The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โชติวัฒน์ โชติพานิช 6310854810
รัชชานนท์ แป้นแก้ว 6310854992

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by roongpet10, 2021-09-22 11:21:09

สรุปสงครามเย็น

โชติวัฒน์ โชติพานิช 6310854810
รัชชานนท์ แป้นแก้ว 6310854992

สรปุ สงครามเย็น

รองศาสตราจารย์ นรนติ ิ เศรษฐบตุ ร

นายโชติวัฒน์ โชติพานิช
นายรชั ชานนท์ แปน้ แก้ว

สรุปสงครามเย็น

รองศาสตราจารย์ นรนิติ เศรษฐบตุ ร

จัดทาํ โดย
นายโชติวฒั น์ โชติพานิช 6310854810
นายรัชชานนท์ แปน้ แก้ว 6310854992

บทบาทมหาอาํ นาจในยคุ สงครามเยน็



สถานการณก์ ารเมอื งโลกทเ่ี ปลย่ี นแปลง

เมอื่ สงครามโลกครง้ั ท่ี2ไดส้ นิ้ สดุ ลงจากการทญ่ี ป่ี นุ่ ประกาศยอม
แพ้เพราะสหรัฐอเมริกาได้ท้ิงระเบิดปรมานูลงในสองเมืองของ
ญีป่ นุ่ บทบาทของประเทศมหาอํานาจก็ไดเ้ ผชิญกบั ภาวะการ
เปลย่ี นแปลงขนาดใหญ่ ซึ่งมกี ารเปลีย่ นแปลง 3 ประการดังนี

ประการท่ี 1 แต่เดมิ นัน้ ประเทศเยอรมนเี ป็นประเทศทม่ี ีอาํ นาจพอ
สมควร แตห่ ลงั จากแพ้สงครามทาํ ให้ฝา่ ยสมั พนั ธมติ รเข้ามาแบง่
เขตปกครองเยอรมนี จึงทาํ ให้อํานาจของเยอรมนที ่ีมีนั้นหมดไป
และไมใ่ ชแ่ คอ่ าํ นาจทหี่ ายไปของประเทศผแู้ พส้ งครามแตป่ ระเทศ
ทชี่ นะสงครามเองกเ็ ปน็ ฝา่ ยสญู เสยี อยไู่ มน่ อ้ ยเชน่ ประเทศฝรงั่ เศส
ทด่ี นิ แดนเมอื งขน้ึ ถกู ยดึ ไปสว่ นในสหราชอาณาจกั รนน้ั กเ็ ผชญิ กบั
การเปลย่ี นแปลงดา้ นการเมอื งภายในฝา่ ยผชู้ นะอาจมเี พยี งสหภาพ
โซเวยี ตทย่ี งั สามารถประคบั ประคองความมน่ั คงภายในได้เพราะ
ระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จที่สร้างความต่อเนื่องให้รัฐบาล

ประการท่ี 2 ประเทศสหรัฐอเมริกาซึง่ ในขณะนั้นเป็นประเทศ
เดยี วทม่ี ขี ปี นาวธุ ในครอบครองอกี ทง้ั ยงั มกี องกาํ ลงั อยใู่ นยโุ รป
ไดข้ น้ึ มาเปน็ มหาอํานาจทที่ ดั เทยี มไมน่ อ้ ยไปกวา่ สหภาพโซเวยี ต
ดงั นนั้ สหรฐั อเมรกิ าจงึ เปน็ ปจั จยั ทส่ี ําคญั เมอื่ สหภาพโซเวยี ตตอ้ ง
คาํ นึงเมือ่ ตนจะตอ้ งดาํ เนนิ นโยบายต่างประเทศ

ประการท่ี 3 สงครามเปน็ เหตใุ หแ้ ตล่ ะประเทศต้องใชง้ บ
ประมาณมหาศาลในการสรู้ บ ดงั นนั้ เม่อื ภาวะสงคราม
สนิ้ สดุ ลง ทกุ ประเทศจึงประสบกับปญั หาด้านเศรษฐกิจ
ประชาชนในแต่ละประเทศเดือนร้อนและประสบปัญหา
ความยากจน กลมุ่ นิยมคอมมวิ นิสตจ์ งึ ไดเ้ ปรียบในการ
สร้างโฆษณาชวนเช่ือ เพอื่ ให้ประชาชนในแต่ละประเทศ
ทีก่ ําลงั ยากจนฝัก่ ใฝฝ่ ่ายคอมมิวนสิ ต์

เห็นไดช้ ัดว่าบรบิ ทในขณะนัน้ โลกมเี พยี ง 2 มหาอํานาจ
คอื สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต แตเ่ นอ่ื งดว้ ยการ
ทสี่ หรฐั อเมรกิ าเปน็ ประเทศเดยี วทม่ี ขี ปี นาวธุ จงึ สง่ ผลให้
สหภาพโซเวยี ตต้องพยายามขยายดินแดน แสวงหา
อํานาจ สรา้ งพันธมติ ร และหาบริวารเพอ่ื การนั ตคี วาม
ปลอดภยั ของตนและการหาบรวิ ารโดยวธิ กี ารของสหภาพ
โซเวยี ตคอื การแผข่ ยายลทั ธคิ อมมวิ นสิ ต์ไปยงั หลากหลาย
ประเทศ เชน่ โรมาเนยี น ยูโกสลาเวยี เชโกสโลวะเกีย

ท่าทขี องผูน้ าํ ทง้ั 2 ฝ่าย

สภาวะของทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตในขณะน้ันค่อนขา้ งไมม่ ีความไว้วางใจซงึ่ กันและกัน สบื เน่อื งจาก
กรณีทีส่ หรฐั อเมริกาเป็นประเทศเดยี วทม่ี อี าวุธปรมาณู และมกี ารใชน้ โยบายการทตู แบบมรี ะเบดิ ปรมาณูหนุนหลัง
ทําให้สหภาพโซเวียตร้สู ึกวา่ ตนอาจจะสญู เสียอํานาจทีม่ ีไป และเรมิ่ รสู้ กึ ว่าสหรฐั อเมรกิ ากําลังหยงิ่ ผยองในอํานาจ
โดยสาเหตุเริ่มมาจากในเดือนมกราคม ค.ศ. 1945 นายโมโลดอฟ รัฐมนตรตี า่ งประเทศสหภาพโซเวียต ไดร้ อ้ งขอให้
ทางสหรฐั อเมรกิ าใหเ้ ครดติ ตนเพอื่ มาฟนื้ ฟปู ระเทศจากความเสยี หายจากสงครามแตท่ างสหรฐั อเมรกิ ารกลบั นงิ่ เฉย

อีกทั้งยังมีเร่ืองท่ีสหรัฐอเมริกา
ยกเลิกโครงการ Lead-Lease
Agreementซงึ่ เปน็ โครงการชว่ ย
เหลอื ดา้ นอาวธุ หลงั จบสงคราม
ซง่ึ สหราชอาณาจกั รกไ็ ดร้ บั ผลก
ระทบจากการยกเลิกสัญญาดัง
กลา่ วดว้ ยแตท่ างสหภาพโซเวยี ต
มองว่าการกระทําของสหรัฐ
อมเรกิ าเช่นนี้ เป็นการกระทํา
ทห่ี นุ หนั ผลนั แลน่ และเหน็ แกต่ วั

ส่วนความรู้สึกของชาวอเมริกันที่มีต่อสหาพโซเวียตนั้น
จะเปน็ ไปในลกั ษณะของความไมพ่ อใจและเกลยี ดชงั ดว้ ย
สาเหตุ 2 ประการ ดังน้ี

1. ในปลายเดอื นมถิ นุ ายนค.ศ.1941ขณะนน้ั สหภาพโซเวยี ต
ไดถ้ ูกกองกําลงั ของเยอรมนีบกุ อยู่ ประธานาธบิ ดีรูสเวล
ก็ได้ให้ความช่วยเหลือโดยขยายขอบเขตของโครงการ
Lead-LeaseAgreementเพื่อชว่ ยเหลอื สหภาพโซเวยี ต
ดา้ นอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ทาํ ใหช้ าวอเมรกิ นั รสู้ กึ วา่ สหภาพ
โซเวียตไม่ได้สํานึกบุญคุณของสหรัฐอเมริกาเลย

2. การท่ีสตาลินผู้นําของโซเวียตมีความพยายามที่จะ
ขยายอํานาจของตนในแถบยโุ รปและเอเชยี เหน็ ไดช้ ดั จาก
ทส่ี หภาพโซเวยี ตไดม้ อี ทิ ธพิ ลเหนอื เมอื งหลวงรฐั เกา่ แกใ่ น
ยโุ รปและโซเวยี ตยงั มคี วามพรอ้ มทจี่ ะสามารถทําสงคราม
ตามรูปแบบ (Conventional Warfar) ตลอดเวลา แต่
สหรัฐอเมริกากย็ งั โอนอ่อนตามสหภาพโซเวยี ต เป็นเหตุ
ท่ีทาํ ให้ชาวอเมริกันรู้สึกว่ารัฐบาลอเมริกาผ่อนปรนและ
อ่ อ น ข้ อ ใ ห้ ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ต แ ข็ ง ก ร้ า ว ม า ก เ กิ น ไ ป

ลักษณะของระบบการเมือง
และอดุ มการณ์ทีแ่ ตกตา่ งกนั

ลทั ธคิ อมมวิ นสิ ตใ์ นสหภาพโซเวยี ตนนั้ คอ่ นขา้ งมคี วามแตกตา่ งจาก
ท่ีอ่ืน ทงั้ นี้เพราะคอมมิวนิสต์โซเวียตน้นั ไดม้ คี วามแข็งกร้าวตาม
แบบฉบับของเลนินเข้าไปด้วย ซ่ึงเรยี กวา่ ลทั ธมิ ารก์ ซสิ ม์
-เลนนิ นสิ ม์(Marxism-Leninism)ซงึ่ แนวคดิ นจี้ ะไมย่ อมรบั รฐั อน่ื
ทีไ่ ม่ไดย้ ดึ อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ ซง่ึ เป็นผลใหค้ วามสมั พนั ธ์
ระหวา่ งโซเวยี ตกบั อเมรกิ าซง่ึ เปน็ ประเทศเสรปี ระชาธปิ ไตยไมค่ อ่ ย
ราบร่นื นกั แตท่ ง้ั นใ้ี นสงครามโลกคร้งั ที่ 2 สหภาพโซเวยี ตกไ็ ด้
พยายามทจ่ี ะลดอดุ มการณข์ องตนลงเพอ่ื ทจ่ี ะเปน็ พนั ธมติ รกบั ชาติ
อืน่ เพื่อช่วยกนั ทาํ สงครามเหน็ ได้ชดั จากการทจ่ี อมพลสตาลนิ ได้
ยบุ องค์การคอมมิวนสิ ตส์ ากล (Comintem) เพื่อที่จะลดความกงั วล
ของชาตอิ ื่นวา่ โซเวยี ตจะเข้าไปแทรกแซงตา่ งชาตใิ ห้มีอดุ มการณ์
คอมมิวนสิ ต์ และเม่ือสงครามสนิ้ สดุ ลง สหภาพภาพโซเวียตก็ไดก้ ลับ
มาเนน้ ความสําคัญกับอดุ มการณอ์ ีกครัง้ โดยการรอ้ื ฟน้ื องคก์ าร
คอมมวิ นสิ ตส์ ากลซง่ึ เรยี กวา่ สํานักงานข่าวคอมมวิ นิสต์ (Communist
Information Bereau) หรอื Cominform

Let the ruling classes tremble at a communist
revolution. The proletarians have nothing to lose
but their chains. They have a world to win.

จงปล่อยใหช้ นชนั้ ปกครองค่อย ๆ สนั่ ทลายลงโดยการ
ปฏวิ ตั ขิ องคิมมวิ นสิ ต์ ชนชน้ั กรรมาชีพมมิ สี งิ่ ใดทจ่ี ะสญู
เสยี นอกจากโซต่ รวน แตท่ ว่าเขามโี ลกท้งั ใบท่จี ะไดม้ า

อุดมกาณม์ ารก์ ซิสม-์ เลนินนสิ ม์ มีแนวคิดที่ตอ้ งการจะ
ให้เกดิ การปฏิวตั ทิ ัว่ โลก ซงึ่ การปฏิวตั ิน้เี ปน็ การลกุ ฮอื
ของชนชนั้ กรรมาชพี เพอ่ื ตอ่ ตา้ นชนชนั้ ปกครองและชนชน้ั
กรรมาชพี ทว่ั โลกจะรวมกนั เปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั เพราะ
เ ห ตุ น้ี จึ ง เ ป็ น ก า ร ส่ ง ผ ล ใ ห้ อุ ด ม ก า ณ์ ม า ร์ ก ซิ ส ม์
-เลนินนิสม์ไม่มีการพูดถึงการดําเนินนโยบายต่าง
ประเทศเลย ซึง่ แนวคดิ ความต้องการทีจ่ ะให้ชนชั้น
กรรมาชพี ทว่ั โลกลุกข้นึ ปฏวิ ตั ิน้ัน กถ็ ูกสหภาพโซเวียต
ใช้เป็นเคร่ืองมือในการยุยยงให้คนที่มีอุดมการณ์
คอมมิวนิสตใ์ นประเทศตา่ ง ๆ ลม้ รัฐบาลของประเทศ
นั้น ๆ เพ่ือสถาปนาการปกครองตามแบบคอมมวิ นสิ ต์

ปัจจัยด้านอุดมการณ์นี้เองเป็นสิ่งที่จาํ เป็นต้องนํามา
พจิ ารณาเมอ่ื จะตอ้ งดาํ เนนิ นโยบายตา่ งประเทศเชน่ ใน
คอมมวิ นิสตใ์ นสหภาพโซเวียต ก็เปน็ ตน้ เหตุท่ีทาํ ให้
มแี นวคดิ หรอื พฤตกิ รรมทท่ี ําใหร้ ว่ มมอื กบั ตา่ งชาตไิ ด้
ยากรวมทงั้ อดุ มการณค์ อมมวิ นสิ ตท์ ผ่ี นวกกบั ระบอบ
เผดจ็ การกอ็ าจเปน็ ตน้ เหตทุ ท่ี ําใหเ้ กดิ สงครามเยน็ ขน้ึ
ตามแนวคดิ ของ อาร์เธอร์ ชเลจซิงเจอร์ (Authur
Schlesinger) และการทีอ่ กี ฝา่ ยหน่งึ ที่มีระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตย และมีระบบศรษฐกิจแบบ
ทนุ นยิ มเช่นสหรฐั อเมริกา โดยไมว่ ่าจะฝา่ ยไหนก็จะ
มคี วามคดิ วา่ ตนตอ้ งตอ่ ตา้ นอดุ มการณข์ องอกี ฝา่ ยหนงึ่
ไมว่ ่าจะร้ตู ัวหรอื ไมก่ ็ตาม



กรณีโปแลนด์

ปัญหาโปแลนดไ์ ด้กลายเปน็ เรอ่ื งราวใหญโ่ ต เมอ่ื รฐั บาลผลดั ถิ่นของ
โปแลนด์ ซึง่ ไปต้ังทที่ าํ การอยทู่ ีอ่ ังกฤษ ไดย้ กเอาเรอื่ งทท่ี หารของสหภาพ
โซเวยี ตสังหารหมู่ทหารโปแลนด์ท่ี Katyn Forest โดยอา้ งรายงานว่าพบ
หลมุ ศพของทหารโปแลนด์ซง่ึ ถกู สงั หารหมโู่ ดยทหารของสหภาพโซเวยี ต
รฐั บาลผลดั ถนิ่ โปแลนดจ์ งึ มที า่ ทเี ชอื่ รายงานของนาซีและเรยี กรอ้ งใหม้ กี าร
สบื สวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ สหภาพโซเวยี ตจงึ มปี ฏกิ ริ ยิ ารนุ แรงดว้ ยการประกาศ
ตดั ความสมั พนั ธก์ บั รฐั บาลผลดั ถน่ิ ของโปแลนด์อกี ทงั้ นายเชอรช์ ลิ ล์นายก
รฐั มนตรีอังกฤษก็ตาํ หนิผนู้ าํ รฐั บาลผลัดถิ่นของโปแลนด์ เนอื่ งจากฝา่ ย
สั ม พั น ธ มิ ต ร ยั ง ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ต

จนกระทั่งในกาจรเนจกรรจะทาทง่ั ใี่เนมกือางรยเจัลรตจ้าท(Yเ่ี มAอืLงTยAลั )ตขา้อขงอสงาสมามมหหาาออําาํ นนาจ
ฝา่ ยสมั พนั ธมติ รปญั หาเกย่ี วกบั โปแลนดก์ ไ็ ดร้ บั การพจิ ารณาโดยไดเ้ นน้

ทห่ี ลกั และแบบของการจะจดั ตงั้ รฐั บาลชวั่ คราวโปแลนด์ซงึ่ ทงั้ สองฝา่ ย
สามารถตกลงกนั ได้เก่ยี วกับปญั หาของโปแลนด์ในระยะนัน้ แตเ่ ม่อื

ประเทศเยอรมนยี อมแพ้โดยปราศจากเงอ่ื นไขในวนั ท่ี8พฤษภาคม
ค.ศ.1945 ซ่งึ มผี ลทําให้ศัตรรู ่วมในยุโรปหมดไป นบั ตั้งแต่นัน้ มา
ความรว่ มมอื ของฝา่ ยตะวนั ตกกบั สหภาพโซเวยี ตกเ็ รมิ่ ไมด่ ี
มีปญั หาเกดิ ขนึ้ กค็ ือกรณโี ปแลนด์ซึ่งเคยตกลงกันได้
เพราะประธานาธิบดีรูสเวลท์และนายกรัฐมนตรี
เชอร์ชิลล์ได้คาํ มั่นสัญญาจากจอมพลสตาลินว่า
“จะมีการเลือกตั้งที่เสรีและปราศจากพันธนาการ
อยา่ งเรว็ ทสี่ ดุ โดยเปน็ การเลอื กตงั้ ทว่ั ไปทม่ี กี ารลง
คะแนนลับ ”

กรณนี ี้ทงั้ สองฝ่ายจงึ มคี วามเหน็ ไม่ตรงกัน เพราะฝ่าย
ประเทศตะวันตกนน้ั สนับสนุนรัฐบาลผลัดถิ่น หรือ
“รฐั บาลชั่วคราว” ซ่ึงต้ังอยูท่ ีน่ ครลอนดอน ประเทศ
องั กฤษทางฝา่ ยสหภาพโซเวยี ตนนั้ สนบั สนนุ รฐั บาลพลดั
ถ่นิ อกี ชดุ หน่ึงทีต่ ้ังที่ลูบลนิ ซ่งึ เปน็ หนุ่ เชดิ ของรฐั บาล
สหภาพโซเวียต การแยกกันสนบั สนนุ ของสองรัฐบาล
ทาํ ใหแ้ ตล่ ะฝา่ ยไมพ่ อใจโดยเฉพาะการเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
ของสหรัฐอเมริกาในกลุ่มชาวอเมริกันเช้ือชาติโปลใน
ประเทศมีอิทธิพลอยู่พอสมควรในการเลือกต้ังของ
สหรัฐอเมรกิ า จงึ ไม่พอใจและยืนยันใหม้ รี ฐั บาลของ
โปแลนดท์ เ่ี ขม็ แขง็ เปน็ อสิ ระไมอ่ ยใู่ ตอ้ าณตั ขิ องประเทศ
ใด ฝา่ ยตะวนั ตกก็เห็นว่าจะตอ้ งจดั ต้งั แต่ปรากฏว่า
รฐั บาลชว่ั คราวทม่ี อี ยขู่ ณะนน้ั กลายเปน็ รฐั บาลภายใต้
ก า ร ค ว บ คุ ม ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ ท่ี นิ ย ม ค อ ม มิ ว นิ ส ต์

สหภาพโซเวยี ตจงึ ถอื วา่ ตนเปน็ ฝา่ ยไดเ้ ปรยี บและดําเนนิ
การใหม้ กี ารลงนามในสญั ญาพนั ธมติ รระหวา่ งรฐั บาลของ
ตนกับรฐั บาลโปแลนด์ในวนั ท่ี 20 เมษายน ค.ศ.1945
ท่ามกลางการไมเ่ หน็ ด้วยของสหรฐั อเมรกิ า และการ
พยายามทกุ วถิ ที างเพอื่ ไมใ่ หร้ ฐั บาลโปแลนดถ์ กู ครอบงํา
ดว้ ยผ้นู าํ คอมมวิ นสิ ต์ เชน่ สง่ นายฮอปกินส์มาเจรจา อกี
ท้ังเรียกร้องให้สภาพโซเวียตถอนทหารท่ีต้ังในโปแลนด์
ออกไป แต่สหภาพโซเวียตก็ไม่ได้สนใจทีจ่ ะปฏิบัติตาม
คาํ เรยี กรอ้ งจงึ ทาํ ใหร้ ฐั บาลโปแลนดช์ ดุ ทส่ี หภาพโซเวยี ต
สนบั สนนุ ไมไ่ ดร้ บั เชญิ ไปประชมุ ในการกอ่ ตง้ั องคก์ ารโลก
ทางสหภาพโซเวยี ตจงึ แสดงออกถงึ ความไมพ่ อใจโดยไม่
ส่งรัฐมนตรตี ่างประเทศไปรว่ มประชุม จนประธานาธบิ ดี
รสู เวลทถ์ ึงแกก่ รรมในวันที่12เมษายนค.ศ.1945สหภาพ
โซเวียตจึงเปลย่ี นใจประท้วง และยอมสง่ รฐั มนตรีตา่ ง
ประเทศใหม้ ารว่ มประชมุ เพอ่ื กอ่ ตงั้ องคก์ ารสหประชาชาติ

การยึดครองและแบง่ ประเทศเยอรมนี

การประชมุ ทเ่ี มอื งยลั ตา้ ในวนั ที่4-10กมุ ภาพนั ธ์ค.ศ.1945นบั เปน็ การประชมุ ของผนู้ ําสามประเทศพนั ธมติ รทท่ี ําการ
รบกับเยอรมนี คอื ประธานาธบิ ดรี สู เวลท์ แห่งสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรีเชอร์ชลิ ล์ของอังกฤษ และจอมพล
สตาลนิ ของสหภาพโซเวยี ตทปี่ ระชมุ เกยี่ วกบั ประเทศเยอรมนีโดยภาคที ง้ั สามไดต้ กลงกนั วา่ ตอ้ งใหเ้ ยอรมนยี อมจํานน
โดยปราศจากเง่อื นไข และแบ่งเขตยึดครองเปน็ 4 ส่วน

จนเม่ือเยอรมนียอมแพ้โดยปราศจากเงอ่ื นไขในวันท่ี 8
พฤษภาคม ค.ศ.1945 ผูน้ ําของฝา่ ยสัมพันธมติ รทั้ง 3
ประเทศกไ็ ดต้ กลงประชมุ ปรกึ ษาหารอื กนั อกี ครง้ั ทเี่ มอื งปอด
สดัม เพ่ือหาข้อตกลงการจดั การกับประเทศเยอรมนี และ
กาํ หนดเป้าหมายของการยึดครองเยอรมนี 10 ข้อ เชน่ ขอ้
1 การปกครองเยอรมนใี นเขตยึดครองต่างๆ จะอยใู่ นบงั คับ
บญั ชาของผู้บญั ชาการเขตกับคณะมนตรีปกครอง ข้อ 2
ประเทศเยอรมนจี ะถกู ปลดอาวธุ และกองกําลงั จะตอ้ งสลาย
ตัว และขอ้ 3 ขบวนการนาซีจะถูกกวาดล้างไปใหห้ มดสน้ิ
จากรฐั บาล พรรคการเมอื ง ความคดิ และสถาบันทงั้ ทีเ่ ป็น
ทางราชการและหนว่ ยงานเอกชนเปน็ ตน้ นอกจากกําหนด
นโยบายตามทส่ี หรฐั อเมรกิ าเสนออยา่ งกวา้ งๆแลว้ ทางฝา่ ย
ผู้ชนะก็ยังตกลงโยกย้ายคนเยอรมันออกจากดินแดน
โปแลนด์ เชโกสโลวะเกยี โรมาเนีย ฮงั การี และยูโกสลาเวีย
เขา้ ไปอยู่ในเขตปกครองท้งั 4 ทตี่ นแบ่งกนั ดูแลอยู่ โดยไม่
ได้มีเจตนาท่ีทาํ ลายหรือกดข่ีคนเยอรมนีเยี่ยงทาส

จงึ เหน็ ไดช้ ดั วา่ สหภาพโซเวยี ตสหรฐั อเมรกิ าและองั กฤษ
สามารถตกลงกันได้หลายประเด็น แต่หลายเรือ่ งท้ังสอง
ฝ่ายกไ็ ม่เห็นตรงกัน คือ เรอ่ื งเงินค่าปฏกิ รรมสงคราม ซงึ่
ทางสหภาพโซเวยี ตตอ้ งการใหฝ้ า่ ยผชู้ นะสงครามเรยี กรอ้ ง
เงนิ จากเยอรมนีจํานวน 20 พันลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ และ
ครง่ึ หนง่ึ จอมพลสตาลนิ เหน็ วา่ เปน็ สว่ นทส่ี หภาพโซเวยี ต
จะตอ้ งไดเ้ พอ่ื เอามาบรู ณะประเทศของตนแตส่ หรฐั อเมรกิ า
ไมเ่ ห็นดว้ ยจึงเล่อื นการพจิ ารณาออกไป อีกทั้งความ
พยายามทจ่ี ะหาความสนบั สนนุ จากเยอรมนที งั้ สองฝา่ ย
จนทําใหก้ ารดาํ เนนิ งานของสภารฐั มนตรตี า่ งประเทศทจ่ี ะ
ช่วยกาํ หนดนโยบายรว่ มเรือ่ งเยอรมนีไม่เปน็ ผล การ
ประชมุ คร้ังต่อ ๆ มา กลายเปน็ การพูดโฆษณาหาความ
นิยมของแตล่ ะฝา่ ยท่หี าข้อยุติไม่ได้

สหภาพโซเวยี ตจงึ ดาํ เนนิ การ“บบี ”ฝา่ ยตะวนั ตกโดยการ
ปดิ ล้อมนครเบอรล์ นิ ในวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน ค.ศ.1948 ซ่งึ
สหภาพโซเวียตก็ทําไดโ้ ดยสะดวก เพราะในเขตเยอรมนี
ตะวนั ออกเปน็ เขตในความควบคมุ ของสหภาพโซเวยี ตโดย
เฉพาะอย่างไรกต็ ามการปดิ ลอ้ มนีไ้ ม่ได้ผลเทา่ ไรเพราะ
ทางฝา่ ยตะวนั ตกใชว้ ธิ ขี นสง่ ทางอากาศตดิ ตอ่ กบั เบอรล์ นิ
จนตกลงยกเลกิ การปดิ ล้อมในวันท่ี 11 พฤษภาคม
ค.ศ.1949โดยใหเ้ หตผุ ลทสี่ ตาลนิ อา้ งวา่ ทางฝา่ ยตะวนั ตก
จะใหน้ ครนี้ใช้ระบบเงนิ ตราใหม่ แยกออกมาจากเขต
ปกครองของฝา่ ยตะวนั ตกในนครเบอรล์ นิ ซง่ึ ทางสหภาพ
โซเวียตเห็นว่าควรจะเป็นเขตเศรษฐกิจเดียวกัน

กรณผี ลประโยชน์ในเอเชีย

จดุ มงุ่ หมายสําคญั อกี อยา่ งหนง่ึ ของการประชมุ ทเี่ มอื ง
ยลั ตา้ คือฝา่ ยสมั พนั ธมิตรตอ้ งการใหส้ หภาพโซเวยี ต
เขา้ รว่ มสงครามตอ่ ตา้ นญปี่ นุ่ ภายหลงั เยอรมนยี อมจํานน
แลว้ โดยสหรฐั อเมรกิ าไดย้ นิ ยอมตามเงอื่ นไขทส่ี หภาพ
โซเวยี ตเรยี กร้อง 3 ประการ คอื

ประการท่ี 1 ยืนยนั ฐานะของรัฐมองโกเลียนอก วา่ จะ
คงอยอู่ ยา่ งทเี่ ปน็ อยู่จะไมก่ ลบั ไปเปน็ ดนิ แดนในอาณตั ิ
ของจีนอยา่ งทเี่ คยเป็นมาอีกแล้ว

ประการท่ี 2 กรณหี มเู่ กาะคูรลิ จะคืนให้แกส่ หภาพ ในขณะทปี่ ระเทศเยอรมนียงั ไมย่ อมแพ้ มีปญั หาเกีย่ ว
โซเวยี ตเกาะเหลา่ นจี้ กั รวรรดริ สั เซยี ใหแ้ กป่ ระเทศญป่ี นุ่ กบั ดนิ แดนเอเชยี และการจงู ใจให้สหภาพ โซเวยี ตเข้า
เม่ือพา่ ยแพ้สงคราม ค.ศ.1904-1905 รว่ มสงครามในเอเชยี ยงั เปน็ ทตี่ กลงกนั ไมไ่ ด้จงึ ไดต้ กลง
จดั ประชุมสุดยอดอกี คร้ังทเี่ มืองปอดสดัม ซึ่งอยู่ในดิน
ประการที่ 3 สทิ ธขิ องสหภาพโซเวียตท่ีถกู ญ่ปี น่ แดนเยอรมนี ในวนั ท่ี 16 กรกฎาคม ค.ศ.1945 ก่อนการ
ละเมดิ เมอื่ ทาํ สนธิสญั ญาค.ศ.1904-1905นน้ั กใ็ หก้ ลับ ประชุมประมาณ 3 เดอื น สหภาพโซเวยี ตร้วู า่ การยอม
คนื ตามเดิม แพ้ของประเทศเยอรมนีใกล้เข้ามา จึงไดแ้ จ้งยกเลกิ
สญั ญาไมร่ กุ รานกบั ญป่ี นุ่ และหลงั จากประชมุ เพยี งไม่
กว่ี ัน ปรากฏวา่ ในวนั ที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ.1945 ได้
มเี อกสารที่ออกโดยสหรฐั อเมรกิ า สหราชอาณาจักร
และจนี ประกาศใหผ้ ปู้ กครองประเทศญปี่ นุ่ ยอมจํานน
โดยปราศจากเงอื่ นไขหลงั จากประกาศนอี้ อกมาเพยี ง
10วนั สหรัฐอเมรกิ าก็ทง้ิ ระเบิดปรมาณทู ี่เมอื งฮิโรชิมา
ในประเทศญีป่ ่นุ เม่อื วนั ท่ี 6 สงิ หาคม

ตอ่ มาอกี 2วนั การบอกเลกิ สญั ญายงั ไมท่ นั มผี ลรฐั บาลของสหภาพโซเวยี ต
ไดส้ ง่ั ใหก้ องทัพของตนทนี่ าํ โดยจอมพลมาลนิ นอฟสกี บกุ เข้าไปยดึ เกาะ
แชคาลนี ทางใต้บกุ แมนจเู รยี และเกาหลเี หนอื ซง่ึ เปน็ ดนิ แดนทญี่ ป่ี นุ่ ครอบ
ครองอยู่ จนวนั ที่ 14 สิงหาคม ค.ศ.1945 รฐั บาลญ่ปี ่นุ ไดย้ อมจาํ นน สหภาพ
โซเวยี ตกไ็ ด้พยายามจะขอเขา้ ไปมสี ่วนสําคัญในการยึดครองญีป่ ุ่น แต่
สหรฐั อเมริกาซง่ึ ระแวงการขยายตัวกไ็ ด้พยายามกนั เอาไว้ โดยปฏเิ สธไม่
ใหส้ หภาพโซเวยี ตมเี ขตยดึ ครองในญป่ี นุ่ ถา้ หากทหารของสหภาพโซเวยี ต
จะรว่ มในการยดึ ครองกต็ อ้ งอยภู่ ายใตก้ ารบงั คบั บญั ชาของนายพลแมคอาร์
เธอร์ ซ่งึ เป็นนายทหารอเมรกิ ัน ผ้มู อี ํานาจปกครองอยา่ งแทจ้ ริง

จงึ สรา้ งความไมพ่ อใจแกส่ หภาพโซเวยี ตและความรว่ มมอื ของทง้ั สองฝา่ ย
ทต่ี อ้ งการมคี วามสมั พนั ธก์ บั ญป่ี นุ่ จงึ เรมิ่ ขนึ้ อยา่ งไมค่ อ่ ยดีเชน่ การเรยี กรอ้ ง
ค่าปฏิกรรมสงครามของสหภาพโซเวียตจากญ่ีปุ่นไม่ได้รับการเสนอตอบ
เพราะสหรฐั อเมรกิ าไม่ต้องการให้คา่ ปฏิกรรมสงครามสงู มากเพ่ือญปี่ นุ่ จะ
ได้ฟ้ืนตัวได้ ตอ่ มาขดั แย้งกนั อกี ในค.ศ.1947 เร่ืองการทาํ สญั ญาสันติภาพ
กบั ญปี่ นุ่ เกยี่ วกบั ผเู้ ตรยี มดน้ รา่ งของสญั ญาของคณะกรรมการตะวนั ออกไกล
และสภาคณะรฐั มนตรตี า่ งประเทศทคี่ วามเหน็ ไมล่ งรอยกนั อกี ทงั้ การปฏเิ สธ
การแลกเปลยี่ นหรอื สง่ คนื เชลยชาวญปี่ นุ่ กบั สปู่ ระเทศเพราะสหภาพโซเวยี ต
ต้องการเป็นตวั ตอ่ รองในการเจรจาปกครองญีป่ ุน่



การขยายอาํ นาจของสหภาพโซเวียต
ในยโุ รปตะวันออก

การขยายลทั ธคิ อมมวิ นสิ ตเ์ ขา้ ไปในดนิ แดนยโุ รปตะวนั ออกภายหลงั สงครามโลกครง้ั ทส่ี องนน้ั ถอื วา่ สหภาพโซเวยี ต
ทาํ ได้สาํ เร็จและทาํ ไดด้ ีเพราะสามารถแผ่ขยายระบอบคอมมิวนสิ ตเ์ ขา้ ไปได้ท้งั โปแลนด์เยอรมนตี ะวันออกโรมาเนีย
ฮงั การีเป็นตน้ ดงั น้ันจึงสามารถทาํ ให้ประเทศต่างๆเหลา่ น้ีกลายเป็นเสมือนรัว้ ทลี่ ้อมโซเวยี ตไปโดยปริยายที่เปน็ ตัว
ป้องกนั ไม่ใหศ้ ตั รูบกุ เข้าถงึ โซเวียตได้ง่าย การทมี่ ีรัฐอ่ืนมาเป็นรัฐกนั ชนใหเ้ ช่นน้ี จงึ ทาํ ใหท้ างสหภาพโซเวยี ตมีการ
แสดงออกที่ไมย่ อมใหฝ้ ่ายตะวนั ตกเข้ามามีอทิ ธพิ ลในยโุ รปตะวันออกเด็ดขาด และในการขยายอํานาจของสหภาพ
โซเวยี ตเข้าไปในยโุ รปตะวันออกน้นั ไดผ้ า่ นการวางแผน 3 ขน้ั ดงั น้ี

ขน้ั ท่ี1สหภาพโซเวยี ตไดจ้ ดั ตง้ั คณะกรรมาธกิ ารปลดปลอ่ ย
แหง่ ชาติ (National Liberation Commitee) ซงึ่ จะมสี มาชิก
พรรคคอมมวิ นสิ ตข์ องประเทศในยโุ รปตะวนั ออกเขา้ มาลภ้ี ยั
ในสหภาพโซเวยี ตซงึ่ การทโ่ี ซเวยี ตทําเชน่ นเ้ี พราะตอ้ งการ
ตอ่ ตา้ นการยดึ ครองของนาซแี ละแขง่ ขนั กบั รฐั บาลพลดั ถนิ่
ท้ังหลายทอ่ี ย่ขู า้ งฝา่ ยตะวนั ตก

ข้นั ที่ 2 สหภาพโซเวยี ตได้หาทางเจรจากบั รัฐบาลพลดั ถนิ่
ของเชโกสโลวะเกีย ซ่ึงสามารถทําไดโ้ ดยง่ายเพราะ
เชโกสโลวะเกยี กลัวภัยอันตรายจากเยอรมนีจงึ มีความคดิ
เหน็ ท่ีคล้อยตามสหภาพโซเวยี ต และเม่อื ถึงวันที่ 12
ธนั วาคม ค.ศ. 1943 สหภาพโซเวยี ตกไ็ ดล้ งนามในสนธิ
สัญญากับเชโกสโลวะเกยี ทีเ่ รยี กวา่ (A Twenty-year
Treaty of Friendship, Mutual Assistance and
Post-WarCollaboration)อนั ทาํ ใหร้ ฐั บาลพลดั ถนิ่ กลบั มา

เชโกสโลวาเกยี หลงั สงคราม และได้รบั ตําแหน่งระดบั สูง
ของประเทศ ผลคอื ทาํ ให้โซเวยี ตสามารถเพม่ิ อํานาจ
คอมมิวนิสต์ในเชโกสโลวาเกยี ได้

ส่วนในกรณีของประเทศโปแลนด์นั้นทาํ ได้ยากกว่าใน
กรณีเชโกสโลวาเกีย เพราะทางตะวนั ตกไม่ยินยอม แต่
ทางสหภาพโซเวยี ตกห็ นนุ คณะกรรมการการปลดปลอ่ ย
แหง่ ชาตโิ ปแลนด์ให้กอ่ ตัวเปน็ รฐั บาล ต่อมาในวันที่ 21
กรกฎาคม ค.ศ. 1944 ดนิ แดนของโปแลนด์ได้รบั การปลด
ปลอ่ ยทาํ ใหช้ าวโปแลนดท์ โ่ี ซเวยี ตหนนุ หลงั ไดเ้ ขา้ มาเปน็
รฐั บาล และต่อมาในวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ตะวนั
ตกกร็ บั รองรฐั บาลผสมของโปแลนด์ซงึ่ รฐั มนตรสี ว่ นมาก
ได้รับการอบรบและการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต

ภายหลังการขยายอิทธิพลของสหภาพโซเวียตก็ทําได้
งา่ ยเพราะกองทพั สหภาพโซเวยี ตไดแ้ ทรกซมึ ยดึ ครองใน
ดนิ แดนหลายแหง่ หากมีผขู้ ัดขวาง ผู้นั้นกจ็ ะไดร้ บั สง่ิ
ตอบแทน ซึง่ สิ่งน้นั คอื ความตาย และเมอ่ื ทุกประเทศใน
ยโุ รปไดม้ กี ารจดั ตง้ั รฐั บาลผสมซง่ึ ฝา่ ยทโ่ี ซเวยี ตสนบั สนนุ
จะเปน็ ฝา่ ยทม่ี กี ารจดั ตง้ั องคก์ ารดแี ละมกี องทพั ของสหภาพ
โซเวยี ตหนนุ หลงั จงึ สามารถขยายอทิ ธพิ ลเพอ่ื กาํ จดั ฝา่ ย
ตรงข้ามได้

ขนั้ ท่ี3ประเทศในยโุ รปไดป้ ระกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ตามแบบ
ฉบบั ของสหภาพเวยี ตในปี ค.ศ. 1946 – 1948 กาํ จดั ฝ่าย
การเมอื งทตี่ อ่ ตา้ นการครอบงําของโซเวยี ตหลายประเทศ
ยกเลกิ สถาบนั กษตั รยิ ์บางประเทศยกเลกิ ผสู้ าํ เรจ็ ราชการ
ยกเลกิ ระบบสาธารณรฐั หนั มาใชแ้ นวทางคอมมวิ นสิ ตท์ ง้ั
ดา้ นการเมอื งและเศรษฐกิจ

เม่อื สําเรจ็ ทง้ั 3 ข้ัน สหภาพโซเวียตก็สามารถควบคุม
ครอบงาํ ยุโรปตะวันออกให้เป็นคอมมิวนิสต์ได้อย่าง
สมบรู ณจ์ ะมเี พยี งแตย่ โู สลาเวยี ทถี่ งึ แมจ้ ะเปน็ คอมมวิ นสิ ต์
แต่ไมไ่ ด้ขึน้ กับสหภาพโซเวียต ซงึ่ สรา้ งความไม่พอใจแก่
สตาลนิ เปน็ อยา่ งมาก

การสกดั ก้นั การขยายอํานาจ
ของสหภาพโซเวียตโดยสหรัฐอเมรกิ า

ในปี ค.ศ. 1946 กองโจรคอมมิวนสิ ต์กรีซที่เช่อื ว่ามฐี านอยูใ่ นยโู กสลาเวยี แอลแบเนยี และบัลเกเรยี ไดป้ ฏิบัตกิ ารใน
ประเทศกรซี จงึ ทาํ ใหเ้ ชอื่ กนั วา่ ไมช่ า้ ประเทศกรซี อาจกลายไปเปน็ คอมมวิ นสิ ตเ์ หมอื นประเทศทหี่ อ้ มลอ้ มกรซี อยู่และ
นอกจากกรีซแลว้ องั กฤษเองก็ตอ้ งรับภาระทางการเงินจากการทหี่ นุนการเงนิ ตุรกดี ้วย เพราะสหภาพโซเวยี ตได้
เขา้ ไปมอี ทิ ธพิ ลในตุรกีเพราะต้องการทางออกทะเลบริเวณช่องแคบบอสฟอรัสกับดาร์คะแนลส์ซึง่ อยู่ในตรุ กีและใน
เดอื นตลุ าคมศกเดยี วกนั สหภาพโซเวยี ตไดย้ กเลกิ สญั ญามติ รภาพทเ่ี คยทาํ ไวก้ บั ตรุ กีและขอปรบั ปรงุ แกไ้ ขอนสุ ญั ญา
มองเดรอซ์(MontreuxConvention)เพอ่ื ขอมีสว่ นร่วมในชอ่ งแคบดังกล่าวทง้ั ยงั เรียกร้องทจ่ี ะเอาดนิ แดนคาร์(Kars)
และอาร์ดนั (Ardahan) ซ่งึ เคยเป็นดนิ แดนของโซเวยี ต โดยการซอ้ื ขายท้งั ๆ ท่สี ภาพเศรษฐกิจของโซเวยี ตกต็ กตํ่า
แตท่ างสหภาพโซเวยี ตคดิ วา่ ตนเปน็ มหาอํานาจ และคดิ ว่าองั กฤษกค็ งจะชว่ ยตรกุ ีไมไ่ ด้ เพราองั กฤษต้องแบกภาระ
ทหารในกรซี อยแู่ ล้ว

แต่ทวา่ การกระทําของโซเวยี ตไม่ไดง้ า่ ยขนาดน้นั เพราะ
สหรฐั อเมรกิ าไดเ้ ขา้ มาใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นเศรษฐกจิ และ
ส่งทหารไปกรซี และตุรกีท้ังนกี้ เ็ พราะสหรฐั อเมรกิ าต้องการ
สกดั กน้ั ลทั ธคิ อมมวิ นสิ ตไ์ มใ่ หม้ าทางใต้การกระทํานจ้ี งึ สรา้ ง
ความไมพ่ อใหแ้ กส่ หภาพโซเวยี ตเป็นอย่างมาก เพราะ
ตรกุ เี ปน็ ประเทศทมี่ ชี ายแดนตดิ โซเวยี ตการทม่ี ผี มู้ าแทรกแซง
จึงเป็นเหมือนการทส่ี หภาพโซเวยี ตกําลังโดนบุกรุก

การท่ีสหรัฐอเมริกาได้เข้ามาแทรกแซงในคร้ังน้ีเพราะไม่
ตอ้ งการใหป้ ระเทศทก่ี าํ ลงั ถกู ปลกุ ปน่ั โดยผนู้ ยิ มคอมมวิ นสิ ต์
ถกู ครอบงาํ โดยสหภาพโซเวยี ตมากไปกวา่ น้ีโดยวธิ กี ารกดี กนั
ของสหรัฐอเมรกิ าคอื ใหค้ วามช่วยเหลือด้านเศรษฐกจิ เพือ่
ให้การปกครองแบบประชาธิปไตยอยู่รอดต่อไปได้โดย
สหรัฐอเมริกาได้ใช้แผนการมาร์แชล (Marshall)

4. หากโซเวียตเขา้ ร่วมแผนการมาร์แชลได้
รบั รบั ความชว่ ยเหลอื โซเวยี ตจะตอ้ งเปดิ เผย
ตวั เลขเกย่ี วกบั ความตอ้ งการและขาดแคลน
ซ่ึงอาจเป็นเรื่องท่ีหน้าขายหน้าในสายตา
ของสหภาพโซเวียต

ในการดาํ เนนิ งานตามแผนมาร์แชลนั้น สหรฐั อเมริกาได้เชิญสหภาพโซเวียตและประเทศในยุโรปตะวนั ออกเขา้ รว่ ม
ดว้ ย แตส่ หภาพโซเวยี ตกไ็ ม่เขา้ รว่ ม และประเทศในยโุ รปตะวนั ออกกไ็ ม่กล้าเขา้ รว่ มด้วยเชน่ กนั และเม่อื ไม่เขา้ ร่วม
สหภาพโซเวียตจึงรวมกลมุ่ พนั ธมติ รคอมมิวนสิ ตใ์ นยโุ รปตะวนั ออก และตง้ั สภาเพ่ือช่วยเหลือเศรษฐกจิ เองเสียเลย
ซงึ่ เรยี กวา่ The Council for Mutual Economic Assistance (CMEA) หรอื โคมคี อน (COMECON) กเ็ พือ่ ทจี่ ะตอบโต้
แผนมารแ์ ชลของสหรฐั อเมรกิ าแตท่ ง้ั นโี้ ครงการของโซเวยี ตกด็ เู หมอื นไมไ่ ดใ้ หก้ ารชว่ ยเหลอื ดา้ นเศรษฐกจิ สกั เทา่ ใด
มแี ตจ่ ะกระตุน้ การสร้างอาวธุ เสยี มากกว่า และในระยะตอ่ มาสภาน้กี ็ไดย้ อมรบั เงนิ รเู ปลิ ของสหภาพโซเวียต เป็นเงิน
ตรามาตรฐานในการแลกเปลยี่ นภายในกลมุ่ สมาชกิ ดว้ ยกนั ซงึ่ เปน็ การเออื้ ประโยชนแ์ กส่ หภาพโซเวยี ตเปน็ อยา่ งมาก



การเผชญิ หน้าทางทหารของคกู่ รณี

สหภาพโซเวยี ตได้ดาํ เนนิ นโยบาย “บบี ” ฝา่ ยตะวันตก โดยทําการปดิ ลอ้ มนครเบอรล์ ิน เม่อื วันท่ี
29 มิถุนายน ค.ศ.1948 เพอ่ื ใหฝ้ ่ายตะวนั ตกถอนตัวจากเบอร์ลิน และเปิดโอกาสใหเ้ ยอรมนีตะวันออกไดเ้ ข้าครอบ
ครองดินแดนแหง่ น้ี โดยในเหตุการณ์ชว่ งนนั้ สง่ ผลใหเ้ กดิ ปัญหาและมกี ารเผชญิ หนา้ ทางทหารหลายอยา่ ง ดงั น้ี

1. การปดิ เส้นทางสัญจรเขา้ เบอรล์ ิน บรเิ วณทางดว่ น สายฮนั โนเวอร์-เบอรล์ ิน ซึง่ เปน็ ถนนสายเดยี วทีต่ ดิ ตอ่ กันได้
ระหวา่ งฝ่ายตะวันตกกบั นครเบอรล์ ิน และตดั ขาดเสน้ ทางรถไฟจากเบอร์ลินท่ีติดตอ่ กับเขตแดนฝา่ ยตะวันตก สินคา้
ตา่ งๆจงึ ตดิ คา้ งเขา้ ไปไมถ่ งึ โดยระหวา่ งนนั้ นายพลโรเบริ ต์ สนั ผแู้ ทนขององั กฤษกไ็ ดร้ า่ งจดหมายใหย้ กเลกิ การปดิ ลอ้ ม
ถงึ จอมพลชะโกลอฟสกีข้ องฝงั่ สหภาพโซเวยี ต โดยได้รบั คําตอบมาว่าที่ตอ้ งปิดทางรถไฟเพราะปญั หาขดั ขอ้ งทาง
เทคนคิ สว่ นถนนนน้ั เปน็ เรอื่ งทต่ี อ้ งปอ้ งกนั การลกั ลอบขนเงนิ ตราเขา้ มาโดยผดิ กฎหมายจนองั กฤษเหน็ วา่ เปน็ คํากลา่ ว
อา้ งทฟ่ี งั ไมข่ นึ้ จงึ ตอบโตโ้ ดยไมใ่ หม้ กี ารขนสง่ สนิ คา้ ทําใหส้ หภาพโซเวยี ตขาดถา่ นหนิ และเหลก็ สว่ นฝง่ั สหรฐั อเมรกิ า
ก็ใชก้ ารขนสง่ ทางอากาศแทน เพื่อชว่ ยลาํ เลียงเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคเขา้ ไปเลี้ยงพลเมอื งในเขตทถ่ี ูกปิดลอ้ ม

2.การประสบปญั หาดา้ นเงนิ ตราทส่ี บั สนยงุ่ ยากสรา้ งความขดั แยง้ อยา่ งมาก
ของทั้งสองฝ่าย โดยหลงั จากการปิดลอ้ มนครเบอร์ลินทางฝ่ายตะวันตกกไ็ ด้
ประกาศใหใ้ ชเ้ งินดอยช์มารค์ ทวั่ เขตเมืองทอี่ ยภู่ ายใต้การปกครองของตนจงึ
ทาํ ให้เงินตราทใ่ี ช้อยใู่ นเขตปกครองของสหภาพโซเวยี ตไม่เป็นผล และคณะ
กรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ เยอรมนขี องสหภาพโซเวยี ตกไ็ ดป้ ระกาศโจมตกี ารแยก
ใช้เงนิ วา่ “เปน็ ข้ันตอนสําคัญในการแบ่งแยกเยอรมนี” ทาํ ใหเ้ ยอรมนไี มไ่ ด้
เปน็ หน่วยเศรษฐกิจเดยี วกนั "

3.การเมอื งของฝา่ ยบรหิ ารทอ้ งถิ่นเกดิ การแบ่งแยกโดย
มกี ารเลอื กตง้ั ผบู้ รหิ ารแยกกนั ทางฝงั่ เบอรล์ นิ ตะวนั ออก
เลอื กนายฟรที ช์อเี บรต์ สว่ นฝงั่ เบอรล์ นิ ตะวนั ตกเลอื กนาย
เอิรนส์ รอยเตอร์ เปน็ ผปู้ กครองเมอื ง จากการปิดล้อม
เบอร์ลนิ อย่ปู ระมาณ 1 ปขี องฝ่งั สหภาพโซเวยี ตที่ก่อ
ปญั หาและการเผชญิ หนา้ ทางทหารขา้ งตน้ ทําใหฝ้ า่ ยตน
เสียเปรียบและไม่ได้รับความสาํ เร็จตามที่ปรารถนา
สตาลนิ จึงเลกิ ปดิ ล้อมเมอ่ื วันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ.1949
โดยมเี งอ่ื นไขวา่ ทางฝา่ ยตะวนั ตกกต็ อ้ งยกเลกิ มาตรการ
ตอบโตท้ ด่ี าํ เนินการอย่เู ชน่ กนั

โดยการยกเลกิ การปดิ ลอ้ มนครเบอรล์ นิ ทาํ ใหท้ งั้ สองฝา่ ย

มลี ทู่ างเจรจากนั มากขน้ึ แตก่ ไ็ มไ่ ดม้ กี ารเผชญิ หนา้ ลดลง

เรมิ่ จากทางฝง่ั ตะวนั ตกใหม้ กี ารจดั รา่ งรฐั ธรรมนญู ขน้ึ มา

สําหรบั สหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนั โดยมีคอนราด

อเดเนาวร์ เปน็ ประธาน และสถาปนา ดร.อเดเนาวร์เปน็

นายกรฐั มนตรใี นรฐั บาลผสมแตเ่ มอื่ ทางสหภาพโซเวยี ต

รับรู้จึงส่งบันทึกประท้วงไปยังฝ่ายสัมพันธมิตรทั้งสาม

ประเทศ และคดิ ตอบโตด้ ว้ ยการตงั้ สาธารณรัฐ

ประชาธปิ ไตยเยอรมนั หรอื เยอรมนตี ะวนั ออกโดยมนี าย

วิลเฮล์ม พคิ ประธานร่วมของพรรคเอกสงั คมนยิ มเป็น

ประธานาธบิ ดคี นแรกของประเทศและประกาศตง้ั รฐั ใหม่

โดยมกี ารรบั รองโดยประเทศกลมุ่ ยโุ รปตะวันออก ทําให้

ฝา่ ยตะวนั ตกรวมตวั กนั ทางทหารเพอื่ สกดั กน้ั การขยายตวั

ของสหภาพโซเวียตและประเทศคอมมิวนิสต์

ดงั นั้นทางฝา่ ยตะวันตกจงึ ตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนตกิ เหนอื หรือองค์การนาโต้ ขน้ึ เม่อื 4 เมษายน ค.ศ.1949
เพอ่ื ตอบโตท้ างทหารทสี่ หภาพโซเวยี ตไดเ้ ขา้ ไปครอบงําประเทศยโุ รปตะวนั ออกทง้ั หมดและขม่ ขปู่ ดิ ลอ้ มนครเบอรล์ นิ
สว่ นทางสหภาพโซเวียตกไ็ ด้ต้งั องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ.1952 ตามมา โดยมีจดุ มุง่
หมายเพอ่ื ดําเนนิ การตามสญั ญามติ รภาพความรว่ มมอื และการชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ของประเทศในเครอื คอมมวิ นสิ ต์

ผลท่ีตามมาของสงครามเย็น

ผลของสงครามเยน็ ทาํ ให้ท้ังสองฝา่ ย คอื ฝ่ายโลกเสรีและ การดําเนนิ นโยบายอยา่ งหนงึ่ ของสหภาพโซเวยี ตสมยั
ฝา่ ยคอมมวิ นสิ ตเ์ ผชญิ หนา้ กนั และหาพนั ธมติ รของตนซง่ึ สตาลนิ มอี าํ นาจทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความแตกแยกในกลมุ่ ประเทศ
ความรว่ มมอื ในการกอ่ ตง้ั องคก์ ารสหประชาชาตกิ ย็ ตุ ลิ งไป ยุโรปตะวันออก คือ การสนับสนุนขบวนการสนั ตภิ าพ
ดว้ ยเพราะทง้ั สองฝา่ ยตา่ งใชส้ ทิ ธยิ บั ยง้ั ดาํ เนนิ การขดั ขวาง ในยโุ รป มสี าํ นักงานใหญ่ทีน่ ครปารสี ในตอนนน้ั เพอ่ื
ไมใ่ หอ้ งคก์ ารสหประชาชาตทิ าํ งานได้เขตอทิ ธพิ ลในยโุ รป ทาํ หน้าทห่ี าแนวร่วมให้แก่สหภาพโซเวยี ต เปน็ เครื่อง
กไ็ ดแ้ บง่ ออกอยา่ งชดั เจนโดยยโุ รปตะวนั ออกตกไปอยภู่ าย มอื ในการทาํ สงครามเยน็ ทเี่ ปน็ การดําเนนิ นโยบายหา
ใตอ้ ทิ ธพิ ลของสหภาพโซเวยี ตแทบจะทง้ั หมดจะมกี เ็ หลอื พันธมิตร และตอบโต้ฝา่ ยตะวนั ตก โดยเฉพาะ เพอื่ หา
เพยี งประเทศยโู กสลาเวยี เทา่ นนั้ ทเ่ี ปน็ ประเทศคอมมวิ นสิ ต์ ทางดึงเอาสมาชิกขององค์การนาโต้ออกมาจากกลุ่ม
มคี วามเป็นอสิ ระไมอ่ ยู่ในอาณตั ขิ องสหภาพโซเวียตทาง
ฝา่ ยตะวนั ตกจงึ พยายามทจี่ ะเผยแพรข่ า่ วสารใหป้ ระชาชน
ในประเทศเหลา่ น้นั ไดร้ ูเ้ รื่องราวในประเทศอ่นื จึงเกิดการ
ต่อสู้เพ่ือเสรีภาพหลายครั้งในประเทศยุโรปตะวันออกใน
เวลาตอ่ มา เชน่ กรณเี ยอรมันตะวนั ออก กรณฮี ังการี และ
กรณีเชโกสโลวะเกีย จนทาํ ใหส้ หภาพโซเวยี ตต้องเข้าไป
ปราบปรามโดยอา้ งวา่ เพอ่ื ปอ้ งกนั พนี่ อ้ งคอมมวิ นสิ ตด์ ว้ ย
กัน อีกทง้ั ยังพยายามดาํ เนินการแทรกซึมเข้าไปในพรรค
คอมมิวนิสตใ์ นยุโรปตะวันตก โดยพยายามใหค้ วามชว่ ย
เหลอื สงั คมดา้ นตา่ งๆแกส่ มาชกิ และพรรคทม่ี อี ดุ มการณร์ ว่ ม
กันกบั สหภาพโซเวียต

สงครามเยน็ ในยโุ รปไดข้ ยายตวั ขา้ มทวปี เมอื่ คอมมวิ นสิ ตจ์ นี ไดช้ ยั ชนะเหนอื
แผ่นดนิ ใหญ่ และตง้ั สาธารณรัฐประชาชนจนี โดยมเี หมาเจอ๋ ตุงเปน็
หวั หนา้ ซง่ึ สหภาพโซเวยี ตเปน็ ประเทศแรกทใี่ หก้ ารรบั รองรฐั บาลของ
สาธารณรัฐประชาชนจีนและเปน็ พนั ธมติ รร่นุ น้อง ในฐานะทจ่ี ีนเปน็
ประเทศคอมมวิ นสิ ตท์ ่ีเกิดขนึ้ มาใหม่ ทาํ ใหเ้ หมาเจอ๋ ตุงประกาศยึด
นโยบาย “พิงไปขา้ งเดียว” คือ การหวังพง่ึ ทางการเมืองและเศรษฐกจิ กับ
สหภาพโซเวียต เห็นไดช้ ดั จากการที่ผู้นําจนี คอมมวิ นิสตห์ ลายคน เช่น
เหมาเจอ๋ ตงุ และโจวเอนิ ไหลไดเ้ ดนิ ทางไปมอสโกเพอื่ ทาํ การลงนามในสนธิ
สั ญ ญ า ก า ร ค้ า แ ล ะ มิ ต ร ภ า พ กั บ ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ต

ในภมู ภิ าคเอเชยี สหรฐั อเมรกิ ากไ็ ดเ้ ขา้ มาเผชญิ หนา้
กบั สหภาพโซเวียต และสาธารณรฐั ประชาชนจีน
ทเ่ี กาหลี หลังสงครามโลกคร้งั ทส่ี อง ดินแดนเกาหลี
ถกู แบ่งออกเปน็ สองส่วน สว่ นหน่งึ เรยี กว่าเกาหลใี ต้
ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสหรฐั อเมรกิ ามรี ะบบเศรษฐกจิ
แบบทุนนิยม อกี สว่ นหน่งึ เรียกว่าเกาหลีเหนือได้รับ
การสนบั สนนุ จากกองกําลงั สหภาพโซเวยี ตมรี ฐั บาล
ของผู้นิยมคอมมิวนสิ ต์ เปน็ ระบบการปกครอง
เผด็จการของชนชั้นกรรมาชีพ เกาหลีท้งั สองฝ่าย
ตอ้ งการจะรวมเป็นประเทศเดียวกนั แตต่ กลงกนั ไม่
ไดว้ า่ จะใหใ้ ครเปน็ ใหญ่จนมกี ารใชส้ งครามเปน็ เครอื่ ง
มอื เมือ่ วนั ท่ี 25 มิถนุ ายน ค.ศ.1950 และฝ่าย
เกาหลใี ตเ้ ปน็ ฝา่ ยทแ่ี พ้สหรฐั อเมรกิ าจงึ ไดท้ ําการชว่ ย
เหลอื ผ่านองคก์ ารสหประชาชาติ กล่าวหาว่า
เกาหลเี หนือเปน็ ผรู้ กุ ราน และได้ส่งกองกําลงั
สหประชาชาตติ อบโตก้ องกาํ ลงั ของเกาหลเี หนอื จน
ในทสี่ ุดทงั้ สองประเทศถูกแบ่งแยกอย่างถาวร

หลงั จากสงครามเกาหลีสงครามเยน็ กข็ ยายเขา้ มาถงึ เอเชยี อยา่ งกวา้ งขวางสหรฐั อเมรกิ าจงึ ดาํ เนนิ นโยบายสกดั กน้ั
คอมมิวนิสต์อยา่ งเต็มที่ โดยได้ให้ความช่วยเหลอื แกป่ ระเทศเกดิ ใหม่ และประเทศที่กําลังพัฒนาท้ังทางทหารและ
เศรษฐกจิ เพราะหากปลอ่ ยให้มีสภาพแรน้ แค้นประเทศเหล่านี้จะเข้าไปอยู่กับฝั่งคอมมิวนสิ ต์ได้นอกจากช่วยในการ
พัฒนาเศรษฐกิจและการเมอื งแลว้ ทางฝ่ายตะวนั ตกยังได้ดาํ เนนิ การจดั ตง้ั องคก์ รส่วนภูมภิ าคทีม่ กี ารร่วมมอื ทาง
ทหาร เชน่ องคก์ ารสนธิสัญญาป้องกันร่วมกนั แห่งเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ หรือ SEATO ที่มีประเทศทอี่ ยู่ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้และประเทศทีม่ ีผลประโยชนใ์ นภูมิภาคนีเ้ ขา้ รว่ ม เชน่ ฟิลิปปินส์ ปากสี ถาน ไทย องั กฤษ ฝรงั่ เศส
ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ซึง่ ปัจจบุ ันได้ถกู ยุบไปแล้ว

บทบาทของมหาอํานาจ
ในการผอ่ นคลายความตึงเครยี ด



ยคุ แหง่ ความตึงเครียด

ความรว่ มมือและความขัดแย้งระหวา่ งประเทศตา่ ง ๆ จากนยิ ามเหน็ ว่า ความตึงเครยี ดระหว่างมหาอํานาจ
นโยบายความรว่ มมือระหวา่ งประเทศต่อประเทศ หรือ อย่างสหรฐั อเมริกา สหภาพโซเวียตและสาธารณรฐั
ระหว่างกลุ่มประเทศอาจนําไปสู่ความขัดแย้งกับอีกกลุ่ม ประชาชนจนี นน้ั พฒั นามาจากความหวาดดระแวงและ
ได้ซงึ่ ความขดั แยง่ ระหวา่ งประเทศนนั้ เปน็ พฤตกิ รรมรว่ ม ไมห่ วงั ไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั หรอื เปน็ เรอื่ งผลประโยชน์
ของมนษุ ย์ ซึง่ ความขัดแย้งอาจแปรสภาพมาจากการ กับขยายอาํ นาจ โดยหลังจากเพ่ิงจบสงครามโลกครัง้ ที่
แขง่ ขนั หากวา่ มฝี า่ ยหนง่ึ จอ้ งการครอบครองสภาพภาพ 2 ทัง้ สหหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวยี ตมคี วามไม่ไว้
ไว้แตเ่ พยี งผูเ้ ดยี ว และกีดกันผูอ้ น่ื ใหพ้ น้ ทาง สว่ นความ วางใจกนั สงู มากเพราะแตล่ ะฝา่ ยจะดําเนนิ นโยบายตา่ ง
ตึงเครยี ด (tension) จะมีความแตกกต่างกบั ความขดั แยง้ ประเทศตามแนวอดุ มการณข์ องตน โซเวียตตอ้ งการให้
คอื ความตงึ เครยี ดหมายถงึ ความรนุ แรงทไ่ี มแ่ สดงออกมา เกดิ การปฏวิ ัตขิ องชนช้นั กรรมาชีพทว่ั โลก สว่ น
ความหวาดกลวั ความระแวงสงสยั โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ ความ สหรัฐอเมรกิ าหวาดระแวงต่อการกระทาํ นี้เพราะเห็นว่า
ตงึ เครยี ดระหวา่ งประเทศจะเปน็ ขน้ั แรกทน่ี าํ ไปสหู่ รอื พฒั นา เปน็ การคกุ คามระบบเสรปี ระชาธปิ ไตยทต่ี นเปน็ ผนู้ าํ อยู่
เป็นความขัดแย้งในภายหลัง จงึ พยายามตอ่ ตา้ นการขยายอทิ ธพิ ลของสหภาพโซเวยี ต

สว่ นหนงึ่ ของความหวาดระแวงเกดิ ขนึ้ มา
จากการที่ท้ัง 2 ฝ่ายไมร่ ู้ศกั ยภาพ
ทางการทหารของอกี ฝา่ ยสกั เทา่ ไหร่ซงึ่
ไมต่ า่ งจากการทค่ี นตาบอดสองคนทมี่ ี
อาวุธครบมอื อยใู่ นหอ้ งหอ้ งเดียวกัน
ต่างคนต่างคิดว่าอีกฝ่ายหนึ่งสามารถ
มองเห็น เช่นนที้ ําใหแ้ ตล่ ะฝ่ายตา่ ง
ก็พัฒนาอาวุธให้มีอานุภาพรุนแรงขึ้น
อย่างสหรัฐอเมริกาที่ถึงแม้จะเป็นชาติ
แรกท่มี รี ะเบดิ ปรมาณูเปน็ ชาตแิ รก แต่
ก็ยังคงมีแผนพัฒนาระเบิดไฮโดรเจร
ทีร่ ุนแรงกว่า ฝ่ายโซเวียตก็ได้พัฒนา
ขีปนาวธุ ทม่ี พี สิ ยั ขา้ มทวีปได้

การพัฒนาอาวุธและการสะสมอาวุธที่มีสมรรถนะทางการทําลายล้างสูงของทั้งสองมหาอาํ นาจเช่นนี้ทาํ ให้โลกอยู่
ในยคุ แหง่ ความตงึ เครยี ดทงั้ นเ้ี พราะทง้ั คตู่ า่ งมคี วามขดั แยง้ ทางการเมอื งและมคี วามระแวงตอ่ การสะสมอาวธุ ซง่ึ กนั
และกนั ตา่ งฝา่ ยมคี วามพรอ้ มทจ่ี ะสามารถโจมตอี กี ฝา่ ยกอ่ นไดเ้ สมอแตเ่ หตกุ ารณน์ ไ้ี มเ่ คยเกดิ ขนึ้ เลยเพราะไมว่ า่ ฝา่ ย
ไหนจะเป้นฝา่ ยเริ่มโจมตีกอ่ น ความเสยี หายทต่ี นได้รับก็พอๆกับอกี ฝา่ ยหนง่ึ สมมติเช่นหากวันหนงึ่ สหภาพโซเวียต
ยงิ ขปี นาวุธใส่สหรัฐอเมริกาสหรัฐอเมรกิ าก็จะตอบโตด้ ว้ ยขีปนาวธุ เช่นกันเช่นนี้ไมว่ า่ ฝ่ายไหนจะเป้นฝ่ายเรม่ิ ความ
รนุ แรงผลเสยี ทต่ี นไดร้ บั กย็ ํา่ แยไ่ มต่ า่ งจากฝา่ ยทโ่ี ดนโจมตกี อ่ นเชน่ นท้ี าํ ใหท้ ง้ั สองประเทซาํ ยายามทาํ ใหอ้ กี ฝา่ ยหนง่ึ
อ่อนแอโดยไมต่ ้องใชอ้ าวุธ เช่นอาศัยโฆษณาชวนเช่ือ แสวงหาอทิ ธพิ ลทางการเมอื งผ่านองคก์ รณร์ ะหวา่ งประเทศ

ยุคแห่งการผอ่ นคลายความตึงเครียด

เม่ือสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตไม่สามารถทาํ สงคราม
นิวเคลียร์ต่อกันได้ แต่ทัง้ สองมหาอํานาจยงั คงหาวิธีอน่ื ๆ เพือ่
ทาํ ใหฐ้ านะของอีกฝา่ ยหนงึ่ ตกต่าํ ลง การกระทําเหล่านี้มี
ลกั ษณะเปน็ ยคุ แหง่ การผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดซงึ่ สาเหตุ
ก็คือการเปล่ียนแปลงนโยบายต่างประเทศของสอง
มหาอํานาจ อยา่ งสหภาพโซเวียตท่ีได้ปลอ่ ยดาวเทยี มดวง
แรกใหไ้ ปโคจรรอบโลกไดส้ าํ เรจ็ ฐานะฃเมอื งระหวา่ งประเทศ
ก็สูงขน้ึ นอกจากนี้การเสนอนโยบายการอยู่รว่ มกันโดยสนั ติ
(Peaceful co-existence policy) ท่ีเร่มิ โดยนายครสุ ซอฟนายก

รฐั มนตรคี นใหม่ทําใหก้ ารตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ บั ประเทศตา่ งๆมมี ากขน้ึ
กวา่ สมยั สตาลิน เห็นไดว้ า่ สมัยนโ้ี ซเวยี ตใชอ้ ิทธพิ ล (influence)

มากกวา่ อํานาจ(power)มาเปน็ เครอื่ งมอื เพอื่ บรรลตุ ามนโยบาย
ตา่ งประเทศ

นโยบายการอยู่ร่วมกนั โดยสันตมิ ีท่ี มาเพอ่ื สร้างดลุ แหง่ อาํ นาจระหว่างสหภาพโซเวียตกบั สหรัฐอเมรกิ าน่นั เอง แต่
ก็มีความแตกกตา่ งด้านการแบง่ กลุ่มประเทศต่าง ๆ แตท่ ั้งนก้ี ารอยู่รว่ มกันโดยสนั ตนิ ้นั เป็นความปรารถนาทง้ั ของ
สหรฐั อเมรกิ าและสหภาพโซเวยี ตทจ่ี ะแบง่ แยกยโุ รปออกเปน็ เขตอทิ ธพิ ลของตนอยา่ งสนั ตนิ น่ั เองและการกระทาํ อยา่ ง
นีก้ เ็ ปน็ สว่ นหนึ่งทท่ี าํ ให้ความตึงเครียดระหว่างสองมหาอํานาจผอ่ นคลายลง แตใ่ นความเปน็ จรงิ กลมุ่ ประเทศทไี่ ม่
ฝักใฝ่ฝ่ายใดน้ัน ไม่มอี าํ นาจทางการทหาร อาํ นาจทางเศรษฐกจิ และการเมอื ง จึงไมส่ ามารถคานอํานาจของทั้งสอง
มหาอํานาจได้นกั และมผี ูต้ งั้ ขอ้ สังเกตวา่ สหภาพโซเวียตได้พยายามดงึ กลมุ่ ประเทศนมี้ าอยู่ฝัง่ ตน

สว่ นฝ่งั สหรฐั อเมริกานนั้ เมอ่ื ตระหนักไดว้ า่ การจะตอ่ สู้
ดว้ ยอาวธุ นวิ เคลยี รซ์ งึ่ ฝา่ ยโซเวยี ตกม็ แี ละทรงพลงั เชน่ กนั
น้นั ผลที่ได้มีแตเ่ สียกับเสีย สหรัฐอเมรกิ าจงึ ได้หันมาใช้
เครื่องมือทางการทูตสร้างอิทธิพลทางการเมืองระหว่าง
ประเทศและใชน้ โยบายใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการทหารและ
เศรษฐกจิ ตอ่ ประเทศโลกทสี่ ามเพอื่ ดงึ ประเทศเหลา่ นม้ี าเปน็
พันธมิตรของตน

อย่างไรก็ดีการดําเนินนโยบายต่างประเทศของทั้งสอง
มหาอาํ นาจทาํ ให้ความตึงเครียดอันเกิดจากการเผชิญ
หนา้ กนั โดยตรงลดลงสหรญั อเมรกิ ามกี ารพยายามทม่ี ี
การเจตจาลดกําลงั อาวุธกับฝ่ายสหภาพโซเวียต ค.ศ.
1969 ประธานาธิบดีนิกสนั ไดป้ ระกาศนโยบายตอ่
สหภาพโซเวยี ตวา่ ไมต่ อ้ งการกอ่ สงครามปรมาณูรวมทงั้
การเจรจาจาํ กัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ (Strategic
Arms Limitation Talk (SALT)) นบั เป็นยคุ แหง่ การผอ่ น
คลายความตงึ เครียด

ยคุ แหง่ การเรมิ่ ความตงึ เครยี ดข้ึนใหม่

จากความหวัดกลัวพลังอํานาจของกันและกัน
ระหว่างสาภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาทให้
มหาอาํ นาจท้ังคู่ต่างยับย้ังท่าทีท่ีอาจคุกคามกัน
และกันในทางกําลังอาวุธ แต่เพ่ิมความสมั พนั ธ์
ทีด่ ตี ่อกันแทน ทําให้ดูเหมือนวา่ ความตึงเครียด
ของทงั้ คไู่ ดล้ ดลงไปแลว้ แตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายวา่ ความ
ไวใ้ จตอ่ กนั จะมมี ากขนึ้ ซง่ึ เราตอ้ งตอ้ งศกึ ษาไปให้
ลกึ ถงึ นโยบายต่างประเทศในเวลานนั้ ๆประกอบ
ดว้ ยเพอ่ื จะไดเ้ ขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ
ว่าจริงๆแลว้ เปน็ เชน่ ไรตงึ เครียดหรือขัดแยง้ หรือ
ร่วมมือกนั ได้ดี ?

ในสว่ นของสหภาพโวเวยี ตภายใต้การนําของนายเบรสเนฟ (Brezhev) เขามุง่ ที่จะสร้างบรู ณาการระหวา่ งคนกลมุ่
ตา่ ง ๆ ภายในโซเวียต และสร้างความกลมกลืนด้านผลประโยชน์ระหว่างรฐั ยโุ รปตะวนั ออกตา่ ง ๆ ซึง่ กระบวนการ
เหลา่ นี้เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างชนชนั้ กรรมาชีพในระดบั สากล โดยอาศยั หลักการอยู่ร่วมกนั อยา่ งสันติ
ท่ีได้ปทู างมาแลว้ ในสมยั ครุสซอฟ ทําใหเ้ รายิง่ เห็นเด่นชัดวา่ การนาํ เนินนโยบายของเบรสเนฟนั้น เต็มไปดว้ ยความ
ประนปี ระนอมมคี วามยดื หยนุ่ ในกาดําเนนิ นโยบายกบั ประเทศอนื่ ทไี่ มใ่ ชค่ อมมวิ นสิ ต์ทาํ ใหน้ กั ทฤษฎใี นโซเวยี ตเชอ่ื
ว่าประเทศตนคือศูนยก์ ลางการปลดปล่อยของโลก เพราะสามารถปลดปลอ่ ยกลมุ่ ประเทศตา่ ง ๆ ทโ่ี ซเวียตสนับสนนุ
ไดส้ ําเรจ็ เช่นเวียดนาม เป็นต้น ดงั น้นั จึงทําให้ สหภาพโซเวยี ตมีทา่ ทที ่ีแข็งกรา้ วกับสหรฐั อเมริกาข้นึ มาอกี ครัง้ เช่น
การเขา้ ไปแทรกแซงอัฟกานสิ ถานของสหภาพโซเวียตโดยไมส่ นใจตอ่ คําประนามจากนานาประเทศ

ด้านสหรัฐอเมริกาเองก็มีความเปล่ียนแปลงทางด้าน

การเมอื งภายในหลายประการ เช่นการตายของ

ประธานาธิบดีเคนเนดี้ ตอ่ มาระหวา่ งท่ปี ระธานาธบิ ดี

จอห์นสนั (Lyndon B. Johnson) ดํารงตําแหน่งอยูน่ นั้

อเมริกามุ่งจะพิชิตสงครามด้วยการศึกษาและสร้างความ

มน่ั ใจแกพ่ นั ธมติ รทางเอเชยี อาคเนยด์ ว้ ยทวา่ คนในประเทศ

ไมต่ อ้ งการเชน่ น้นั ประชาชนคดิ ว่าสงครามทําให้ประเทศ

เสียเงนิ โดยใชเ่ หตุ และมีทหารอเมรกิ นั เสยี ชวี ติ ไปจํานวน

มาก และเม่อื มาเป็นสมัยของประธานาธบิ ดีนกิ สนั กม็ ขี ่าว

เรอื่ งการไมส่ จุ รติ ทางการเมอื งภายในประเทศ ทาํ ให้

ประธานาธบิ ดนี กิ สนั ตอ้ งลาออกไปและเมอื่ มาถงึ การดาํ รง

ตาํ แหนง่ ของประธานาธบิ ดฟี อรด์ กไ็ ดม้ กี ารเจรจาเปดิ ความ

สัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนเพ่ือเตรียมลู่ทางการ

เจรจาจํากัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ครั้งท่ีสองกับสหภาพ

โซเวียต

เมอ่ื ชยั ชนะของเวยี ดนามเหนอื ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสหภาพโซเวยี ตเกดิ ขน้ึ ตอ่ เวยี ดนามใตภ้ ายใตก้ ารสนบั สนนุ
ของสหรฐั อเมริกาทําใหช้ าวอเมริกายิ่งไมต่ อ้ งการสงครามอกี แลว้ ทําให้ชาวอเมรกิ นั สนบั สนนุ นายโรนัลด์เรแกนให้
มาเปน็ ประธานาธบิ ดีเขาสามารถแกป้ ญั หาเศรษฐกจิ ภายในประเทศไดด้ ีแตก่ ย็ งั คงมนี โยบายตา่ งประเทศทส่ี นบั สนนุ
สงครามปอ้ งกนั ประเทศระหวา่ งนนั้ เองสหภาพโซเวยี ตกม็ นี โยบายตา่ งประเทศทแ่ี ขง็ กรา้ วตอ่ สหรฐั อเมรกิ าสถานการณ์
ของโลกจึงกลับมาตงึ เครยี ดอีกครงั้ หนึง่ นาํ ไปสู่การสนับสนนุ ต่อสงครามกลางเมืองในประเทศต่าง ๆ ในลาติน
อเมรกิ าและแอฟรกิ าโดยตน้ เหตขุ องความตงึ เครยี ดครงั้ ใหมน่ อ้ี าจเกดิ มาจากสหภาพโซเวยี ตตอ่ การแผข่ ยายอทิ ธพิ ล
ไปยงั เปอรเ์ ซยี ในอนาคตแตบ่ รเิ วณนนั้ กลบั เปน็ บรเิ วณผลประโยชนท์ างยทุ ธศาสตรแ์ ละทางเศรษฐกจิ ของสหรฐั อเมรกิ า
ด้วยเหตุน้เี องความตงึ เครียดจึงทวคี วามรนุ แรงขึ้นอกี ครัง้



การเจรจาลดความตึงเครียด

คําวา่ การจาํ กดั อาวธุ หรอื ควบคมุ การสะสมอาวธุ มคี วามหมายครอบคลมุ ถงึ การควบคมุ อาํ นาจทางการทาํ ลายของ
อาวุธนวิ เคลียร์ ความเสยี่ งทจี่ ะเกดิ สงครามอย่างไม่เจตนาและการแขง่ ขันสะสมอาวุธ จะเห็นไดว้ ่า ความหมายดัง
กลา่ วนสี้ ะทอ้ นถงึ วตั ถปุ ระสงค์ดา้ นการเมอื งระหว่างประเทศของนโยบายตา่ งประเทศ โดยเฉพาะของประเทศ
มหาอํานาจทีม่ ีอาวุธทางยุทธศาสตรไ์ วใ้ นครอบครอง ดงั น้นั ถ้ามกี ารดําเนินการตามวัตถปุ ระสงค์เหล่านี้ไดอ้ ยา่ ง
จรงิ จงั ก็จะเปน็ สร้างความรว่ มมอื และความมั่นคงระหว่างประเทศข้นึ และแม้จะไมส่ ามารถดาํ เนินการไดจ้ นถึงข้นั
นก้ี ต็ าม ในข้นั แรกกย็ อ่ มทาํ ใหเ้ กดิ การเจรจาในข้อตกลงบางอย่างได้ ซง่ึ การดําเนนิ การดังกลา่ วลว้ นแต่เป็นล่ทู าง
ของการสร้างสนั ตภิ าพให้แกโ่ ลกทง้ั สน้ิ

การลดความเสยี่ งของการเกดิ สงครามนน้ั อาจตคี วามไดว้ า่ เปน็ การลดสมรรถนะดา้ นการทหารทจ่ี ะทาํ สงครามและ
ลดความต้องการของชาติที่จะใช้สงครามเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางด้านการระหว่างประเทศของตน
แตก่ ารตคี วามเชน่ นก้ี อ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาวา่ การลดสมรรถนะทางดา้ นการทหารควรจะลดแคไ่ หนถงึ จะไมก่ ระทบกระเทอื น
สมรรถนะทางดา้ นการปอ้ งกนั ตวั เองจากการรกุ รานของผอู้ นื่ ได้และความรว่ มมอื ทางการทหารระหวา่ งประเทศตา่ งๆ
ท่เี รียกวา่ การเปน็ พันธมิตรทางการทหาร เช่น ระหวา่ งสหรฐั อเมรกิ ากบั ประเทศทางยโุ รปน้ันเปน็ การสะสมกาํ ลัง
ทางการทหารหรอื ไม่และการจาํ กดั อาวธุ เพอ่ื ลดความเสย่ี งของการเกดิ สงครามนน้ั ถา้ ปฏบิ ตั ติ ามจรงิ ๆแลว้ จะทําให้
เกิดผลกระทบตอ่ ดลุ ยภาพทางการทหารระหวา่ งประเทศมหาอาํ นาจแคไ่ หน

มหาอาํ นาจกบั การเจรจาจาํ กดั อาวุธ
ทางยทุ ธศาสตร์เพอื่ ผอ่ นคลายความตึงเครยี ด

ความตอ้ งการทจ่ี ะลดอาวธุ ทางยทุ ธศาสตรน์ น้ั ไดร้ เิ รมิ่ จากทางฝา่ ยสหรฐั อเมรกิ าในสมยั ของประธานาธบิ ดจี อหน์ สนั
เมอื่ เดอื นมกราคม ค.ศ.1964 ประธานาธบิ ดีจอหน์ สนั ได้มสี ารถงึ คณะกรรมการลดกาํ ลงั อาวุธสิบแปดชาติ
(Eighteen-Nations Disarmament Committee = ENDC) เรียกรอ้ งให้ยุตกิ ารเพ่มิ จาํ นวนและคณุ สมบตั ิของอาวธุ ทาง
ยุทธศาสตร์ทัง้ ทางดา้ นโจมตีและด้านรบั ไว้ก่อนข้อเสนอน้ีนับไดว้ ่าเป็นขอ้ เสนอชั้นแรกเกี่ยวกับการจํากดั อาวุธทาง
ยุทธศาสตร์ซงึ่ ทางฝา่ ยสหภาพโซเวยี ตปฏิเสธที่จะยอมรับหลักการทง้ั หมดเน่ืองจากในข้อเสนอนม้ี ีบางขอ้ เรียกร้อง
ให้มกี ารตรวจสอบจํานวนอาวธุ ที่มีอยูใ่ นความครอบครองของแต่ละฝ่าย แตข่ ณะนัน้ บทบาทของสหรัฐอเมรกิ าใน
สงครามเวยี ดนามกําลงั ทวคี วามรนุ แรงดงั นน้ั ประเดน็ เรอื่ งความแตกตา่ งในความเขม็ แขง็ ทางยทุ ธศาสตร์และความ
ไดเ้ ปรยี บเสยี เปรยี บทางสงครามเวยี ดนามจงึ เปน็ เงอื่ นไขสาํ คญั ทที่ าํ ใหก้ ารเจรจาลดกําลงั อาวธุ ทางยทุ ธศาสตรต์ อ้ ง
ล่าชา้ นอกจากนี้วิกฤตกิ ารณส์ หภาพโซเวียตบกุ เขา้ เชโกสโลวะเกีย ในปี ค.ศ.1968 ก็สง่ ผลกระทบใหเ้ กิดความล่าชา้
มากข้นึ ไปอกี

ในเดอื นมถิ นุ ายน ค.ศ.1967 ประธานาธิบดีจอห์นสันไดพ้ ยายามเจรจาต่อรองการลดอาวุธทางยทุ ธศาสตรอ์ กี คร้งั
หนงึ่ ซง่ึ ทางนายกรฐั มนตรโี คกซิ นิ ไดต้ อบรบั จงึ มกี ารประชมุ สงู สดุ ระหวา่ งผนู้ าํ สองประเทศขนึ้ ทกี่ ลาสโบโรซง่ึ เปน็ การ
ประชมุ ทีไ่ มป่ ระสบความสาํ เรจ็ จนถึงสมยั ประธานาธบิ ดนี ิกสนั ในวันที่ 25 ตลุ าคม ค.ศ.1969 ประเทศมหาอาํ นาจทัง้
สองประเทศประกาศรว่ มกนั ว่า จะเรม่ิ ตน้ เจรจาจํากัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ในวันท่ี 17 พฤศจกิ ายน ค.ศ.1969 โดยใช้
กรงุ เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์เปน็ สถานท่ีในการเจรจา
SALT I : การเจรจาจํากดั อาวุธทางยุทธศาสตร์ I (ค.ศ.1969-1972) หมายถึง การเจรจาท้ังหมดทุกรอบตง้ั แต่
พฤศจกิ ายน ค.ศ.1969 ถงึ พฤษภาคม ค.ศ.1972 (เมอ่ื ตกลงกนั ได้) ซง่ึ มอี ยู่ 4 ประเด็น ดงั นี้
1. วา่ ด้วยมาตรการลดความเส่ยี งของการเกดิ สงครามนวิ เคลียรร์ ะหวา่ งสหรัฐอเมรกิ ากับสหภาพโซเวยี ต
2. วา่ ดว้ ยการปรับปรงุ การตดิ ต่อส่อื สารกนั โดยตรงระหว่างสหรฐั อเมริกากับสหภาพโซเวยี ต
3. สนธสิ ญั ญาระหวา่ งสหรฐั อเมรกิ าและสหภาพโซเวยี ตว่าด้วยการควบคุมระบบจรวดด้านจรวด (The ABM Treaty)
4. ขอ้ ตกลงชวั่ คราวระหว่างสหรัฐอเมรกิ ากบั สหภาพโซเวียตเกยี่ วกับมาตรการจํากดั อาวุธ

แต่ถ้าหากมองทางทฤษฎีของความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศว่าด้วยการใช้กาํ ลังทหารในการดาํ เนินตาม
นโยบายตา่ งประเทศให้บรรลุผล ก็จะพบวา่ นกั ทฤษฎี
หลายคนเหน็ วา่ เปน็ การชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ความลม้ เหลวทางดา้ น
การทตู และการตา่ งประเทศของประเทศนน้ั ๆกลา่ วคอื เมอ่ื
มคี วามตงึ เครยี ดระหวา่ งประเทศเกดิ ขนึ้ ยอ่ มหมายความ
วา่ วตั ถปุ ระสงคข์ องประเทศหนงึ่ ไปขดั กบั ผลประโยชนข์ อง
อกี ประเทศหนง่ึ และขน้ั ตอนแรกของการแกไ้ ขปญั หาหรอื
ลดความตงึ เครยี ดกค็ วรใชก้ ารเจรจาหรอื การตอ่ รองโดย
หยบิ ยนื่ ขอ้ เสนอแกก่ นั และกนั ใหแ้ ตล่ ะฝา่ ยเปลยี่ นหรอื ปรบั
วตั ถปุ ระสงคท์ ไ่ี มเ่ ขา้ ใจกนั เพอ่ื เกดิ ผลประโยชนร์ ว่ มกนั หรอื
เพ่ือใหฝ้ ่ายใดฝา่ ยหนงึ่ ไมเ่ สียผลประโยชน์ การเจรจาจงึ
เปน็ เครอ่ื งมอื สําคญั เบอื้ งตน้ ทจ่ี ะชว่ ยใหก้ ารดําเนนิ นโยบาย
ต่างประเทศบรรลเุ ป้าหมายทวี่ างไว้

สรปุ ไดว้ า่ การเจรจาลดความตงึ เครยี ดในประเดน็ ของการ
ลดอาวุธทางยุทธศาสตร์น้ันเป็นไปเพ่ือก่อให้เกิดความ
มนั่ คงของประเทศจากการหลกี เลยี่ งภยั สงครามโดยอาศยั
เครอ่ื งมอื ทางการทูตตั้งแตอ่ ดตี คอื การเจรจากันมาเป็น
ตัวดาํ เนินงาน แต่การท่ีทัง้ สองฝา่ ยจะเจรจาได้ไมใ่ ช่เกิด
จากความตอ้ งการของผนู้ ําเทา่ นน้ั แตต่ อ้ งเกดิ จากสถาบนั
ต่างๆ ภายในประเทศทง้ั สอง เช่น สถาบันนติ ิบัญญตั แิ ละ
องคก์ รบรหิ ารราชการตา่ งๆรวมทงั้ สถาบนั ทางการทหาร
เห็นประโยชน์จากการเจรจาน้ีด้วยว่าเป็นไปเพ่ือผล
ประโยชน์ของชาติหรืออยู่ในช่วงระยะเวลาที่สภาพ
แวดล้อมทางการเมืองทั้งภายนอกและภายในประเทศ
อาํ นวยให้จึงจะทําได้

SALT II : การเจรจาจาํ กดั อาวุธทางยุทธศาสตร์ II (ค.ศ.1972-1979) หมายถงึ ช่วงท่ี 2 ของการเจรจาจาํ กัดอาวธุ ทาง
ยุทธศาสตร์ อันเป็นเรือ่ งของการตอ่ รองซึ่งเร่มิ ข้ึน ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ เมอื่ วันท่ี 21 พฤศจกิ ายน
ค.ศ.1972ซง่ึ เปน็ ความพยายามทาํ ใหข้ อ้ ตกลงชว่ั คราวเกย่ี วกบั อาวธุ โจมตตี ามทป่ี รากฏในSALTIเกดิ ผลเปน็ ขอ้ ตกลง
ถาวร โดยม่งุ การเจรจาต่อรองให้ครอบคลุม 3 ประเด็น ดังนี้
1. ขยายขอบเขตการควบคุมทางปริมาณจนเปน็ ท่ยี อมรับได้ทงั้ ทางรัฐสภาสหรัฐอเมรกิ าและทางสหภาพโซเวียต
2. ให้มกี ารควบคุมทางคุณภาพของเทคโนโลยีดา้ นจรวด โดยเฉพาะขปี นาวุธหลายหวั รบ
3.ดลุ ยภาพทางยทุ ธศาสตรจ์ ะต้องคํานงึ ถงึ ผลกระทบอันจะเกดิ จากสงครามที่ใชเ้ คร่ืองบินท้งิ ระเบดิ ระยะไกลและ
การต่อต้านเรือดาํ น้าํ เขา้ ชว่ ย

ในการประชุมผ้นู ําสงู สุดเม่อื เดือนมิถนุ ายน ค.ศ.1973
ผู้นําท้ังสองฝ่ายสัญญาจะให้มีการตกลงกันให้ได้
ใ น ค.ศ.1974 ระหว่างนั้นฐานะทางการเมืองภายของ
ประธานาธิบดีนิกสันก็ตกต่าํ ลงจากกรณีวอเตอร์เกต
แตน่ ิกสันกไ็ ด้ไปเยีย่ มมอสโก เดือนมถิ นุ ายน
ค.ศ.1973ดว้ ยความหวงั วา่ จะไดร้ ว่ มมอื กบั นายโคซกี นิ
โดยหาขอ้ ตกลง SALT II ใหไ้ ด้ภายในปีนัน้ แต่แล้ว
ประธานาธบิ ดนี กิ สนั กต็ อ้ งลาออกจากตําแหนง่ ในวนั
ที่ 8 สงิ หาคม ค.ศ.1974 และรองประธานาธบิ ดี
เจอรลั ด์ฟอรด์ ขน้ึ รบั ตาํ แหนง่ เปน็ ประธานาธบิ ดแี ทน
ในวันตอ่ มา

ภายใตก้ ารบรหิ ารของประธานาธิบดฟี อรด์ การเจรจาจาํ กดั อาวุธทางยุทธศาสตร์คร้ังท่ี 2 เร่มิ ทเี่ มอื งวลาดวิ อสดอก
สหภาพโซเวยี ต โดยมงุ่ หวงั ให้ความตกลงเรือ่ งนมี้ ีระยะเวลา 10 ปี (ค.ศ.1975-1985) ตามหลักการความตกลงจะจํากดั
อาวุธทางยุทธศาสตร์ของทง้ั สองประเทศใหอ้ ยใู่ นจํานวนเทา่ กัน ข้อตกลงนไ้ี ด้รับคาํ วพิ ากษ์วจิ ารณ์มากว่าไม่กอ่ ให้
เกดิ ผลในทางปฏบิ ตั ไิ ด้เสรมิ กบั การเมอื งภายในของสหรฐั อเมรกิ าเองกท็ ําใหก้ ระบวนการนล้ี า่ ชา้ ออกไปอกี รฐั มนตรี
กลาโหมชเลชงิ เจอร์กล็ าออกจากตาํ แหนง่ ในปลายปีค.ศ.1975ทาํ ใหเ้ กดิ ขอ้ วจิ ารณว์ า่ แผนการเรอื่ งอาวธุ ยทุ ธศาสตร์
ของชาตนิ นั้ ไมเ่ หมาะสมซงึ่ ขอ้ วจิ ารณน์ ถ้ี กู นํามาเปน็ หวั ขอ้ หนง่ึ ของการหาเสยี งเลอื กตงั้ ประธานาธบิ ดใี นปถี ดั ไปผล
การเลอื กตง้ั ปี ค.ศ.1975 ปรากฏวา่ ประธานาธิบดีฟอร์ดต้องพา่ ยแพแ้ ก่นายจมิ มี คารเ์ ตอร์ ผู้ชูประเด็นเร่อื ง
สทิ ธิมนษุ ยชนโดยผลของการเจรจาจาํ กัดอาวธุ ทางยทุ ธศาสตร์ครง้ั ท่ี2ต้องล่าช้ายงุ่ ยากข้นึ และมขี ้อขดั แย้งตามมา
อีก 4 ประการ ดงั น้ี
1. ปัญหาเร่ืองเครอื่ งบนิ ท้ิงระเบดิ แบบ Backfire ซ่งึ ทางสหภาพโซเวยี ตไม่ตอ้ งการจะให้ถกู จํากดั อยูใ่ น SALT
2. ระยะเวลาของการลดอาวุธซ่งึ ทางสหรฐั อเมริกาต้องการให้ถูกจํากดั อยใู่ น SALT
3.อายขุ องพธิ สี ารตอ่ ทา้ ยซง่ึ ทางสหรฐั อเมรกิ าตอ้ งการใหม้ อี ายเุ พยี งเดอื นธนั วาคมค.ศ.1980แตท่ างสหภาพโซเวยี ต
ต้องการให้ขยายเวลาจนกว่าสามารถหยุดการพัฒนาเทคโนโลยีทางอาวุธของสหรฐั อเมรกิ าไวไ้ ด้
4. ปญั หาเรอ่ื งถอ้ ยคาํ ท่ใี ชใ้ นขอ้ ตกลงทีต่ ่างฝ่ายตา่ งก็ไมย่ อมให้เกิดการผกู มดั ตนเอง

หลงั จากมีการพบปะกันประมาณ 300 ครัง้ นบั ตงั้ แต่
ปีค.ศ.1977 เปน็ ต้นมา ในทสี่ ุดเมอ่ื วนั ที่ 18 มถิ ุนายน
ค.ศ.1979 เปน็ วนั สุดท้ายของการพบปะ 4 วนั ระหว่าง
ประธานาธบิ ดคี าร์เตอร์กบั นายเบรสเนฟ ทง้ั สองกไ็ ด้
ลงนามในข้อตกลง SALT II ที่กรุงเวียนนา โดยข้อตกลง
นตี้ ามคาํ แถลงของประธานาธบิ ดคี ารเ์ ตอรต์ อ่ รฐั สภาชใ้ี ห้
เห็นว่า SALT II ไม่ไดเ้ ป็นตวั ทีจ่ ะยุตกิ ารแข่งขันกับดา้ น
อาวธุ แต่จะให้การแข่งขนั กันน้ีมีความปลอดภยั มากขึ้น
และคาดการณ์ไดถ้ ูกตอ้ งมากขึ้น เพราะมีกฎเกณฑ์ของ
การแขง่ ขนั ท่ชี ดั เจนและมีจาํ นวนจาํ กัด

SALT II ท่ใี ชเ้ วลาดาํ เนนิ การมาถงึ 7 ปีไมไ่ ด้รับการให้สตั ยาบนั จากรฐั สภาสหรัฐทง้ั ในสมยั ประธานาธิบดีคาร์เตอร์
และทงั้ ในสมยั ประธานาธบิ ดเี รแกนสมยั แรก(ค.ศ.1980-1984)เพราะตวั ประธานาธบิ ดเี รแกนและบรรดาทปี่ รกึ ษาเหน็
ว่าสง่ิ ท่ีทําใหเ้ รือ่ ง SALT ไม่ได้รบั การสนบั สนุนกค็ อื การขาดความจริงจงั ในเรอ่ื งการลดจาํ นวนอาวุธยุทธศาสตร์
ดงั นน้ั ภายหลังทไี่ ดต้ รวจสอบเรื่องการเจรจาจาํ กัดอาวธุ ทางยุทธศาสตรม์ าพอสมควรฝา่ ยบรหิ ารอเมริกาได้เสนอ
ทางเลอื กใหม่ขนึ้ มาโดยมุ่งลดอาวุธยุทธศาสตรใ์ นวงกว้าง โดยเรยี กแนวทางใหมน่ ว้ี า่ การเจรจาเพอ่ื ลดอาวธุ ทาง
ยุทธศาสตร์ (Strategic Arms Reductions Talk = START) แทนการเจรจาคร้งั ก่อน โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ สร้าง
ดลุ ยภาพกับฝ่ายสหภาพโซเวียตซ่ึงคาดว่ามจี รวดอยใู่ นพิสัยเดยี วกัน แตก่ ารเจรจาคร้ังน้ีก็ไม่สามารถตกลงกนั ได้
เพราะระหวา่ งเจรจาได้มเี หตกุ ารณก์ ระทบกระเทือนหลายประการ เช่น การท่ที ้งั สองฝา่ ยนาํ จรวดไปตดิ ตง้ั ตามเขต
อิทธพิ ลของตน จงึ ทําให้การเจรจาครั้งนีย้ ุติลงเม่ือเดอื นธันวาคม ค.ศ.1983

ความสําเร็จและความล้มเหลว
ของการเจรจาจํากัดอาวธุ ทางยุทธศาสตร์

เพ่อื ผ่อนคลายความตึงเครียด

พฤติกรรมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรัฐท่ีเป็นปฏิปักษ์กันหรือการ
ผ่อนคลายความตึงเครียดน้ันเรียกได้ว่าเป็นภาพสะท้อนของการ
ผ่อนคลายความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพ
โซเวยี ต ในขณะเดียวกนั การเกิดพฤติกรรมที่สร้างแนวโน้มของ
สงครามเย็นยุคใหม่ก็ได้สะท้อนภาพของความสัมพันธ์ในมุมตรง
กนั ขา้ มภาพสะทอ้ นทงั้ สองนเ้ี ปน็ ผลตอ่ เนอ่ื งจากความสาํ เรจ็ และ
ความลม้ เหลวของการเจรจาจํากดั อาวธุ ทางยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ ผอ่ น
คลายความตงึ เครยี ด

ทางดา้ นความสําเรจ็ อาจกลา่ วไดโ้ ดยดจู ากคาํ แถลงและเปา้ หมายทร่ี ะบไุ วเ้ ปน็ สาระสําคญั ของขอ้ ตกลงในการเจรจา
ทั้งสองครง้ั ดงั นี้
1. การยอมรับระหวา่ งมหาอาํ นาจมหาอํานาจทงั้ สองถึงความเสยี่ งของการเกดิ สงครามนิวเคลยี รท์ ่สี ืบเน่ืองมาจาก
การแขง่ ขนั ทางดา้ นอาวุธ ซ่ึงอาจเกิดจากความพล้ังเผลอ การติดต่อขา่ วสารไมท่ นั การณ์ ฯลฯ
2. เกดิ มาตรการในการลดความเสี่ยงของสงครามนิวเคลียร์ทีอ่ าจเกิดโดยอุบัติเหตุ หรือเหตกุ ารณ์อน่ื ๆ ที่นาํ ไป
ส่วู ิกฤตการณไ์ ด้
3. กอ่ ใหเ้ กิดการสร้างหลกั ประกนั ของความปลอดภัยรว่ มกนั ดว้ ยการจาํ กัดระบบการปอ้ งปรามโดยอาศยั ขปี นาวุธ
ทางยุทธศาสตรใ์ ห้อยู่ในระดบั ตา่ํ
4. กอ่ ใหเ้ กิดหลักการที่จะจาํ กัดคุณภาพของอาวธุ ท้งั ในปจั จุบันและอนาคต
5.หลกั การจาํ กดั อาวธุ ทางยทุ ธศาสตรไ์ ดก้ ลายเปน็ แบบแผนความมนั่ คงของชาตโิ ดยการเพมิ่ มาตรการในเสถยี รภาพ
ทางยุทธศาสตร์
6. ผลต่อเน่ืองจากการเจรจานาํ ไปสู่การลดความตึงเครียดระหว่างประเทศ เกิดการเจรจาโดยตรงงระหวา่ งคกู่ รณี

ส่วนทางดา้ นความล้มเหลว อาจพจิ ารณาจากผลทางปฏิบัตทิ ป่ี รากฏขน้ึ หลังจากการเจรจาทัง้ สองครัง้ ดงั น้ี
1. การเจรจาจาํ กดั อาวธุ ทางยุทธศาสตร์คร้ังที่ 1 ไม่กอ่ ให้เกิดการจํากัดขีปนาวุธแบบหลายหัวรบได้
2. การเจรจาจํากัดอาวุธทางยุทธศาสตรค์ รงั้ ท่ี 1 ไม่ประสบความสาํ เร็จในการจํากดั ระบบจรวดด้านจรวด
3. การตอ่ รองในการลดอาวุธแทจ้ รงิ คือการขอเพม่ิ อาวธุ แตล่ ะฝ่าย
4. ความผดิ พลาดในการเจรจาระหว่างอาวธุ โจมตที างยทุ ธศาสตร์ออกจากอาวธุ ป้องกนั หรอื อาวุธทางรบั
5. การเจรจาทางยทุ ธศาสตร์ไมม่ ีการพฒั นาส่ปู ระเดน็ อ่นื
6.การเจรจาจาํ กดั อาวธุ ทางยทุ ธศาสตร์ขนึ้ อยกู่ บั นโยบายตา่ งประเทศแบบลดความเปน็ ศตั รแู ละความตงึ เครยี ดของ
แต่ละฝ่าย

ซึง่ ปัจจัยทีก่ อ่ ให้ล้มเหลวของการจาํ กดั อาวุธ คือ ความไม่
จรงิ จงั ของทงั้ สองมหาอํานาจกบั การขาดแคลนมาตรการ
ควบคมุ ทีเ่ ป็นไปได้ เช่น การไมจ่ ํากัดขีปนาวุธแบบหลาย
หวั รบเพราะสหรฐั อเมรกิ าและสหภาพโซเวยี ตตา่ งตอ้ งการ
จะดาํ รงอาวธุ นีไ้ วค้ รอบครองตอ่ ไป สาํ หรับสหรฐั อเมริกา
ตอ้ งการหาผลประโยชนค์ ะแนนนยิ มทางการเมอื งภายใน
ประเทศ เพ่อื ชิงตาํ แหน่งประธานาธิบดี ส่วนทางสหภาพ
โซเวียตก็ต้องการสร้างดุลยภาพทางการป้องกันประเทศ
โดยอดุ ชอ่ งวา่ งของศกั ยภาพทางยทุ ธศาสตรใ์ หแ้ คบลงซง่ึ
แสดงให้เห็นว่าการเมืองระหว่างประเทศน้ันมีบทบัญญัติ
ของกฎหมายระหวา่ งประเทศทสี่ ามารถใชบ้ งั คบั รฐั ได้โดย
การเจรจาจํากดั อาวธุ นน้ั เปน็ เพยี งความตกลงรว่ มกนั การ
ปฏบิ ตั ขิ น้ึ อยกู่ บั แตล่ ะฝา่ ยทจี่ ะเลอื กปฏบิ ตั หิ รอื เลอื กทจี่ ะไม่
ปฏบิ ตั ิดงั นน้ั การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู บางอยา่ งทางยทุ ธศาสตร์
จงึ มขี อบเขตจาํ กดั เพอื่ เปดิ ชอ่ งทางไวใ้ หก้ บั การพฒั นาขดี
ความสามารถของอาวุธนิวเคลียรฝ์ ่ายตน



ความตงึ เครียดระหวา่ งมหาอาํ นาจในอนาคต

ความตงึ เครยี ดระหวา่ งสหรฐั อเมรกิ าและสหภาพโซเวยี ต
ในระยะเวลา 20 ปที ่ีผา่ นมา ทาํ ให้เกิดผลต่อการเหมือน
โลกอยา่ งหนงึ่ คอื การขยายขอบเขตของการเปน็ พนั ธมติ
ทางทหารออกไปกว้างข้ึน การเกดิ สงครามตัวแทนขนึ้
(Proxy War) ซง่ึ ก็คือการทตี่ า่ งฝา่ ยต่างเข้าไปสนบั สนนุ
ความขัดแยง้ ภายในประเทศกําลังพฒั นาตา่ ง ๆ ซ่ึง
ครอบคลมุ ทงั้ ในแอฟรกิ าตะวนั ออกกลางและเอเชยี โดย
ใชว้ ธิ กี ารดงึ เอารฐั หนง่ึ ออกจากอทิ ธพิ ลของฝา่ ยตรงขา้ ม
มาอยกู่ บั ฝา่ ยตนโดยใชค้ วามชว่ ยเหลอื ทางดา้ นเศรษฐกจิ
หรอื การทหารเปน็ แรงจงู ใจ

เมอื่ กลา่ วถงึ สงครามตวั แทนสงครามเวยี ดนามมกั เปน็ เหตกุ ารณท์ มี่ กั ถกู หยบิ ยกขนึ้ มาเสมอนอกจากนยี้ งั มีการยา้ ย
คา่ ยของเอธโิ อเปยี จากการเปน็ พนั ธมติ รกบั สหรฐั อเมรกิ ามาเปน็ ฝา่ ยสภาพโซเวยี ตและโซมาเลยี ทาํ ใหส้ งครามระหวา่ ง
สองประเทศนยี้ ดื เยอ้ื ขน้ึ สงครามภายในประเทศเองโกลาทขี่ ดั แยง้ กบั โปรตเุ กสซงึ่ เปน็ ประเทศพนั ธมติ รกบั สหรฐั เมรกิ า
ตามสนธสิ ญั ญาปอ้ งกนั แอตแลนตกิ เหนือ (North Atlantic Treaty Organization (NATO)) ก็ดงึ เอาสหภาพโซเวียต
และสาธารณรฐั ประชาชนจนี เขา้ มาเกยี่ วขอ้ งสนบั สนนุ แตล่ ะฝา่ ยทข่ี ดั แยง้ กนั และยงั มอี กี หลายหลายความขดั แยง้ ใน
ประเทศต่าง ๆ ท่ีลว้ นแล้วมสี หรฐั อเมริกาและสหภาพโซเวียตเปน็ ผอู้ ย่เู บอ้ื งหลัง

ดว้ ยความพยายามทจี่ ะสรา้ งดลุ อาํ นาจซง่ึ กนั และกนั ระหวา่ ง
มหาอํานาจทําใหค้ วามขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศยง่ิ รนุ แรงขน้ึ
จนถึงขั้นเกดิ สงครามโลก ซง่ึ รวมถงึ สงครามเย็นด้วย ซงึ่
ความตงึ เครยี ดระหวา่ งสหรฐั อเมรกิ ากบั สหภาพโซเวยี ตกจ็ ะ
ดาํ รงอยอู่ กี ตอ่ ไปจนกวา่ จะมปี ระเทศอน่ื หรอื กลมุ่ อน่ื พฒั นา
ตนเองขึ้นมาเปน็ มหาอํานาจอกี อํานาจหน่ึง

ท่าทกี ารกาํ หนดนโยบาย
จํากดั อาวธุ ทางยุทธศาสตร์

ความสําเร็จของการเจรจาจาํ กัดอาวุธทางยุทธศาสตร์เพ่ือผ่อนคลาย
ความตงึ เครยี ดระหวา่ งมหาอาํ นาจจะดเู ลอื นลางแตก่ ารเปลย่ี นแปลง
ตัวผู้นาํ ของสหภาพโซเวียตภายหลังจากการอสัญกรรมของนาย
คอนสแตนตนิ เชอรเ์ นนโกซง่ึ เปน็ ผนู้ ําในกลมุ่ ผสู้ งู อายเุ มอ่ื เดอื นมนี าคม
ค.ศ.1985 มาเปน็ นายมคิ าอิล กอร์บาชอฟ ซ่งึ เปน็ ผู้นาํ ร่นุ ใหม่ ที่อาจ
มผี ลกระทบท่ที ําให้การเจรจาลดความตงึ เครียดลงได้ อย่างไรกต็ าม

ปจั จยั ดา้ นผนู้ าํ ของสหภาพโซเวยี ตหรอื สหรฐั อเมรกิ ากไ็ มใ่ ชป้ จั จยั
ปจั จยั หลกั แตป่ จั จยั ทจี่ ะชว่ ยกาํ หนดนโยบายเกยี่ วกบั
การลดอาวุธได้ คอื เงอื่ นไขทางการ
เมืองท้ังระดับภายในประเทศและ
ระดบั ระหวา่ งประเทศ

ถา้ อาศยั กรอบการวเิ คราะหก์ ารกาํ หนดนโยบายตา่ งประเทศเปน็ หลกั จะเหน็ ไดว้ า่ ทางดา้ นการเมอื งภายในหรอื ระดบั
ภายในประเทศนั้น เง่อื นไขของการเจรจาลดอาวธุ ทางยุทธศาสตรจ์ ะขึ้นอยูก่ บั ประเดน็ ดงั น้ี
1. อดุ มการณ์ของผนู้ าํ ประเทศและขา้ ราชการทเ่ี กยี่ วข้อง
2. บทบาทของเจ้าหนา้ ทีแ่ ละหน่วยงานของรัฐ
3. โครงสรา้ งทางการเมืองภายในและการบริหารประเทศตามโครงสร้าง
4. เง่ือนไขทางสงั คมจากฝา่ ยทีม่ ิใชร่ ฐั บาล

สว่ นปจั จยั ทางดา้ นการเมอื งระหวา่ งประเทศทอ่ี าจมผี ลตอ่
การเจรจาจาํ กดั และลดอาวธุ ทางยุทธศาสตร์น้ัน อาจ
พจิ ารณาไดจ้ าก

1 . ฐ า น ะ ข อ ง รั ฐ ใ น ก า ร เ มื อ ง ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ ช่ น
สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตต่างมีฐานะสูง ทําให้
มพี นั ธมติ รมากซง่ึ จะเปน็ เงอ่ื นไขตอ่ การตดั สนิ ใจควบคมุ หรอื
ลดอาวธุ
2. อาํ นาจแหง่ ชาติ เปน็ ตวั แปรสาํ คญั ในการกําหนดฐานะ
ของชาติแสดงถงึ ความกา้ วทางวทิ ยาการและความแขง็ แกรง่
ทางเศรษฐกจิ
3. บทบาทของรัฐในการเมอื งระหวา่ งประเทศ ซ่งึ สัมพนั ธ์
กบั ฐานะตาํ แหนง่ และอาํ นาจแหง่ ชาติ

ดังนน้ั การจะคาดการณ์ถงึ แนวโนม้ ของการลดอาวุธหรือ
ควบคมุ อาวธุ โดยทวั่ ๆไปตอ้ งคํานงึ ถงึ ปจั จยั ตา่ งๆทงั้ สภาวะ
แวดล้อมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และการทหาร ประกอบ
กันเพ่ือคาดคะเนถึงความเป็นไปได้ในแต่ละชว่ งเวลา เมือ่
สถานการณเ์ ปลยี่ นไปปจั จยั ตา่ งๆกเ็ ปลย่ี นไปดว้ ยจงึ จะเหน็
ได้ว่า ในการเจรจาจํากดั อาวธุ ทางยุทธศาสตรท์ งั้ 2 ครั้ง
รวมท้งั การเจรจาลดอาวุธนนั้ ทงั้ สหรฐั อเมรกิ าและ
สหภาพโซเวยี ตตา่ งตดิ อยใู่ นประเดน็ ของการทจี่ ะไมล่ ดอาวธุ
ทม่ี ศี กั ยภาพสงู การตอ่ รองทแ่ี ตล่ ะฝา่ ยหยบิ ยน่ื ขอ้ เสนอออก
มาน้ันสร้างความระแวงต่อกันมากกว่าจะสร้างความไว้
วางใจตอ่ กัน ซึง่ จะสามารถสานต่อเป็นข้อตกลงได้ การ
ทจ่ี ํานวนการพบปะกนั ระหวา่ งผนู้ าํ สงู สดุ มมี ากมายกวา่ จะ
ประกาศขอ้ ตกลงบางอยา่ งสสู่ าธารณะไดก้ ด็ เู หมอื นวา่ การ
ประกาศขอ้ ตกลงนนั้ เกดิ ขนึ้ เพราะมแี รงกดั ดนั ทางการเมอื ง
อยูเ่ บอื้ งหลงั

เมื่อเป็นเช่นน้ี การจะอาศยั การเจรจาจาํ กดั หรอื ลดอาวุธทางยทุ ธศาสตรเ์ พื่อผอ่ นคลายความตงึ เครียดจงึ ไมเ่ ปน็ ผล
การผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดระหวา่ งมหาอํานาจทง้ั สองอาจตอ้ งใชป้ ระเดน็ อน่ื เขา้ ชว่ ยหรอื เปลยี่ นแปลงกรอบความ
คดิ บางประการทีเ่ ก่ยี วกบั อาวธุ ทางยุทธศาสตร์ เพอื่ จะชว่ ยใหล้ ดความตึงเครยี ดลงได้




Click to View FlipBook Version