The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pxrchepxrche58, 2022-04-20 22:44:00

งานส-.2

งานส-.2

ประเพณีตา่ งๆในจังหวดั สกลนคร

งานบุญต่างๆทมี่ ีปฏบิ ตั ิการก่อนอยู่นั้นปรากฏอยู่ในฮีตสบิ สอง คำวา่ ฮีต มีความหมายว่า
ขนบธรรมเนียมประเพณีแบบแผนความ ประพฤตดิ ีงาม ประเพณีฮตี ในอีสาน งานบุญตา่ งๆในอสี าน เปน็ งาน
บญุ ท่ไี ด้รับการยอมรบั และประชาชนยัง ยดึ มน่ั ในขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเหนยี วแน่นโดยเฉพาะงานบุญ
ผะเหวด มปี รากฏอยู่ในจังหวดั ของภาคอสี าน โดยเฉพาะท่ีอำเภออากาศอำนวยจงั หวดั สกลนคร มชี นกลุ่มน้อย
ท่ีเป็นชาวโย้ย มรี ปู แบบประเพณีงานบุญฮตี สบิ สอง ชิน้ งานบุญผะเหวดที่ได้ ปฏบิ ตั ิสบื ทอดกันมาตลอด

บญุ ผะเหวดหรือบุญพระเวส

บุญผะเหวดเป็นงานบุญทช่ี าวอีสานยังคงปฏบิ ัตแิ ละมีความศรัทธาในการฟังเทศนเ์ ร่อื งพระ
เวสสันดร เปน็ เรอื่ งของพระพุทธเจา้ สมณโคดม พระพทุ ธเจ้าองค์ท่ี 4 ไดเ้ สวยชาติเป็นพระเวสสนั ดร ซึง่ เปน็
ชาติสุดท้าย ก่อนทจ่ี ะได้ตรัสรู้มาเปน็ พระพุทธเจ้าในเวลาตอ่ มา ชาวสกลนครนิยมทำบญุ ผะเหวดในเดือน
มีนาคม-เมษายนของทกุ ปี อาจจะชา้ หรือเรว็ กวา่ นี้ก็มีบา้ งในบางหมบู่ า้ นเน่ืองด้วยมคี วามเชอ่ื ว่าหากใครได้ฟัง
เทศน์เรอื่ งพระเวสสันดรชาดกจบภายใน 1 วนั จะทำให้ได้บุญกศุ ลมาก และจะได้พบกบั พระศรอี าริยเมตไตร

บุญขา้ วประดบั ดนิ

นยิ มทำในวนั แรม 13 ค่ำเดือน 9 ของทุกปี เมอ่ื ถึงวนั ดงั กลา่ วประชาชนจะนำอาหาร หวาน
คาว หมากพลู บหุ ร่ีแบ่งเปน็ 4 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 แบ่งไวเ้ ลยี้ งดคู รอบครัว ส่วนที่ 2 แบง่ ไว้เล่นญาติพ่ีนอ้ งสว่ นที่
3 แบ่งถวายพระสงฆ์และสว่ นที่ 4 จัดอาหารคาวหวานเปน็ หอ่ ให้ได้พอสมควรแล้วเย็บตดิ กันเปน็ หอ่ ใหญ่ นำไป
วัดในเวลา 05:00 น. จะเอา ไปวางไวต้ ามใตต้ น้ ไมบ้ ริเวณวัดโดยถอื ว่าญาติทีต่ ายไปแล้วจะมารับส่วนบุญอยู่ท่ี
น่นั เวลาท่เี หลือกจ็ ะนำอาหารไปถวายใดผสมต่อไป

งานประเพณแี ข่งเรือ ออกพรรษาและแห่ปราสาทผ้งึ

งานนชี้ าวสกลนครรว่ มกับองค์การสง่ เสริมการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยจัดเป็นงาน
ระดบั ชาติกจิ กรรมก็คือจัดให้มีการแข่งเรือฝีพายหลายประเภททั้งทีมชายและทมี หญงิ ผู้ชนะจะได้รบั รางวัล
ถว้ ยพระราชทานจากสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็น
ประจำทกุ ปี จากนน้ั จะเป็นกิจกรรมทำบุญออกพรรษา และสดุ ท้ายจะเปน็ งานแหป่ ราสาทผง้ึ โดยจะมีขบวน
แห่ปราสาทผึ้งจากอำเภอคมุ้ ส่วนราชการตา่ งๆส่งเข้าแห่ในขบวนและจะมีการประกวดการจัดทำประสาท มี
การประกวดเทพีปราสาทผึง้ และมาก และมหรสพสมโภช แล้วนำประสาทผึ้งไปถวายตามวดั ตา่ งๆในเขต
เทศบาลเมืองสกลนคร

ไตป้ ระทปี

ในวนั ข้นึ 15 ค่ำนั้น ทางวดั จะจัดทำเรือไฟขึน้ หรือทำเป็นหา้ งร้านข้ึนในเขตวดั ตรงหน้า
โบสถโ์ ดยใชเ้ สาไมไ้ ผ่หรือต้นกลว้ ยเสรจ็ แลว้ ตอนกลางคืนนำประทปี ธปู เทียนมาจดุ ตง้ั ไวบ้ นเรอื หรอื หา้ งรา้ น ที่
ทำนนั้ ใหส้ ว่างไสวเพ่ือบูชาพระรตั นตรัยทำอยู่ 3 คนื ถอื ว่าไดบ้ ญุ กุศลมาก ยังมีประทปี ชนิดหน่ึงที่ชาวพน้ื เมือง
ทำขนึ้ เพอ่ื บูชาพระรตั นตรัยและถือวา่ เป็นประเพณมี าแต่โบราณท่ีเรยี กว่าจดุ นำ้ มนั ตูมกาน้ำมนั คอื น้ำมนั ผลไม้
ตา่ งๆเชน่ น้ำมันมะพร้าวน้ำมันงาเป็นตน้ ตูมกาเปน็ ชอื่ ผลไม้ชนดิ หน่ึงมีรูปรา่ งคลา้ ยผลมะตมู แต่เล็กกว่าและมี
เปลือกบางกวา่ ควกั เอาเนื้อขา้ งในตรงกลางออกใช้บรรจนุ ้ำมันมะพร้าวไส้ท่ีใช้จดุ จะได้พนั 3 เส้นปลายขา้ งหนึ่ง
รวมโผล่ข้ึนมาให้ใช้จุดปลายอีกข้างหนง่ึ ซ่ึงอยใู่ นน้ำมันแยกออกเปน็ 3 แฉก ใหต้ ั้งได้ซงึ่ เรียกวา่ ตีนกา เสรจ็ แล้ว
เราจะได้อาชีพชนดิ หนงึ่ ทเี่ รยี กว่าน้ำมันตมู กาใช้สำหรับจดุ บชู าพระรตั นตรัย ในวันออกพรรษา แสดงถึงพูดว่า
ตอ่ ไปจะมชี ีวติ ทีร่ งุ่ โรจนด์ จุ ประทีปทจี่ ดุ น้ี

ตน้ ดอกเผง่ิ

คำว่าตน้ ดอกเผ่ิง ไดแ้ ก่ปราสาทผ้งึ คือเอากบั กล้วยมาแทงเปน็ นายเรียกว่าแทงหยวก
แลว้ ทำเปน็ ประสาทขนึ้ ใช้ข้ผี ้ึงตม้ ให้เป่อื ยแลว้ ทำเปน็ ดอกไม้ตา่ งๆหรอื ทำเปน็ แผ่นแล้วแต่ความตอ้ งการของคน
ทำนำมาเสียบตดิ กบั กาบกล้วย ท่ีทำปราสาทน้นั เสร็จแล้วรวมเรยี กว่าปราสาทผงึ้ พ้ืนเมอื งเรียกวา่ ต้นดอกเผ่ิง
เครื่องประดับมีเพื่อพระรตั นตรัยบา้ งเพ่ือแกบ้ นบา้ งซึง่ ถือเป็นประเพณีสบื มาจนถึงทุกวนั น้ีปจั จบุ ันน้ีการทำ
ปราสาทผ้ึงในจงั หวัดสกลนครไดจ้ ดั ใหม้ ีการประกวดปราสาทผึ้งของคณะคุ้มต่างๆดังนั้นประชาชนแต่ละคุ้มจึง
พร้อมใจกันทำประสาทข้นึ ด้วยความประณตี สวยงามตลอดจนมลี วดลายต่างๆท้ังน้เี พือ่ เป็นการรกั ษาไว้ซึง่
ประเพณแี ละเป็นการส่งเสรมิ ศลิ ปะกรรมของพ้นื เมืองให้คงอยู่

ปลอ่ ยเฮอื ไฟ

เฮือไฟ คือเรือที่ทำด้วยต้นกล้วยหรือไม่ไผ่ยาวประมาณ 1 เส้น จดุ กะไต้ให้สวา่ ง
เรียกวา่ เฮือไฟ ภาคกลางเรียกว่าลอยกระทง ซ่งึ นยิ มทำและปล่อย ในวันขน้ึ 15 คำ่ ประมาณ 19:00 น ให้ได้
เรยี นนนั้ มขี ้าวต้มขนมฝา้ ยไหมดอกไมธ้ ูปเทยี นและสงิ่ ของต่างๆที่บรรดาสาธุชนทงั้ หลายมีจิตศรัทธา พอถงึ เวลา
ตามกลมุ่ ต่างๆจะนำเรือของตัวเองออกไปกลางแมน่ ้ำในขณะทนี่ ำเรือออกไปนกี้ ็ต้องตฆี ้องกลองเสยี งสนนั่
หวั่นไหวไปท่วั ตามแมน่ ำ้ เป็นการสนุกครึกครืน้ ประมาณดูว่ากลางนำ้ แลว้ ปล่อยเรือให้ลอยไปตามสายน้ำคร้ัน
แล้วก็ตา่ งแยกย้ายกันกลบั กันเป็นเสร็จพิธี

วฒั นธรรมการกนิ ของชาวสกลนคร

สกลนครประกอบด้วยชนเผา่ ต่างๆ 6 เผา่ ซ่ึงมีเผ่าหลกั คอื ชาวภไู ทและไทยอีสานโดยเฉพาะชาวไทย
อสี านมจี ำนวนมากทสี่ ุดดงั นน้ั วฒั นธรรมการรับประทานอาหารโดยท่ัวไปของชาวสกลนครกจ็ ะมลี ักษณะ
เช่นเดยี วกนั เหมอื นกับท้องถิน่ อ่นื ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และนอกจากน้ีก็มีชาวจีนและชาวเวียดนามเขา้
มาพักอาศัยซง่ึ มีวัฒนธรรมอาหารการกนิ เข้ามาสอดแทรกบ้างเพราะเปน็ เอกลกั ษณเ์ ช่นแหนมเนืองหมยู อ
กนุ เชียงเปน็ ต้น วฒั นธรรมอาหารการกนิ ท่ีพอจะเปน็ เอกลักษณโ์ ดดเดน่ และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของชาว
สกลนคร ได้แก่ แกงหวาย แกงหน่อไม้ ซุปหน่อไม้ ไก่ยา่ ง ไขป่ ิ้ง และเนื้อโคขุนโพนยางคำเปน็ ตน้

แกงหวาย

ไหวเ้ ป็นพืชอายุสนั้ ลำตน้ มีหนามเก่ยี วพนั ดว้ ยการเพาะเมลด็ แตกหน่อและเจริญเตบิ โต
ตลอดปศี ตั รูไม่ค่อยรบกวนมปี ระมาณ 50,000 บาทแต่ที่นิยมปลูกมี 2 สายพันธุ์คอื หลายชนิดนำ้ ขาวและหลาย
ชนิดนำ้ เขียวอ่อนของหวายสามารถนำมาประกอบอาหารได้ ลำต้นแกน่ ำไปจักสาน ทำเคร่ืองใชใ้ นครวั เรือนได้
หลายชนิด ไหวท้ ใ่ี ชน้ ำมาทำอาหารจะใชห้ น่อหวายหนอ่ ยใหญ่ทีม่ ลี กั ษณะอว้ นๆของลำต้นจากกอหวายซึ่ง
โดยทัว่ ไปไว้ทป่ี ลกู สำหรับใช้หน่อรับประทานจะตัดหน่อไดเ้ ม่อื อายุประมาณ 2 ปแี ละจะต้องระมัดระวงั ในการ
ตัดเน่อื งจากหวายมหี นามทีแ่ หลมคมมากเม่ือได้มองภายในลำตน้ แลว้ กม็ า ปอกส่วนทแี่ ข่งหรอื เปลอื กออกเลือก
เอาเฉพาะส่วนดา้ นในทอี่ ่อนเช่นเดียวกับหนอ่ ไม้ตดั เป็นท่อนพอดีคำหรอื ทำเป็นช้ินบางๆแช่นำ้ ท้งิ ไว้ประมาณ
10 นาทีนำไปตม้ ใหห้ ายจากรสขมเช่นเดยี วกนั กบั หน่อไม้เสรจ็ แลว้ นำไปทำแกงอ่อมได้

ไกย่ ่าง ไขป่ ้งิ

ไก่ยา่ ง ไขป่ ิ้งเปน็ อาหารที่ ขึน้ ช่ืออย่างหนึง่ ของชาวอำเภอพังโคนซึ่งอยูห่ ่างจากตวั จังหวดั
สกลนครไปทางทิศตะวันตกประมาณ 53 กโิ ลเมตรโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงไขป่ ้งิ พังโคนจะมลี ักษณะพิเศษเป็น
เอกลกั ษณ์ทางด้านวฒั นธรรมอาหารการกินของคนนครทม่ี ีรสชาติอร่อยไม่เหมือนใคร ไข่ป้งิ ไม่ใช่การนำไข่ไป
ยา่ งบนเตาไฟแตเ่ ป็นการนำไข่ มากระทบเปลือกออกแล้วนำไขแ่ ดงและไข่ขาวมาปรุงดว้ ยเครอื่ งปรุงตีให้เข้ากนั
แล้วจึงนำกรอกลงไปในไข่อกี ครง้ั หน่งึ ซง่ึ จะนำไขท่ ี่ได้ไปนึ่งใหส้ กุ เมือ่ สุกแลว้ จะนำมาเสียบได้ไหมไผ่แต่แยกดว้ ย
ไฟออ่ นใหม้ ีรสชาติของความหอมดว้ ยไฟอีกครงั้ หน่ึง ไข่ป้ิงของสกลนครจงึ มีลักษณะพิเศษมีรสชาติอรอ่ ยหอม
น่ารับประทาน โดยอาจจะรบั ประทานกบั ขา้ วเช่นเดยี วกบั อาหารปกติ ทานเปน็ กบั แกล้มหรือทานร่วมกบั
อาหารอย่างอน่ื ก็ได้นะเปน็ อาหารทม่ี ีคุณคา่ ทางโภชนาการอยา่ งหนง่ึ

เนือ้ โคขุนโพนยางคำ

เนื้อโคขนุ โพนยางคำ มเี นื้อนุ่มไมเ่ หนียวรสชาตอิ รอ่ ยสามารถนำมาทำอาหารได้หลาย
อย่าง แตท่ ่นี ิยมรับประทานได้แก่เนือ้ ย่างโพนยางคำเน้ือสเต็กซงึ่ อาจจะรับประทานเป็นอาหารตามปกติ

ธรรมดาหรอื ทานเป็นกบั แกลม้ กไ็ ด้ ส่วนราคาของเนอ้ื โพนยางคำจะมีราคาสงู มากโดยเฉพาะเนอ้ื สันในราคา
กโิ ลกรมั ละ 480 บาทหรอื สนั นอก 405 บาท เร่ือยลงไปจนถงึ เนือ้ บดตดิ มันราคากโิ ลกรัมละ 113 บาท แต่ก็
เป็นท่ีต้องการของคนทัว่ ไปและชาวต่างประเทศซง่ึ ทำรายได้ท่ีดใี ห้แก่สมาชกิ จึงนบั เป็นสหกรณ์การเลยี้ งปศุสตั ว์
ท่ปี ระสบผลสำเรจ็ แห่งหน่งึ ของประเทศจนไดร้ ับพระราชทานโล่เกียรติยศจากสหกรณ์ปศสุ ตั ว์ดเี ด่นจากสมเดจ็
พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

วัฒนธรรมการใช้ภาษาถนิ่ ในแตล่ ะชนเผา่ ในจงั หวัดสกลนคร

ภาษาถิน่ ในจังหวดั สกลนครภาษาถิน่ สกลนครมีหลายภาษาเน่ืองจากมกี ลุ่มชาติตพิ นั ธ์ท่ีมาตง้ั
ถิน่ ฐานอย่ใู นเขตจังหวัดสกลนครจำแนกได้ 6 กลุ่มคือกลุม่ ไทยลาว กลุ่มภูไท กลมุ่ ย้อ กลุ่มกะเลิง กลุม่ โยย้ และ
กลุ่มโซ่ แต่ละกลุ่มจะมภี าษาพดู ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง

ไทยลาว

เป็นกลุ่มชาตพิ ันธท์ุ ่ีใหญท่ ีส่ ุดในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของไทย คำวา่ ไทยลาว เป็น
คำทีม่ รี ากศัพท์มาจากภาษาเดิม ปจั จุบนั เปน็ คำท่ใี ช้เรียกกลุม่ คนไทยท่ีอยู่เหนือลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ภาษาถ่นิ
ไทยลาวในจังหวดั สกลนครมีใชส้ ือ่ สารกันอยทู่ ่วั ไปสำเนยี งพูดสงู ต่ำๆไพเราะน่าฟัง คำทมี่ ีเสยี งวรรณยุกตส์ ามญั
วรรณยุกตโ์ ทในภาษากลาง จะเป็นเสียงวรรณยกุ ต์โทและสามัญในภาษาถ่ินเชน่

คน,งาม ในภาษาถน่ิ ไทยลาวออกเสยี ง คน่ ,ง่าม

พอ่ ,แม่ ในภาษาถิน่ ไทยลาวออกเสยี ง พอ,แม

ภูไท

เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ใหญร่ องลงมาจากไทยลาว ชาวภไู ทสกลนครจะอยทู่ ี่อำเภอวารชิ
ภูมิ อำเภอพรรณานคิ ม อำเภอเจรญิ ศิลป์ อำเภอส่องดาว อำเภอคำตากล้า อำเภอเตา่ งอย อำเภอบา้ นม่วง
อำเภอนิคมน้ำอูน ภาษาภูไทจะมีภาษาของลื้อและภาษาของลาวตะวนั ออกปนอยดู่ ว้ ย ภาษาภไู ทมีเสียงพดู
ส่วนมากใกลก้ บั พวกพวน เขตเชยี งขวางของลาว และพวกพวน ในอำเภอศรเี ชยี งใหมจ่ ังหวัดหนองคาย ชาวภู
ไทถึงสกลนครจะมีภาษาพูดและเสยี งวรรณยกุ ตใ์ กลเ้ คยี งกับภาษากลางมักจะทอดเสยี งยาวและตวัดเสียงสูงข้นึ
ในพยางคท์ ้ายเชน่

ไม่ ในภาษาภไู ทจะออกเสยี งว่า ม,ิ มไิ ด้

ย้อ

กลมุ่ ชาวญ้อส่วนใหญจ่ ะอยู่ในเขตอำเภอเมือง อำเภอวานรนวิ าส และบางสว่ นจะอยู่
ในเอำเภอสวา่ งแดนดนิ ยอจะมภี าษาพูดและสำเนียงคลา้ ยภาษาไทยกลางมากท่ีสุด เวลาพูดจะทอดเสียง
ไพเราะ เอกลกั ษณ์ของชาวญ้อสกลนครคือคำว่า ละเบ๋อ ซ่ึงเปน็ สร้อยประกอบทา้ ยเพือ่ นอกั แน่นทำให้เกดิ
ความมั่นใจ คล้ายๆทำนองเดียวกบั คำว่าจริงๆนะ เสยี ง /ญ/ ชาวญอ้ จะออกเสียงนาสกิ สระ/อำ/ ในคำว่า น้ำ
ซ่ึงภาษาไทยกลางจะทอดเสยี งเลก็ นอ้ ยเพ่อื ให้ลนื่ หู แต่ชาวญอ้ จะออกเสียง/อำ/ ตามตรง เพียงแต่วรรณยุกต์
จะคาบเก่ยี วกนั ระหว่างวรรณยุกต์โทและจัตวา เชน่ นำ่ ,นำ๋

กะเลงิ

กเ็ ริม่ เปน็ กลมุ่ ชนท่ีอาศยั อยูใ่ นเขตอำเภอกดุ บาก บา้ นดงมะไฟบา้ นนายอ ในอำเภอ
เมือง และตามบรเิ วณหนองหาน มีภาษาพูดใกล้เคียงกบั ภาษาไทยลาวและเยาะเยย้ สำเนียงและจังหวะในการ
พูดของชาวกะเลิงจะสั้นกวา่ และหว้ นกวา่

กะโซ่

ชาวกระซเู่ ปน็ กลมุ่ ชนท่ีอาศยั อยแู่ ถบเทอื กเขาภูพานบริเวณหนองหาน และ
อาศยั เปน็ กล่มุ ใหญ่ท่ีสุดในอำเภอกสุ มุ าลย์ มภี าษาพดู และสำเนียงคล้ายๆเขมรและมอญ เนอ่ื งจากชาวกระโซม่ ี
เฉพาะภาษาพดู ไม่มตี วั อักษรใช้ ดงั นนั้ การสอื่ สารดว้ ยภาษาเขยี นจึงต้องยืมอักษรไทยกลางสอื่ ความหมาย
ลกั ษณะเดน่ ของภาษากระโซ่ คอื ออกเสียงควบกล้ำ ร,ล ชัดเจนมาก พยางค์หนา้ ของคำมักมีเสียง/อะ/อัง/อัน/
ซ่งึ จะออกเสียงส้ันและเบา เช่นคำว่า จะปวก(เหย่ือ) คำทีม่ เี สยี ง/ล/ สะกดจะออกเสยี งคล้ายตัว L ใน
ภาษาอังกฤษ สระ/เอยี /มกั ลากเสยี งยาวเป็น/เอีย-อา/

โย้ย

ชาวโยย้ จะอาศัยอยู่แถบอำเภออากาศอำนวย อำเภอวานรนวิ าสและอำเภอสว่าง
แดนดนิ มีสำเนยี งพูดทอดเสียงยาว และออกเสยี งหนักทกุ พยางคเ์ อกลกั ษณข์ องชาวญอ้ คือมีคำสร้อยคำว่า ฮอ่
ทา้ ยประโยคคำถามเสมอทำนองเดียวกบั คำว่าหรือ หรอื ไม่ เชน่

กิ๋นเข๋าแล่วฮ่อ (กินเขา้ หรือยัง)

ม่าแล่วฮ่อ (มาแล้วหรือ)

ปัจจบุ ันผูค้ นในจงั หวัดสกลนครใช้ภาษาไทยกลางในการติดต่อกับหนว่ ยงานราชการและบุคคลท่ัวไปแต่กย็ งั คง
ภาษาถน่ิ ของตนเองไว้อยา่ งม่ันคง

ตวั อย่างการใลภ้ าษาถนิ้ ในจังหวดั สกลนคร

ไทยกลาง ยอ้ ภไู ท กะโซ่ กะเลงิ โยย้ ไทยลาว

ผ้าขาวม้า ผา่ ขาวม้า พาหาวมา้ เปรปะโด ผา่ ขาวมา่ ผา่ ขาวมา่ ผา่ คำมา่
ข้าว เข่า เคา้ อะวะ เขา่ เข่า เขา่
นำ้ ดื่ม นำ้ กิ๋น นำ้ กนิ๋ เดอะงวด นา่ มกิ๋น นา่ มกิ๋น น่ามก๋ิน
เนื้อวัว เนอ้ื งัว เนือ้ โง แซค็ อะเตาะ เน่ืองวั เนอ่ื งัว ซ่นิ งัว

วฒั นธรรมการดำเนนิ ชีวิตในแตล่ ะพ้นื ท่ที ี่แตกต่างกันในจงั หวัดสกลนคร

ภไู ท

ชาวภไู ทมกี ารกระจายตวั อยู่ทัว่ ไปในหลายอำเภอ เช่น อำเภอเจรญิ ศิลป์ อำเภอส่องดาว
อำเภอพังโคน อำเภอคำตากล้า อำเภอเต่างอย อำเภอบา้ นม่วง อำเภอนคิ มนำ้ อนู อำเภอพรรณานิคม อำเภอ
วาริชภูมิ และในตวั เมืองสกลนครเป็นบางส่วน การทำมาหากินของชาวภไู ท ชาวภูไทเป็นคนขยันทำหลาย
อาชพี เช่น ทำไร่ ทำนาย ค้าวัวควาย นำกองเกวยี นไปขายต่างถน่ิ เรียกว่านายฮอ้ ย ซึง่ นบั เปน็ กลมุ่ ชนทข่ี ยัน
ขนั แข็งและประหยดั มธั ยัสถ์ การมวี ิถีชวี ิตการอยอู่ าศัยแบบภไู ท อีกทง้ั ยงั มกี ารทอผ้าลายมกุ ที่อำเภอโพนนา
แก้ว ซึง่ สบื ทอดกนั มานาน ปัจจบุ ันนมี้ ีชาวภูไทได้รวมตัวกันเป็นกลมุ่ อาชีพผลติ ผา้ ลายมุกขายในเชงิ ธรุ กจิ ช่าง
ผลิตผ้าลายมุกล่ะว่าแตเ่ ดิมจะใช้ฝ้ายท่ยี ้อมครามหรอื ย้อมดำหม้อไทยมาทอ ปจั จุบันใช้ได้สำเร็จรปู ทขี่ ายใน
ท้องตลาดมาทอ ผ้าลายมุกจะเกบ็ ปลายทางยาวผา้ ลายขิดจะเกบ็ ลายทางขวางผา้ มัดหมจี่ ะมัดด้ายขาวแลว้
นำไปยอ้ มครามก่อนจงึ นำมาทอเก็บรายตามทยี่ ้อมไว้ทหี ลงั ในปัจจุบนั ผ้าลายมกุ สามารถประยกุ ต์ทำเปน็ ผ้าถุง
ผา้ ตัดเสอ้ื ผ้าม่าน ผ้าหม่

ญ้อ

ชาวไทญ้อชอบตงั้ ถนิ่ ฐานอย่ใู กล้แม่นำ้ และมีการกระจายตวั อยู่ทั่วไปตามภาคอีสาน ซึ่งใน
สกลนคร ชาวไทญอ้ ได้อาศยั อยู่ท่ี อำเภอเมอื งสกลนคร อำเภอสว่างแดนดิน อำเภอกุดบาก วิถีชีวติ ของชาว
ไทญ้อ ลักษณะนิสยั ใจคอของไทญ้อส่วนมากทส่ี ดุ คือ ซ่ือสตั ย์ สุจรติ รักสงบ มคี วามสามัคคีม่นั ไมว่ ่าจะมีอะไร
เช่น การทำบญุ การปลูกบ้าน ทำนาจะวา่ นหรอื วานกัน ชาวไทญ้อมีอาชีพด้านเกษตรกรเปน็ หลกั โดยการ
เพาะปลูกพืชเศรษฐกจิ ซ่งึ สว่ นใหญไ่ ดแ้ ก่ ข้าว กลว้ ย อ้อย สับปะรด ยาสูบ และพชื ผัก ผลไม้ตามฤดกู าล
รองลงมาไดแ้ ก่ อาชพี เลี้ยงสัตว์ และจบั สตั วใ์ นลำน้ำ เน่อื งจากว่ามกี ารต้ังถ่ินฐานอยู่ใกล้ลุ่มน้ำ เช่น หนองหาน

ไทโย้ย

รปู แบบการตง้ั ถ่ินฐานของไทยโย้ย ต้ังแต่อดีตนิยมต้ังใกล้กับแมน่ ้ำโดยเฉพาะแหลง่ น้ำ
ไหล เช่น แม่น้ำโขง แมน่ ำ้ ยาม หรือลำหว้ ยตา่ งๆเพื่อใชเ้ ป็นแหล่งทำมาหากนิ เพราะมีการสั่งสมทับถมของซาก
พชื ซากสัตว์เหมาะแก่การทำนาแม่เส่ยี งต่อการถกู นำ้ ทว่ มขังในชว่ งน้ำหลาก สว่ นทอี่ ย่อู าศยั ในจะตั้งอย่บู นพ้ืนที่
สูงหรืออยู่ใกล้กับแหล่งน้ำเพราะเป็นเดือนสงู 2 ชัน้ ถงึ ไม่เป็นปญั หาในการดำรงชวี ติ คนโยย้ ตั้งแตอ่ ดีตจนถึง
ปัจจบุ ันส่วนใหญจ่ งึ ทำการเกษตร โดยมอี าชีพทำนาและประมงเปน็ หลัก ซ่ึงการปลูกข้าวในอดีตน้ันนยิ มปลูก
ขา้ วเหนียวเพยี งอย่างเดียว แตป่ จั จุบันได้ปลกู ทงั้ ข้าวเจ้าและขา้ วเหนียวด้วยจะเกบ็ ขา้ วเหนียวไวก้ ินขา้ วเจ้าจะ
ปลกู เอาไว้ขาย นอกจากน้ยี ังนิยมทำไร่ทำสวนเช่น ไรฝ่ ้าย สวนคราม และปลูกผกั สวนครวั ตามตล่งิ งามยาม
และยงั ทอผา้ ไว้ขาย

กะเลงิ

ในอดตี ชาวกลึงมกั จะทำข้าวไรแ่ ละเกบ็ ของป่าล่าสตั ว์ แต่เมือ่ อยรู่ ่วมกับคนลาวมาก
ขึ้น เช้ากล็ มื ได้หันมาทำนาในท่ีลุ่มใช้เทคนิควิธีเหมอื นกับคนไทลาว เช้าก็ลืมบริโภคข้าวเหนยี วเป็นหลกั สว่ น
ข้าวเจา้ น้ันเป็นส่วนเสรมิ ส่วนมากจะปลูกขา้ วโพด มนั สําปะหลัง มัน แตงกวา หอม มะเขือเทศ มะละกอ
กลว้ ย มะนาว ขนุนและผักผลไมอ้ ื่นๆ อดตี เคยปลูกฝา้ ยและทอผา้ แตป่ ัจจุบันไม่ไดป้ ลูกแล้ว ชาวกะเลิงมกั จะ
เลีย้ งสตั ว์เช่น ควาย ววั หมู เป็ด ไก่ ชาวกะเลิงล่าสตั วใ์ นป่าหรือในทงุ่ เช่น นก กระต่าย ลงิ งแู ละสัตวอ์ ่นื โดยใช้
ปนื ไฟหนงั สติ๊กหรอื กลบั ดัก และบางกลุ่มทอี่ ยู่ใกลก้ ับแม่นำ้ ใหญ่ การตกปลาหรือการหาปลาก็เป็นทรัพยากร
สำคญั สำหรับเปน็ อาหารในการใชช้ ีวิตประจำวัน ในการหาของปา่ ชาวกะเหร่ยี งยงั เก็บเหด็ หน่อไม้ จกั จนั่ มา
บริโภคดว้ ย พวกเขาร้จู กั การใช้สมนุ ไพรที่หามาจากป่าเพ่ือรักษาโรค

กะโซ่

ชาวโซสว่ นใหญจ่ ะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาทำไร่ ปลูกพชื เลีย้ งสตั ว์
มาตัง้ แต่อดีต ดว้ ยความที่ใกล้ชดิ และมปี ฏิสัมพนั ธก์ ับผู้ไท ญอ้ โยย้ ไทลาว จงึ มีวถิ ีชวี ติ ความเป็นอยคู่ ลา้ ยคลงึ
กบั คนเหลา่ น้ัน การประกอบอาชพี ก็มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั

ไทลาว

ไทลาว ในระยะเริ่มต้นการต้ังภมู ลิ ำเนาของกลมุ่ ชาวไทยลาว นยิ มต้งั เป็นหม่บู า้ น
เป็นกลมุ่ บนดอนเรยี กตามภาษาทอ้ งถ่ินวา่ โนน โดยยดึ ทำเลการทำนาเป็นหลกั บรเิ วณรอบหมูบ่ ้านจะมีท่รี าบ
ล่มุ กวา้ งใหญม่ หี นองน้ำหรือลำน้ำเล็กๆ ทม่ี นี ำ้ สำหรับบรโิ ภคในฤดูแลง้ จากอดตี จนปัจจุบนั ยงั ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมเป็นหลกั นอกจากนัน้ ยงั มกี ารจับปลาเป็นอาหารและชาวไทยลาวยงั ทำอตุ สาหกรรมในครวั เรือน
เช่น ป้ันหมอ้ ทอผ้า สานตะกรา้ เลยี้ งสัตว์ อยา่ งไรกต็ ามเกษตรกรรมในชุมชนในปัจจบุ ันมีความเปล่ียนแปลง

แตกต่างจากอดตี อย่างมากทั้งในเรื่องความซับซ้อนของการผลติ และการบริโภค วถิ ีชีวติ ประจำวนั การ
เคลื่อนยา้ ยแรงงานทเี่ ชอื่ มโยงกบั เศรษฐกจิ สังคมภายนอกอย่างรวดเรว็

บรรณานุกรม

สพสนั ต์ิ เพชรคำ. (2560). ประวตั ิศาสตร์ท้องถ่นิ สกลนคร. สกลนคร : สถาบนั ศลิ ปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร.

สุรัตน์ วรางคร์ ตั น์. (2537). ประวตั ิศาสตร์สกลนคร. สกลนคร : สกลนครการพมิ พ์
สุรตั น์ วรางค์รตั น์. (2540). ระบบข้อมูลวัฒนธรรมจงั หวดั สกลนคร. สกลนคร : โครงการผลิตสื่อปฏสิ มั พนั ธ์

ศูนยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม สถาบนั ราชภัฏสกลนคร.
สุรัตน์ วรางคร์ นั ต์. (2537). ศิลปวัฒนธรรมสกลนคร. สกลนคร : ศนู ยศ์ ิลปวฒั นธรรม

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร.
ลดั ดา พนสั นอก. (2538). วัฒนธรรมชาวไทโยย้ บา้ นอากาศอำเภออากาศอำนวยจงั หวัดสกลนคร. สกลนคร :

ศูนย์ศิลปวฒั นธรรม สถาบันราชภัฏสกลนคร.
อรุณศักด์ิ กิ่งมณี. (2540). รอยอดีตสกลนคร. ขอนแกน่ : สำนักงานโบราณคดีและพพิ ิธภัณฑสภานแหง่ ชาติ

ที่ 7 กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version