The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-05 00:47:37

EC211-EC401-กลุ่มที่ 1

EC211-EC401-กลุ่มที่ 1

รายงาน

ผลไม้อบแห้ง

นำ เ ส น อ แ ก่

ดร.ศรีสุดา ถุงสุวรรณ

นำ เ ส น อ โ ด ย

นักศึกษากลุ่มที่ 1
คณะเศรษฐศาสตร์และการลงทุน

EC401:MANAGERIAL
ECONOMICS
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึ กษา 2564
มหาวิ ทยาลั ยกรุ งเทพ



รายงาน

ผลไม้อบแห้จงัดทำโดย



นักศึกษากลุ่มที่ 1

คณะเศรษฐศาสตร์และการลงทุน




นางสาวจีรภัทร เจ็งศิริ 1630600326 เลขที่ 19

นายเตชทัต สิริกตัญญุตากร 1630600342 เลขที่ 20

นายจีรายุส อังศุกรานต์ 1630600359 เลขที่ 21

นางสาวมัณธชา ชุมรัมย์ 1630600367 เลขที่ 22

นางสาวปรีดาภรณ์ ประเสริฐศรี 1630600391 เลขที่ 24

นายณัฐนันท์ ศุภสุข 1630600466 เลขที่ 30

นายปฏิภาณ เจริญโชย 1630600672 เลขที่ 48




เสนอ
ดร.ศรีสุดา ถุงสุวรรณ

EC401 : Managerial Economics
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำนำ

ร า ย ง า น เ ล่ ม นี้ จั ด ทำ ขึ้ น เ พื่ อ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง วิ ช า
EC401 : Managerial Economics ชั้นปีที่สอง เพื่อให้ได้
ศึกษาหาความรู้ในเรื่องการทำธุรกิจควบคู่ไปกับทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์จุลภาค และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น
ประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้
อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่
หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อม
รับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ผู้จัดทำ
วันที่ 9 ตุลาคม 2564




ลีเบอร์ & โค. | เมืองแฟร์ฮิลล์ 081-234-5678
123 ถ.เลี่ยงเมือง ขอนแก่น [email protected]

สารบัญ

คำนำ ก
สารบัญ ข


บทนำ

-ที่มาและความน่าสนใจของธุรกิจ 1-2


ผลไม้อบแห้ง

-ต้นทุนวัตถุดิบ 3-4
-ต้นทุนเครื่องจักร 5
-ต้นทุนอุปกรณ์ 6
-แผนต้นทุน 7
-How to วิธีทำผลไม้อบแห้ง 8-9
-ลักษณะของผลไม้อบแห้งที่ดี 10
-วิเคราะห์ตลาดและผลิตภัณฑ์ 11


ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

-ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค 12-13
-ทฤษฎีการผลิต 14-15
-ทฤษฎีโครงสร้างตลาด 16-18
-ทฤษฎีการกำหนดราคาและผลผลิตภายใต้ตลาด 19
-ทฤษฎีต้นทุน 20-23


บรรณานุกรม 24
ภาคผนวก 25-28

ลีเบอร์ & โค. | เมืองแฟร์ฮิลล์ 081-234-5678
123 ถ.เลี่ยงเมือง ขอนแก่น [email protected]

บทนำ

1

ที่มาและความน่าสนใจของธุรกิจ

EIC ทำการวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรอายุ 6 ปีขึ้น
ไป ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของสำนักงานสถิติแห่ง
ชาติในปี 2556 และปี 2560 ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างประมาณ 28,000 ครัวเรือน
ข้อมูลดังกล่าวได้แสดงถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในเชิงพฤติกรรมการกิน
ของคนไทยที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้
คนไทยกินบ่อยขึ้น กินรสหวาน-เค็มมากขึ้น และกินผักผลไม้ลดลง

คนไทยกินบ่อยขึ้น
ในปี 2560 คนไทยส่วนใหญ่กว่า 89.4% กินอาหาร 3 มื้อต่อวัน สัดส่วนดัง
กล่าวเพิ่มขึ้นจาก 88.0% ในปี 2556 นอกจากนี้ สัดส่วนของคนที่กินอาหาร
มากกว่า 3 มื้อก็เพิ่มขึ้นจาก 3.8% ในปี 2556 มาเป็น 4.1% ในปี 2560 โดย
เป็นการเพิ่มขึ้นทั้งในเพศหญิงและชาย และเพิ่มในหลายช่วงอายุ ได้แก่ เด็ก (6-
14 ปี) วัยรุ่น (15-24 ปี) และคนวัยทำงาน (25-59 ปี) ยกเว้นผู้สูงอายุ (60 ปี
ขึ้นไป) ที่กลับมีสัดส่วนการกินมากกว่า 3 มื้อที่ลดลง

คนไทยบริโภคผักและผลไม้สดลดลง
ถึงแม้ว่าคนไทยส่วนใหญ่กว่า 98.8% จะมีการบริโภคผักและผลไม้อย่างน้อย 1
วันในแต่ละสัปดาห์โดยสัดส่วนดังกล่าวไม่เปลี่ยนแปลงจากปี 2556 แต่สัดส่วน
ของคนที่กินผักและผลไม้ทุกวันกลับลดลง จาก 54.5% เป็น 41.1% โดยเป็นการ
ลดลงในทุกกลุ่มอายุ เพศ และภูมิภาค

https://positioningmag.com/1251032

บทนำ

2

ผู้อำนวยการสถาบันอาหารกระทรวงอุตสาหกรรมเปิดเผยว่าในปี 2559 ที่
ผ่านมาประเมินว่าใครดีปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ผลไม้ทั้งหมด 2.8 ล้านตัน
มูลค่า 119,630 ล้านบาทมีอัตราเติบโต 19% เมื่อเทียบกับปี 2558 คิดเป็นสัดส่วน
13% ของมูลค่าส่งออกอาหารไปต่างประเทศทั้งหมดและแนวโน้มอุตสาหกรรมผลไม้
จะยังมีทิศทางเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมโดยคาดว่าในอนาคต
ตลาดผลไม้แปรรูปที่มีลักษณะเป็นขนมขบเคี้ยวที่รับประทานได้ง่ายเช่นผลไม้ทอด
และผลไม้อบแห้งจะมีการขยายตัวเพิ่ มสูงขึ้นทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศตอบ
โจทย์กระแสการบริโภคอาหารเพื่ อสุขภาพที่กำลังมาแรง

ทางผู้จัดทำจึงเล็งเห็นถึงโอกาสของธุรกิจผลไม้อบแห้ง จากปัจจัยที่กล่าว
มาข้างต้น ทั้งกระแสรักสุขภาพที่ปัจจุบันมีการเติบโตเป็นอย่างมาก และผู้บริโภคยุค
ใหม่ที่มีระโยชน์ต่อร่างกาย และสามารถบริโภคเป็นและสามารถบริโภคเป็นขนม
ขบเคี้ยวได้ในระหว่างมื้ออาหารอีกทั้งความนิยมผลไม้ไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่าง
ชาติที่ทำให้ตลาดของขนมขบเคี้ยวจากผลไม้มีการเติบโตที่สูง โดยผู้จัดทำต้องการ
ศึกษาเกี่ยวกับตลาดขนบขบเคี้ยวจากผลไม้ มุ่งเน้นเป็นขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพ
ซึ่งแผนธุรกิจนี้ต้องการศึกษาและวางแผนธุรกิจให้สอดคล้องกับทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์จุลภาค เพื่อนำมาพัฒนาในการดำเนินธุรกิจ และต้องการให้เป็นธุรกิจ
ผลไม้อบแห้งที่สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

https://today.line.me/th/v2/article/9fbf7e5d78de6bd1c841ad5ec64deb8098528551e58a26ca
e4e0d99dbdfe5f02

ผลไม้อบแห้ง

3

ต้นทุน

วัตถุดิบ รวม 29,250บาท
เเบ่งเป็น

เบกกิ้งโซดา 25บาท/ห่อ
(2 ห่อ/ 50 บาท)



กล้วยน้ำว้า 40บาท/หวี
(150หวี/6,000บาท)



ทุเรียนหมอนทอง 130บาท/กก
(40กก/5,200บาท)



https://www.moc.go.th/index.php/rice-iframe-12.html

ต้นทุน ผลไม้อบแห้ง

4




สตอเบอรี่ 540บาท/กก
(20กก/10,800บาท )




กีวี่ 150บาท/กก
(20กก/4,500บาท)




มะพร้าวน้ำหอม 18บาท/ลูก
(150ลูก/2,700บาท)



ttps://www.kasetprice.com/ราคา/สตรอว์เบอร์รี/วันนี้
http://www.336fruitshop.com/product-category/
https://www.kasetprice.com/ราคา/มะพร้าว/

ผลไม้อบแห้ง

5

ต้นทุน

เครื่องจักร รวม38,700บาท



มีเเค่ เครื่องอบ 12,900/เครื่อง
(3เครื่อง/38,700บาท)

ผลไม้อบแห้ง

6

ต้นทุน

อุปกรณ์ รวม 1,170 บาท เเบ่งเป็น





มีดแสตนเลส 119บาท/เล่ม ชามเเสตนเลส 29บาท/ชิ้น
(5เล่ม/595บาท) (10ชิ้น/290บาท)




เขียงพลาสติก 180บาท/โหล ถุงมือพลาสติก 12บาท/100ชิ้น
(1โหล/180บาท) (500ชิ้น/60บาท)

ผลไม้อบแห้ง

7

แผนต้นทุน

https://buacth-
my.sharepoint.com/:x:/g/personal/mantacha_chum_bu_ac_th/EXdSpU
Fc1DZPjvf89yElz3YBVzI-340shCx0Qkk9Z6xsIg?e=GAI0KJ

ผลไม้อบแห้ง

8

How to วิธีทำ ผลไม้อบแห้ง

Howto วิธีทำ ผลไม้อบแห้ง
1. เลือกผลไม้ที่จะมาทำ ควรเป็นผลไม้ที่สุกแล้วเท่านั้น จะสุกน้อย หรือ
สุกมากก็ได้ ควรระมัดระวังไม่ให้ผลไม้ช้ำ
2. นำผลไม้ไปล้างน้ำให้สะอาด (ควรใช้น้ำเย็นล้าง) นำไปผสมกับเบกกิ้ง
โซดา เพื่อชะล้างพวกสารพิษตกค้าง
3.ปอกเปลือกผลไม้ และเอาเมล็ดออก
4. นำผลไม้ไปแช่ในอ่างน้ำแข็งจะช่วยให้ผิวของผลไม้ลื่นหลุดออกมาได้
ง่ายโดยไม่ต้องใช้มีดปอกเปลือก

https://www.sgethai.com/article/

ผลไม้อบแห้ง

9

How to วิธีทำ ผลไม้อบแห้ง

5. จากนั้นตั้งอุณหภูมิเตาอบประมาณ 130-160 องศาฟาเรนไฮต์ และ
ใช้อุณหภูมิต่ำสำหรับผลไม้ที่หั่นบาง ๆ เช่น กล้วย กีวี่ ทุเรียน มะพร้าว
ส่วนพวกสตรอว์เบอร์รี พวกผลไม้ตระกูลเบอร์รีสามารถใช้อุณหภูมิ
สูงได้ เสร็จแล้วนำมาวางเกลี่ยให้กระจายบนถาดซิลิโคนหรือภาชนะทน
ความร้อนที่ปูแผ่นกระดาษรองอบไว้แล้ว นำผลไม้เข้าเตาอบและนำออก
มากลับด้านทุกๆ 2 ชั่วโมง (หากผลไม้มีชิ้นที่บางลง จับแล้วมีลักษณะ
นิ่ม ๆ หยุ่น ๆ ถือว่าใช้ได้)
เทคนิค ! หากเราต้องการให้ผลไม้สดที่ปอกเปลือก มีสีที่ทำออกมาแล้ว
ยังดูสวย สีไม่เปลี่ยนจากเดิมมาก ควรแช่น้ำเปล่าผสมน้ำมะนาว
ประมาณ 10 นาที แล้วนำขึ้นมาสะเด็ดน้ำให้แห้ง จากนนั้นนำกระดาษ
ทิชชูมาซับน้ำให้แห้งอีกที

https://www.sgethai.com/article/

ผลไม้อบแห้ง

10

ลักษณะของผลไม้อบแห้งที่ดี

ลักษณะของผลไม้อบแห้งที่ดี ควรจะมีดังต่อไปนี้
– ผลไม้ควรจะมีลักษณะเนื้อดีตามธรรมชาติ โดยลักษณะเนื้อต้องไม่
แข็งกระด้าง หรือเกาะติดกัน
– ผลไม้ต้องมีสีตามธรรมชาติของผลไม้ เช่นสตรอว์เบอร์รีมีแดง เมื่อ
แปรรูปอบแห้งแล้วก็ต้องยังมีสีแดงอยู่เหมือนเดิม
– มีกลิ่นและรสชาติต้องมีเดิมตามธรรมชาติ ไม่มีกลิ่นอื่นที่ไม่พึง
ประสงค์
– ต้องไม่มีสิ่งแปลกปลอมในผลิตภัณฑ์ เช่น ดิน เส้นผม ทราย กรวด
ชิ้นส่วนหรือพวกสิ่งปฏิกูลจากสัตว์ เช่น หนู แมลงต่างๆ

https://www.sgethai.com/article/

ผลไม้อบแห้ง

11

วิเคราะห์ตลาดและผลิตภัณฑ์

Strength จุดแข็ง Weakness จุดอ่อน

- ทานง่ายพกพาสะดวก - ผลิตภัณฑ์ไม่มีความ
-มีประโยชน์ หลาย

Opportunities โอกาส Threats อุปสรรค

- ผู้บริโภครุ่นใหม่มีความ -คู่แข่งมีจำนวนมาก
ใส่ใจในสุขภาพมากขึ้น - ผู้บริโภคส่วนใหญ่นิยม
-ผลไม้ไทยเป็ นที่นิยม ผลไม้สดมากกว่า

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

12

ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior Model)
เป้นการศึกษาเหตุจูงใจที่ทำให้เกิดการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ โดยมีจุดเริ่ม
ต้นจากการเกิดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดความต้องการซึ่งสิ่งกระตุ้นจะผ่านเข้า
มาในความนึกคิดของผู้ซื้อ เปรียบเสมือนกล่องดำที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่
สามารถคาดคะเนได้ ความคิดของผู้ซื้อจะได้รับอิทธิพลจากลักษณะต่างๆ
ของผู้ซื้อ และนำไปสู่การตอบสนองของผู้ซื้อ

การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค
เป็นการศึกษาว่า กลุ่มผู้บริโภคมีพฤติกรรมอย่างไรในการดำเนินชีวิต รวม
ถึงการตัดสินใจซื้อและใช้สินค้าหรือบริการอย่างไร

ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ใครคือตลาดเป้าหมาย (Who is target market?)
กลุ่มบุคคลที่ชอบทานผลไม้ ซึ่งสามารถรับประทานได้ทุกเพศ ทุกวัย เพราะ
มีโภชนาการทางอาหารที่ดี และสามารถเป็นของทานเล่นแก้หิวได้

http://it.nation.ac.th/studentresearch/files/56011310532222.pdf

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

13

ตลาดซื้ออะไร (What does the market buy?)
ผลไม้อบแห้ง

ทำไมจึงจะซื้อ (Why does the market buy?)
เพราะเป็นสินค้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการอาหาร และยังสามารถเป็น

อาหารทานเล่นได้

ใครมีส่วนร่วมในการซื้อ (Who participates in the buying?)
กลุ่มบุคคลที่มีความรักในการรักษาสุขภาพ

ซื้อเมื่อใด (When does the market buy?)
เมื่อรู้สึกต้องการเสริมสร้างวิตามินให้แก่ร่างกาย เพื่อสุขภาพที่แข้ง

แรงมากขึ้น

ซื้อที่ไหน (Where does the market buy?)
สามารถสั่งซื้อผ่านระบบช่องทางออนไลน์ต่างๆ หรือสามารถเรียกผ่าน

application ได้

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

14

ทฤษฎีการผลิต

1. แนวคิดเกี่ยวกับการผลิต
- การผลิต หมายถึง กระบวนการในการแปลงปัจจัยการผลิตโดยวิธีต่างๆ
ให้ได้มาซึ่งสินค้าและบริการ
- หน่วยผลิตจะเลือกวิธีการผลิตสินค้าหรือบริการที่ดีที่สุดหรือมี
ประสิทธิภาพที่สุดเพื่ อให้ได้ผลผลิตสูงสุดใช้ปัจจัยการผลิตต่ำที่สุดรวมทั้ง
ให้ได้กำไรสูงสุด
- ฟังก์ชั่นการผลิต (The Production Function) แสดงถึงความ
สัมพันธ์ระหว่างผลผลิตรวม และปัจจัยการผลิตในระยะเวลาหนึ่ง ภายใต้
การทำงานในขณะนั้น

ปัจจัยการผลิต (Factor of Production)
- ปัจจัยคงที่ (Fixed Factor) ปัจจัยการผลิตที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามระดับ
การผลิตไม่ว่าจะผลิต มากหรือน้อยก็ใช้ปัจจัยเท่าเดิม เช่น จำนวน
เครื่องจักรอาคารพื้ นที่ในการผลิต
- ปัจจัยผันแปล (Variable Factor) ปัจจัยที่ไไปตามระดับการผลิต เช่น
จำนวนแรงงาน วัตถุดิบ ไฟฟ้า

https://busit.rmutto.ac.th/UserData/MainPortal/News/News/Data/20200731.0002/Ec
on_CH4.pdf

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

15

ทฤษฎีการผลิต
ระยะเวลาในการผลิต แบ่งโดยความสามารถในการเปลี่ยนแปลง

ปัจจัยการผลิตที่นำมาใช้ผลิต ได้แก่
1.) การผลิตระยะสั้น (Short-run Period) คือ ช่วงเวลาที่ผู้ผลิตไม่สามาด
เปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตได้โดยจะมีปัจจัยอย่างน้อยหนึ่งชนิดเป็นปัจจัย
คงที่ เช่น ฤดูกาลเพาะปลูกของผลไม้ในแต่ละชนิด
2.) การผลิตในระยะยาว (Long-run Period) คือ ช่วงเวลาที่ผู้ผลิต
สามารถเปลี่ยนปัจจัยการผลิตได้ตามต้องการโดยจะมีแต่ปัจจัยผันแปร โดย
ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณปัจจัยการผลิตได้ทุกชนิดตามต้องการ
หรือ ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงขนาดของกิจการ(Sscales of plants)ได้
เช่น การผลิตผลไม้ในระยะเวลาเกินกว่าหนึ่งฤดูกาลเพาะปลูก

https://busit.rmutto.ac.th/UserData/MainPortal/News/News/Data/20200731.0002/Ec
on_CH4.pdf

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

16

ทฤษฎีโครงสร้างตลาด
ตลาด (Market) ในความหมายทั่วๆไป คนมักจะนึกถึงสถานที่ใด

สถานที่หนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น เมื่อพู ดว่ากำลังจะไปตลาด ผู้คนจะ
คิดถึงสถานที่ที่มีผู้ขายจำนวนมากนำสินค้าหลายชนิดออกมาวางขาย แต่
ความหมายของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ จะให้ความหมายที่กว้างกว่า คือ
ตลาดสินค้าชนิดหนึ่งๆจะเกิดขึ้นได้ทันทีเมื่อมีการตกลงซื้อขายกัน โดยผู้ซื้อ
กับผู้ขายอาจไม่จำเป็นต้องพบเจอกันเลยก็ได้ การติดต่อตกลงอาจเกิดผ่าน
ทางโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต หรือติดต่อผ่านคนกลางที่เป็นตัวแทน ตราบเท่า
ที่การตกลงซื้อขายสินค้าสามารถเกิดขึ้นได้ก็เรียกได้ว่าเกิดตลาดสินค้านั้นๆ

โดยทางเศรษฐศาสตร์แบ่งประเภทตลาดออกได้ดังนี้
1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์(Perfect Competition)
2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Competition)
2.1 ตลาดผู้ให้บริการน้อยราย (Oligopoly)
2.2 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Monopoly)
2.3 ตลาดผูกขาด (Monopoly)

https://m.mgronline.com/cyberbiz/detail/9500000034760

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

17

ทฤษฎีโครงสร้างตลาด
จากการวิเคราะห์ ธุรกิจผลไม้อบแห้งที่ข้าพเจ้าและกลุ่มได้ร่วมกันคิด

ขึ้นธุรกิจนี้ขึ้นมา สมควรจัดอยู่ในตลาดประเภทแข่งขันสมบูรณ์ เนื่องจาก
ตรงตามลักษณะสำคัญของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ดังนี้

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์จะต้องมีลักษณะสำคัญดังนี้
1. ผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก การที่ผู้ซื้อและผู้ขายเป็นจำนวนมาก ทำให้
ไม่มีทั้งผู้ผลิต (ผู้ขาย) และผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) คนใดมีอำนาจเด็ดขาดในตลาด
จำนวนสินค้าที่ซื้อขายของผู้ซื้อและผู้ขายแต่ละคนน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบ
กับจำนวนสินค้าที่ซื้อขายกันทั้งหมดในตลาด ดังนั้นการเปลี่ยนแปลง
จำนวนสินค้าที่ซื้อขายของผู้ซื้อและผู้ขายแต่ละคนจะไม่มีผลกระทบต่อราคา
สินค้าในตลาด

http://regis.nstru.ac.th/oatis/learning/FilesAttach/S3183_1415_4_18451_Chapter_
4market.pdf

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

18

ทฤษฎีโครงสร้างตลาด
2. หน่วยธุรกิจสามารถเข้าออกตลาดได้อย่างเสรี ผู้ผลิต(ผู้ขาย) แต่ละรายมี
อิสระที่จะเข้าหรือออกตลาด โดยพิจารณาจากความสามารถของตนเองว่า
จะสามารถขายในราคาที่มีอยู่ในตลาดได้หรือไม่ อีกทั้งจะไม่มีการรวมหัวกัน
ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย

3. ปราศจากกฎข้อบังคับที่เข้มงวดจากรัฐบาล ซึ่งทำให้ปราศจากอุปสรรค
ขวางกั้นการเข้ามาของหน่วยธุรกิจ เพราะไม่ต้องมีใบขออนุญาต หรือไม่มี
ข้อกำหนดคุณสมบัติของหน่วยธุรกิจที่จะเข้ามามีส่วนในการผลิต

4. สินค้าที่ซื้อขายมีลักษณะเหมือนกัน หน่วยธุรกิจทุกหน่วยจะผลิตสินค้าที่
มีลักษณะเหมือนกัน และสามารถทดแทนกันได้ในทุกกรณี ไม่มีการทำให้
สินค้ามีลักษณะแตกต่างจากสินค้าของผู้ผลิต (ผู้ขาย) คนอื่นในตลาด ดัง
นั้นผู้ซื้อจะไม่สนใจถึงแหล่งที่มาของสินค้า เพราะซื้อจากผู้ขายรายใดก็ไม่มี
ความแตกต่างกัน

http://regis.nstru.ac.th/oatis/learning/FilesAttach/S3183_1415_4_18451_Chapter_4mar
ket.pdf

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

19

ทฤษฎีการกำหนดราคาและผลผลิตภายใต้ตลาดเเข่งขันสมบูรณ์
เนื่องจากตลาดที่มีการเเข่งขันสมบูรณ์ ประกอบด้วยผู้ซื้อเเละผู้ขาย

เป็นจำนวนมากภายในตลาดซึ่งส่งผลให้ ผู้ประกอบการไม่มีอิทธิพลใดๆที่จะ
สามารถกำหนดราคา เพราะมีสินค้าในตลาดเป็นจำนวนมาก โดยการกำหนด
ราคาจะเป็นไปตามอุปสงค์เเละอุปทาน ณ เวลานั้น

ดังนั้นเนื่องจากสินค้าของพวกเราก็มีคนขายเป็นจำนวนมากเช่นกัน
พวกเราเลยกำหนดราคาโดยอิงจากความต้องการซื้อเเละความต้องการ
ขายภายในตลาดว่ามีคนต้องการมากหรือน้อยขนาดไหน สินค้าขาดตลาด
หรือไม่ เพื่อที่จะให้ราคาของสินค้าตรงกับตลาดที่ขาย ณ เวลานั้น

http://regis.nstru.ac.th/oatis/learning/FilesAttach/S
3183_1415_4_18451_Chapter_4market.pdf

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

20

ทฤษฎีต้นทุน

ต้นทุน (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่องค์กรใช้ประโยชน์เพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้กำหนดไว้ เช่น ต้นทุนของวัตถุดิบและแรงงาน
ที่เกิดขึ้นเพื่อผลิตสินค้าหรือบริการ และเมื่อต้นทุนได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ธุรกิจแล้ว ต้นทุนส่วนนั้นจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นค่าใช้จ่าย (Expense) ซึ่ง
จะนำไปหักจากรายได้ในแต่ละงวดบัญชี
1.1 การจำแนกต้นทุนตามระยะเวลา เป็นการพิจารณาต้นทุนในการจัดหา
สินทรัพย์และบริการต่างๆ ซึ่งจะต้องสัมพันธ์กับระยะเวลาในการดำเนิน
ธุรกิจของกิจการ โดยสามารถแบ่งต้นทุนออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

1) ต้นทุนที่เกิดขึ้นในอดีต (Historical Cost) คือต้นทุนที่เกิดขึ้น
เมื่อได้มาซึ่งสินทรัพย์หรือบริการต่างๆ และกิจการได้จ่ายชำระเงินสด
สินทรัพย์อื่นใดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดโดยปกติจะใช้ต้นทุนประเภทนี้ใน
การบันทึกบัญชีประกอบกับการจัดทำงบการเงิน แต่ไม่นิยมนำไปใช้ประกอบ
การตัดสินใจปัญหาหรือเหตุการณ์ต่างๆ ในอนาคต เนื่องจากสภาวะ
แวดล้อมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่น ค่าผลไม้

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

21

ทฤษฎีต้นทุน

2) ต้นทุนทดแทนหรือต้นทุนเปลี่ยนแทน (Replacement Cost) คือ
ต้นทุนที่จ่ายไปเพื่ อใช้ในการจัดหาสินทรัพย์มาเปลี่ยนแทนหรือทดแทน
สินทรัพย์เดิม ซึ่งสินทรัพย์ที่จัดหามานั้น ต้องมีลักษณะคล้ายคลึงกับ
สินทรัพย์เดิม เพื่อนำมาเปรียบเทียบต้นทุนประกอบการตัดสินใจในการ
เลือกทางเลือกต่างๆ ว่าควรเปลี่ยนแทนหรือปรับปรุงสินทรัพย์ที่มีอยู่เดิม
หรือควรซื้อสินทรัพย์ใหม่เพื่อทดแทนสินทรัพย์เดิม โดยเปรียบเทียบจาก
ราคาตลาดของสินทรัพย์นั้นๆ เช่น ค่าผลไม้ตามฤดูกาล

3) ต้นทุนในอนาคต (Future Cost) คือต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน
อนาคตเมื่อกิจการต้องตัดสินใจเลือกโครงการใดโครงการหนึ่งในอนาคต
ซึ่งกิจการต้องพยากรณ์ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเพื่ อใช้ในการตัดสินใจ
เลือกลงทุยในโครงการจาดแนวโน้มของต้นทุนจริงในอดีตหรือจากระบบงบ
ประมาณของกิจการ เช่น เครื่องจักรที่ขนาดใหญ่ขึ้นและมีกำลังการผลิต
เพิ่มมากขึ้น ผลไม้หลากหลายชนิดมากขึ้น

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

22

ทฤษฎีต้นทุน

1.2 การจำแนกต้นทุนตามลักษณะการดำเนินงาน เป็นการพิจารณา
ต้นทุนที่เกิดจากดำเนินงานหรือปฏิบัติงานของธุรกิจซึ่งแบ่งได้ 2 ประ
เภทใหญ่ๆ ดังต่อไปนี้

1.2.1 ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Cost) คือ ต้นทุนที่
เกิดขึ้นทั้งหมดในกระบวนการผลิตเพื่ อแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้า
ซึ่งปกติต้นทุนการผลิตจะเกิดขึ้นในธุรกิจผลิตสินค้าเท่านั้น เช่น
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต เป็นต้น

1.2.2 ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิต (Nonmanufacturing
Cost) คือ ต้นทุนอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า ซึ่งจะจำแนก
ต้นทุนโดยพิจารณาตามหน้าที่หรือลักษณะของการปฏิบัติงาน ดังนี้

ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
ที่เกี่ยวข้อง

23

ทฤษฎีต้นทุน

1) ต้นทุนในการจัดซื้อหรือจัดหาสินค้า (Merchandise Cost) ซึ่งเป็นต้น
ทุนในการจัดหาสินค้า เช่น ค่าขนส่งขาเข้า เป็นต้น
2) ต้นทุนทางการตลาด (Marketing Cost) เป็นต้นทุนที่เกิดจากการส่ง
เสริมการขาย หรือแนะนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาด เช่น ค่าโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
3) ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Administrative Cost of
Expense) เป็นต้นทุนจากการบริหารงานโดยรวม เช่น เงินเดือนฝ่าย
บริหาร ค่าใช้จ่ายแผนกบัญชี
4) ต้นทุนทางการเงิน (Financing Cost) คือ ต้นทุนจากการจัดหาเงิน
ทุนมาดำเนินงาน เช่น ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียมต่างๆ เป็นต้น
5) ต้นทุนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research and
Development Cost) เป็นต้นทุนจากการวิจัยหาสินค้าใหม่ๆ หรือพัฒนา
สินค้าที่มีอยู่ให้ทันสมัยจากเดิมเพื่ อตอบสนองความต้องการของทางการ
ตลาดของลูกค้า เช่น เงินเดือนนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ เป็นต้น

บรรณานุกรม 24

BIBLIOGRAPHY

บ ท นำ => https://positioningmag.com/1251032
=>https://today.line.me/th/v2/article/9fbf7e5d78
-ที่ มาและความน่าสนใจของธุ รกิ จ de6bd1c841ad5ec64deb8098528551e58a26cae
4e0d99dbdfe5f02
ผ ล ไ ม้ อ บ แ ห้ ง
=> https://www.moc.go.th/index.php/rice-iframe-
-ต้ นทุนวัตถุดิบ 12.html
-ต้ นทุนเครื่ องจักร => tps://www.kasetprice.com/ราคา/สตรอว์เบอร์รี/วัน
-ต้ นทุนอุ ปกรณ์ นี้
-แผนต้ นทุน => http://www.336fruitshop.com/product-
-How to วิธีทำผลไม้อบแห้ง category/
-ลั กษณะของผลไม้อบแห้งที่ ดี => https://www.kasetprice.com/ราคา/มะพร้าว/
-วิเคราะห์ตลาดและผลิ ตภั ณฑ์ https://buacth-
=>my.sharepoint.com/:x:/g/personal/mantacha_c
hum_bu_ac_th/EXdSpUFc1DZPjvf89yElz3YBVzI-
340shCx0Qkk9Z6xsIg?e=GAI0KJ
=> https://www.sgethai.com/article/

ทฤษฎี ทางเศรษฐศาสตร์ที่ เกี่ ยวข้อง

-ทฤษฎี พฤติ กรรมผู้บริโภค =>http://it.nation.ac.th/studentresearch/files/56011310532
-ทฤษฎี การผลิ ต 222.pdf
-ทฤษฎี โครงสร้างตลาด =>https://busit.rmutto.ac.th/UserData/MainPortal/News/Ne
-ทฤษฎี การกำหนดราคาและผลผลิ ต ws/Data/20200731.0002/Econ_CH4.pdf
=>https://m.mgronline.com/cyberbiz/detail/9500000034760
ภายใต้ ตลาด =>http://regis.nstru.ac.th/oatis/learning/FilesAttach/S3183
-ทฤษฎี ต้ นทุน _1415_4_18451_Chapter_4market.pdf
http://fuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files/Percec
t%20Book%20302%20(2015).pdf
[8]รุธีร์ พนมยงค์ , “PONGSAWAN,” 2548. [ออนไลน์]. Available:
https://goo.gl/4QZe65. [%1 ที่ เข้าถึ ง15 2 2560].9]มนวิกา ผดุง
สิทธิ์, การบัญชีต้ นทุน, กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2556.
[10]โสรญา ม่วงกรุง, “ต้ นทุนการผลิ ตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลั ยศรีนครินทรวิโรฒ,” มหาวิทยาลั ยศรีนครินทรวิโรฒ,
กรุงเทพฯ, 2557.
[11]เบญจมาศ อภิ สิทธิ์ภิ ญโญ, การบัญชีต้ นทุนเบื้ องต้ น,กรุงเทพฯ: ซี
เอ็ ดยู เคชั่น, 2556.

25

ภาคผนวก

26

27

ลูกพลัม, ลูกแพร์, ลูกพีช, กล้วย
และแอปเปิล นำเข้าเตาอบผลไม้แห้ง

ประมาณ 6 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ
ประมาณ 50-60 องศา

องุ่นและเปลือกส้มซิตรัส เขาเตาอบ
ผลไม้แห้ง ประมาณ 8-10 ชั่วโมง ที่

อุณหภูมิ 50-70 องศา

เชอร์รี, สตรอว์เบอร์รี และแอปริคอต
ใช้เวลาในการอบแห้ง ประมาณ 12
ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 50 องศา

28


Click to View FlipBook Version