนนิ การเมอื่ ส้ินสดุ ฝกึ งาน
• รายงานตวั พร้อมสง่ รายงานการฝึกงานและเอกสารต่างๆ ที่เกย่ี วกบั การฝึกงาน
• เข้ารบั การสมั มนาฝึกงาน เพ่ือนำเสนอผลการฝึกต่อคณะกรรมการ

7

บทที่ 4
ผลของการฝึกงาน

ในการฝกึ งานของขา้ พเจา้ นางสาวสุมาลี เมฆขจรได้ฝึกปฏบิ ตั ิงานในสถานประกอบการ

เซเวน่ สาขา อมรพันธน์ คร8 ซ่ึงได้ปฏิบัติงานตั้งแตว่ ันที่ 17 พฤษภคม 2564 ถึงวันที่ 3 กันยายน 2564

ดงั รายการปฏิบัติงานดังนี้
• การบันทึกงานในแต่ละสปั ดาห์
• ผลการฝกึ งานในแตล่ ะสัปดาห์
ดงั มรี ายละเอียดดงั น้ี

• การบันทึกงานในแตล่ ะสปั ดาห์
4.1.1 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ี่ 1 ระหว่างวันท่ี 17 พฤษภาคม 2564 ถึงวนั ที่ 23 พฤษภาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
ทำการเติมสินค้าให้เตม็ สต็อก
จดั เรียงสินคา้ พรอ้ มใหบ้ รกิ ารลูกค้าที่หนา้ ร้านเปน็ เวลา 5 วัน
หยุดเปน็ เวลา 1 วนั
4.1.2 การปฏบิ ตั ิงานในสัปดาห์ท่ี 2 ระหว่างวนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2564 ถึงวันท่ี 30 พฤษภาคม 2564

มรี ายการปฏิบัตดิ ังน้ี
จดั เรยี งสนิ ค้าพรอ้ มใหบ้ รกิ ารลูกคา้ ทห่ี นา้ รา้ นเป็นเวลา 6 วัน
หยุดเปน็ เวลา 1 วัน
4.1.3 การปฏิบตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 3 ระหว่างวันท่ี 31 พฤษภาคม 2564 ถึงวันที่ 6 มถิ นุ ายน 2564

มีรายการปฏิบัตดิ งั นี้
จดั เรียงสนิ คา้ พรอ้ มใหบ้ รกิ ารลกู ค้าที่หน้ารา้ นเป็นเวลา 6 วัน
หยุดเป็นเวลา 1 วนั
4.1.4 การปฏิบัติงานในสัปดาหท์ ่ี 4 ระหวา่ งวันที่ 7 มถิ นุ ายน 2564 ถึงวนั ท่ี 13 มิถุนายน 2564

มีรายการปฏิบัตดิ งั นี้
จดั เรียงสนิ คา้ พร้อมใหบ้ รกิ ารลูกค้าทหี่ นา้ ร้านเปน็ เวลา 7 วัน

8

4.1.5 การปฏิบัติงานในสัปดาหท์ ี่ 5 ระหว่างวนั ที่ 14 มิถุนายน 2564 ถงึ วันท่ี 20 มถิ ุนายน 2564
มรี ายการปฏิบตั ิดงั น้ี

จดั เรยี งสนิ คา้ พร้อมใหบ้ ริการลูกค้าทห่ี น้ารา้ นเป็นเวลา 6 วัน
หยดุ เปน็ เวลา 1 วัน

4.1.6 การปฏบิ ัติงานในสัปดาห์ท่ี 6 ระหว่างวันที่ 21 มิถนุ ายน 2564 ถึงวนั ท่ี 27 มถิ ุนายน 2564
มีรายการปฏิบตั ดิ ังน้ี

จดั เรียงสินค้าพร้อมใหบ้ ริการลกู คา้ ท่หี นา้ รา้ นเปน็ เวลา 6 วัน
หยุดเป็นเวลา 1 วัน

4.1.7 การปฏิบัตงิ านในสัปดาห์ที่ 7 ระหวา่ งวนั ที่ 28 มิถนุ ายน 2564 ถงึ วันท่ี 4 กรกฎาคม 2564
มีรายการปฏิบัตดิ ังนี้

จดั เรยี งสินค้าพรอ้ มให้บริการลูกคา้ ทห่ี นา้ ร้านเป็นเวลา 6 วัน
หยดุ เปน็ เวลา 1 วัน

4.1.8 การปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ี่ 8 ระหวา่ งวันท่ี 5 กรกฎาคม 2564 ถึงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

จดั เรียงสินค้าพร้อมใหบ้ รกิ ารลกู ค้าทีห่ น้าร้านเป็นเวลา 6 วัน
หยดุ เป็นเวลา 1 วัน

4.1.9 การปฏบิ ตั งิ านในสัปดาห์ท่ี 1 ระหว่างวนั ที่ 12 กรกฎาคม 2564 ถึงวันท่ี 18 กรกฎาคม 2564
มีรายการปฏิบตั ิดงั น้ี

จดั เรยี งสนิ คา้ พรอ้ มให้บรกิ ารลูกค้าทห่ี นา้ ร้านเป็นเวลา 6 วัน
หยุดเปน็ เวลา 1 วนั
4.1.10 การปฏบิ ตั งิ านในสปั ดาห์ท่ี 10 ระหว่างวันท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ถงึ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2564
มรี ายการปฏบิ ตั ิดังนี้
จดั เรยี งสนิ คา้ พร้อมให้บริการลูกคา้ ทห่ี น้าร้านเปน็ เวลา 6 วัน
หยุดเปน็ เวลา 1 วัน

4.1.11 การปฏิบัตงิ านในสปั ดาห์ท่ี 11 ระหวา่ งวันท่ี 26 กรกฎาคม 2564 ถงึ วันที่ 1 สิงหาคม 2564
มีรายการปฏิบัตดิ ังนี้

จดั เรียงสนิ ค้าพรอ้ มให้บริการลกู ค้าท่ีหนา้ ร้านเป็นเวลา 6 วัน
หยดุ เป็นเวลา 1 วัน

9

4.1.12 การปฏิบัติงานในสัปดาหท์ ี่ 12 ระหว่างวันท่ี 2 สงิ หาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 8 สิงหาคม 2564
มรี ายการปฏิบัตดิ ังนี้

จดั เรียงสนิ ค้าพรอ้ มใหบ้ ริการลกู คา้ ทห่ี น้ารา้ นเป็นเวลา 7 วัน
4.1.13 การปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ่ี 13 ระหว่างวนั ที่ 9 สงิ หาคม 2564 ถึงวันท่ี 15 สิงหาคม 2564

มรี ายการปฏิบตั ิดงั นี้
จดั เรยี งสนิ คา้ พร้อมให้บรกิ ารลูกค้าที่หนา้ รา้ นเปน็ เวลา 6 วัน
หยดุ เปน็ เวลา 1 วนั
4.1.14 การปฏิบตั ิงานในสัปดาห์ท่ี 14 ระหวา่ งวนั ท่ี 16 สงิ หาคม 2564 ถึงวันที่ 22 สงิ หาคม 2564

มีรายการปฏบิ ตั ดิ งั นี้
จดั เรยี งสนิ คา้ พรอ้ มให้บริการลูกคา้ ทห่ี นา้ ร้านเปน็ เวลา 6 วัน
หยุดเปน็ เวลา 1 วนั
4.1.15 การปฏิบัติงานในสปั ดาหท์ ่ี 15 ระหว่างวันท่ี 23 สงิ หาคม 2564 ถงึ วันท่ี 29 สิงหาคม 2564

มรี ายการปฏบิ ัตดิ งั น้ี
จดั เรยี งสนิ คา้ พร้อมใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ทีห่ นา้ ร้านเป็นเวลา 7 วัน
4.1.16 การปฏบิ ัติงานในสัปดาหท์ ี่ 16 ระหวา่ งวันท่ี 30 สิงหาคม 2564 ถึงวันที่ 3 กันยายน 2564

มรี ายการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
จดั เรียงสินค้าพร้อมให้บริการลกู คา้ ทหี่ นา้ รา้ นเปน็ เวลา 4 วัน
หยุดเปน็ เวลา 1 วัน

10

• ผลการฝกึ งานในแต่ละสัปดาห์
4.2.1 ผลการปฏบิ ัติงานในสัปดาห์ที่ 1 ระหว่างวันท่ี 17 พฤษภาคม 2564 ถงึ วันที่ 23 พฤษภาคม 2564

มีผลการปฏบิ ัติดงั นี้
- เตมิ สินค้าใหส้ ตอ็ ก
-จดั เรยี งสนิ คา้ และบริการ
4.2.2 ผลการปฏิบตั งิ านในสปั ดาห์ท่ี 2 ระหว่างวันท่ี 24 พฤษภาคม 2564 ถงึ วันที่ 30 พฤษภาคม 2564

มีผลการปฏิบัติดังนี้
-จดั เรียงสนิ ค้าและบรกิ าร
4.2.3 ผลการปฏบิ ัตงิ านในสัปดาห์ที่ 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 ถึงวนั ที่ 6 มิถนุ ายน 2564

มีผลการปฏิบัติดงั นี้
-จดั เรียงสนิ ค้าและบริการ
4.2.4 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ี่ 4 ระหวา่ งวนั ท่ี 7 มิถนุ ายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 13 มิถนุ ายน 2564

มีผลการปฏิบัติดังนี้
-จดั เรยี งสนิ ค้าและบรกิ าร
4.2.5 ผลการปฏบิ ัตงิ านในสัปดาหท์ ี่ 5 ระหวา่ งวันท่ี 14 มิถุนายน 2564 ถงึ วันท่ี 20 มิถนุ ายน 2564

มีรายการปฏบิ ตั ิดงั นี้
-จดั เรียงสินคา้ และบริการ
4.2.6 ผลการปฏบิ ัติงานในสัปดาห์ท่ี 6 ระหวา่ งวันที่ 21 มิถนุ ายน 2564 ถงึ วันที่ 27 มิถนุ ายน 2564

มีรายการปฏิบัติดงั น้ี
- จดั เรียงสินคา้ และบรกิ าร
4.2.7 ผลการปฏิบัตงิ านในสปั ดาห์ที่ 7 ระหว่างวนั ที่ 28 มิถุนายน 2564 ถึงวันท่ี 4 กรกฎาคม 2564

มรี ายการปฏิบัตดิ ังนี้
- จดั เรียงสนิ ค้าและบริการ
4.2.8 ผลการปฏิบตั ิงานในสัปดาหท์ ี่ 8 ระหวา่ งวันที่ 5 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่ 11 กรกฎาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัติดังน้ี
- จดั เรียงสินคา้ และบริการ
4.2.9 ผลการปฏบิ ัติงานในสปั ดาหท์ ่ี 9 ระหวา่ งวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 ถงึ วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัติดงั นี้
- จดั เรยี งสนิ คา้ และบริการ

11

4.2.10 ผลการปฏิบัตงิ านในสปั ดาห์ท่ี 10 ระหวา่ งวันท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2564
มรี ายการปฏิบตั ดิ ังน้ี

- จดั เรยี งสนิ ค้าและบริการ
4.2.11 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ่ี 11 ระหวา่ งวันที่ 26 กรกฎาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 1 สิงหาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัตดิ งั นี้
- จดั เรยี งสินค้าและบรกิ าร
4.2.12 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาห์ที่ 12 ระหวา่ งวันท่ี 2 สิงหาคม 2564 ถงึ วันที่ 8 สิงหาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัตดิ ังนี้
- จดั เรียงสินคา้ และบรกิ าร
4.2.13 ผลการปฏบิ ัตงิ านในสัปดาห์ที่ 13 ระหว่างวนั ท่ี 9 สิงหาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2564

มีรายการปฏิบตั ดิ งั น้ี
- จดั เรยี งสินค้าและบรกิ าร
4.2.14 ผลการปฏิบัติงานในสัปดาหท์ ่ี 14 ระหว่างวนั ที่ 16 สิงหาคม 2564 ถึงวนั ที่ 22 สิงหาคม 2564

มีรายการปฏิบัติดงั น้ี
- จดั เรยี งสินคา้ และบรกิ าร
4.2.15 ผลการปฏิบัติงานในสัปดาห์ที่ 15 ระหว่างวันท่ี 23 สงิ หาคม 2564 ถึงวันที่ 29 สิงหาคม 2564

มีรายการปฏบิ ัตดิ ังน้ี
- จดั เรยี งสินค้าและบริการ
4.2.16 ผลการปฏิบตั งิ านในสัปดาหท์ ่ี 16 ระหวา่ งวนั ท่ี 30 สิงหาคม 2564 ถงึ วันท่ี 3 กันยายน 2564

มรี ายการปฏบิ ัตดิ งั นี้
- จดั เรยี งสนิ ค้าและบริการ

12

บทท่ี 5

สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

• สรปุ ผลการฝกึ งาน
จากการฝกึ งานตลอดหลักสูตรวชิ าชพี ชั้นสูง เปน็ ระยะเวลา 97 วัน ต้ังแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2564

ถึงวันที่ 3 กันยายน 2564 จากการฝึกงานครั้งนี้ ทำให้ข้าพเจ้าได้มีความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น และได้มีการนำความรู้
จากการเรียนวิชาต่าง ๆ ในสาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลมาประยุกต์ใช้กับงานที่ทำ รู้จักวิธีการแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นจริง การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และการได้รับคำแนะนำจากผู้ควบคุมการฝึกงานเป็นบางครั้ง ทำให้
สามารถปฏิบัติงานได้จริง ๆ ทำให้ข้าพเจ้าได้ฝึกการทำงานร่วมกับผู้อื่น ให้ความเคารพต่อทุกคน รู้จักการรับฟัง
ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน ทำให้ร้รู ะบบการทำงานของการปฏิบตั ิงานจรงิ

ดังนั้นการฝึกงานนั้นเราให้ความสำคัญมาก เพราะถือเป็นการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ช่วยพัฒนา
ความสามารถของเราได้ ไดร้ ้วู า่ ความสามารถทเี่ ราเรยี นมามีประโยชนต์ ่อการทำงานมากน้อยเพียงใด เมื่อเราสำเร็จ
การศึกษาไปพรอ้ มเขา้ สโู่ ลกการทำงาน เราจะสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการทำงานได้อย่างแท้จริง

• ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการฝกึ งาน
1. ไดน้ ำความรู้ที่ได้เรยี นมาประยกุ ต์ใช้ในการทำงานจริง
2. ไดร้ จู้ ักการทำงานของ บรษิ ัท ยพู ดี ี โบรคเกอร์ จำกดั มขี ั้นตอนการทำงานอยา่ งไร
3. ทำให้เราไดม้ ีความรู้ ความอดทน และมีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง และหนา้ ทที่ ี่ไดร้ บั
4. ไดร้ ถู้ ึงปญั หาของงานและแนวทางในการแก้ไข
5. ได้ปฏิบัติตามเกณฑ์ก่อนการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กําหนดไว้

• ปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ
• ปญั หาอุปสรรคทพ่ี บ มดี ังน้ี

เป็นงานท่ีตอ้ งเรียนรู้ใหม่ทั้งหมดทำให้ต้องศึกษางานในบางส่วนนานกวา่ ปกติ ช่วงแรกอาจจะยังไม่เขา้ ใจในการรบั
ลูกคา้ และการจดั เรียงสินค้า

13

• ข้อเสนอแนะในการนำวชิ าความรูจ้ ากการฝกึ งานไปประกอบอาชพี
การใชค้ วามรู้ในรายวิชาที่ไดเ้ รียนมาไปพัฒนาตนเอง ในทุก ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเปน็ ดา้ นความรู้

ความสามารถ การปฏบิ ัตติ ่อสังคม ด้านการบริหารงาน และการดำเนินชีวิตประจำวันร่วมกบั ผูอ้ น่ื ทำให้ข้าพเจา้
ตอ้ งมีความกระตือรือรน้ อยู่ตลอดเวลา โดยข้าพเจ้าต้องมีการพัฒนาตนเองให้มีความรูม้ ากยิง่ ขึน้ เพราะในปจั จุบนั
น้มี กี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ข้าพเจ้าต้องทันต่อเหตุการณ์ และมีการศึกษาคน้ คว้าหาความรูเ้ ก่ยี วกบั ทักษะ
วชิ าชพี เพมิ่ เติมอยู่เสมอ เพื่อข้าพเจา้ จะไดน้ ำความรไู้ ปใชใ้ นการทำงาน

ดังน้ัน จึงขอแนะนำให้รุ่นน้องหรือผู้ที่ศึกษาอยู่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษา การฝึกทักษะ
วิชาชีพเพ่ิมเติมให้มาก เพื่อที่จะได้ออกไปฝกึ งานในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สามารถนำความรู้และ
ประสบการณจ์ ากการฝกึ งานไปใช้ในการทำงานในอนาคต และทส่ี ำคัญอยากใหร้ ุ่นนอ้ งที่ฝึกงานมกี ารเตรียมตัวและ
เตรียมความพร้อมก่อนฝึกงาน ศึกษารายละเอียดของงานท่ีเราจะไปฝึกให้ดี ว่ามีลักษณะงานที่สอดคล้องกับสาขา
วชิ าชพี ท่ีกำลังศกึ ษาหรอื ไม่ เพอ่ื ประโยชนส์ ูงสุดในการนำทักษะวชิ าชพี ท่เี ราได้ศึกษาจากวทิ ยาลัยบรหิ ารธุรกิจและ
การทอ่ งเที่ยวกรุงเทพไปประยุกต์กับการปฏิบัติในหน่วยงานจริง และหากมขี ้อสงสยั หรือปัญหาใด ๆ กต็ ามระหว่าง
ฝึกงาน ควรที่จะซักถามถึงข้อสงสัยและแนวทางแก้ไขเบื้องต้นกับผู้ควบคุมการฝึกงาน เพื่อนำไปสู่การบรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องการฝกึ งานที่มีประสิทธิภาพ

14

ภาคผนวก

15

ภาคผนวก ก
ประวัติผฝู้ ึกงาน

16

17

ภาคผนวก ข
บญั ชีลงเวลาการปฏิบัติงาน

18

19

20

21

22

ภาคผนวก ค
บนั ทึกรายละเอยี ดการฝกึ งานออนไลน์
ผา่ นระบบ Job Training / Career Training Management System

หนา้ เว็บไซต์ www.bcbat.ac.th

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

ภาคผนวก ง
ภาพหนว่ ยงาน/การปฏิบัตงิ าน

33

ภาพที่ 1 : จัดเรียงสนิ คา้ ในห้องหลงั รา้ น
ภาพท่ี 2 : จัเรยี งสนิ คา้ สินหนา้ ร้าน
ภาพท่ี 3 : จัดเรยี งสนิ คา้ และบกิ าร

34

CD ขอ้ มลู ดงั น้ี
- ไฟลร์ ายงานรูปเลม่ (.doc)
- ไฟลร์ ูปภาพขณะฝึกงาน (.jpg)
- ไฟล์ Power point นาเสนอผล
การฝึกงาน (.ppt)


Click to View FlipBook Version