The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่างข้อสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร์ Pat 2 biology 61-62 (part 1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Saajaranrak, 2022-03-27 11:58:08

ตัวอย่างข้อสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร์ Pat 2 biology 61-62 (part 1)

ตัวอย่างข้อสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร์ Pat 2 biology 61-62 (part 1)

ตัวอย่างขอ้ สอบความถนัดทางวทิ ยาศาสตร์ (Pat 2: Biology)

(กมุ ภาพันธ์ 2561)

26. ในการตดิ ตามการพัฒนาของดอกขา้ วในระยะตา่ ง ๆ ตัง้ แตด่ อกอ่อนจนกระท่งั

ดอกข้าวบานเต็มทีแ่ ละบนั ทกึ ภาพดอกขา้ วโดยการวาดภาพ ควรเลือกใช้เครอ่ื งมือ

ใดในการศึกษาจงึ เหมาะสมทส่ี ดุ

1. กลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สงแบบธรรมดา เนอื่ งจากมีกำลงั ขยายสงู และมีความ

เหมาะสมในการใช้ศกึ ษาดอกขา้ วซ่ึงเป็นวัตถทุ บึ แสง

2. กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงแบบสเตอริโอ เนื่องจากจะไดภ้ าพ 3 มิตทิ มี่ คี วาม

ชดั ลกึ มาก ทำใหเ้ ห็นสว่ นประกอบต่าง ๆ ของดอกไดอ้ ย่างชัดเจน

3. กลอ้ งจุลทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนแบบสอ่ งกราด เน่ืองจากมกี ำลังขยายสงู มาก

สามารถเหน็ ภาพภายนอกของดอกข้าวทค่ี มชดั มาก

4.กล้องจลุ ทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบสอ่ งผ่าน เนื่องจากสามารถศึกษ

องค์ประกอบของดอกข้าวได้ทั้งภายนอกและภายในอยา่ งละเอียด

5. ไมจ่ ำเป็นต้องใช้เคร่อื งมอื ใด เนอ่ื งจากสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปลา่

ข้อเปรยี บเทียบ Light microscope (LM) Electron microscope (EM)

แหลง่ กำเนดิ แสง compound Stereo TEM SEM
ระบบเลนสภ์ ายใน
อากาศในตวั กล้อง หลอดไฟ ปนื อเิ ล็กตรอน

ภาพทีไ่ ด้ เลนส์แกว้ (eyepiece + objective lens) เลนส์แม่เหลก็ ไฟฟา้
กำลงั ขยายสูงสุด
Limit of resolution มีอากาศ สญุ ญากาศ

มติ ขิ องภาพ ภาพเสมือนหวั กลับ ภาพเสมือนหัวตง้ั ภาพจริงบนจอรบั ภาพเรืองแสง ภาพจริงบนจอโทรทัศน์
การเตรียมตวั อย่า
1000 เทา่ 200 เทา่ 500,000 เทา่ 200,000 เท่า
ใชศ้ กึ ษา
0.2 µm 1.1 µm 0.05 nm 10 nm
ตวั อย่างในการศึกษา
2 มติ ิ 3 มติ ิ 2 มติ ิ 3 มติ ิ

Wet mount + ย้อมสี นำมาใชไ้ ดเ้ ลย ยอ้ มสีดว้ ยโลหะหนกั

วัตถุโปร่งแสง ทงั้ มแี ละไมม่ ชี วี ิต พ้ืนผวิ ภายนอกทง้ั ทบึ แสงและ โครงสรา้ งภายในวตั ถุในสภาพไมม่ ชี วี ติ ผิวภายนอกวตั ถใุ นสภาพไม่มีชวี ิต

โปร่งแสง ท้ังมแี ละไมม่ ีชวี ติ

เซลล์ เนอื้ เยือ่ organelle ขนาด โครงสรา้ งปีแมลง ละออกเกสร ไวรสั membrane, protein, เช่นเดียวกับ TEM แต่กำลังขยาย
organelle ทกุ ชนดิ น้อยกวา่ และเปน็ ภาพ 3 มติ ิ
ใหญ่

เพิ่มเติมจาก Pat 2 2562 เพ่ิมเตมิ จาก Pat 2 2562

ข้อใดใช้กล้องจลุ ทรรศน์ไม่เหมาะสมในการศกึ ษาสงิ่ มชี วี ิตตามท่รี ะบุ นักเรยี นทำการทดลองปลูกพรกิ ขีห้ นพู นั ธเ์ุ ดียวกนั 4 ตน้ และให้ปุ๋ยสูตรตา่ งกัน 3 สตู ร ใน
1. ศกึ ษาลกั ษณะพลานาเรยี นโดยใชก้ ล้องจลุ ทรรศนแ์ บบสเตอรโิ อ ปริมาณเท่ากันทุกสปั ดาห์ ดังตาราง
2. ศึกษาโครงสรา้ งภายนอกของสาหรา่ ยหางกระรอกโดยใชก้ ลอ้ งจจุลทรรศนใ์ ช้
เมือ่ เวลาผา่ นไป 2 เดอื น พบวา่ พริกขี้หนทู ุกตน้ ตาย ยกเวน้ ต้นท่ี 1 หากนกั เรียน ตอ้ ง
แสงแบบสเตอรโิ อ
3. ศกึ ษาลักษณะเยือ่ หุ้มเซลล์ของสาหรา่ ยสไปโรไจรา โดยใชก้ ล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้ใช้ ทำการทดลองใหมเ่ พื่อเปรยี บเทยี บผลของปุ๋ยสตู รต่างกันต่อการเจรญิ เตบิ โตของตน้ พรกิ ขี้หนู

แสงแบบสเตอริโอ มขี อ้ ควรปรับปรงุ หลายขอ้ ข้อใดทนี่ ักเรยี นสามารถคงไวด้ ังเดมิ ในการออกแบบการทคลอง
4. ศกึ ษาขอบเขตของแวคิวโอของเซลลส์ าหรา่ ยหางกระรอกโดยใชก้ ลอ้ ง
เพื่อคัดเลอื กปยุ๋ สูตรทส่ี ามารถเรง่ การเจรญิ เติบโตของพรกิ ข้ีหนไู ดด้ ที ี่สุด
จุลทรรศนใ์ ช้ใช้แสงเชิงประกอบ
5. ศึกษาการไหลเวยี นของโซโทพลาสซมึ ของเซลล์สาหร่ายหางกระรอกโดยใช้กลอ้ ง 1. สตู รปุ๋ยท่ใี ช้ 2. ปรมิ าณปยุ๋ ที่ใช้

จลุ ทรรศน์ใช้ใช้แสงเชิงประกอบ

27. การตรวจสอบสมมติฐานอาจทำไดห้ ลายวิธี เชน่ การเฝา้ สังเกต การสำรวจ และการ
ทดลอง จงพจิ ารณาสมมตฐิ านและการตรวจสอบในตารางดา้ นลา่ งน้ี

3. ความถีใ่ นการใหป้ ยุ๋ กบั ตน้ พริกข้ีหนู 4. พันธขุ์ องพรกิ ขี้หนูที่ใช้ในการทดลอง

5. จำนวนซ้ำของตน้ พรกิ ข้หี นูท่ปี ลูกในแตล่ ะชุดการทดลอง

28. นกั ชวี วิทยาจัดจำแนกหมวดหมสู่ ิ่งมชี ีวติ โดยพจิ ารณาจากขอ้ มลู ดา้ นตา่ ง ๆ ขอ้ มูลในดา้ น
ใดทน่ี ำมาใชเ้ ป็นเกณฑห์ ลกั ในการจำแนกสิง่ มชี ีวิตออกเปน็ กลมุ่ หรอื โดเมน (domain)

1. ความคล้ายคลงึ ในทางโครงสรา้ งและออแกเนลล์
2. สายวิวัฒนาการที่มสี ารพนั ธกุ รรมที่คล้ายคลึงกัน
3. จำนวนชดุ และขนาดโครโมโซมของเซลลส์ บื พันธ์ุ
4. พฤตกิ รรมของสงิ่ มชี ีวิตและความสมั พันธก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม
5. แบบแผนการเจริญเติบโตและการแพรก่ ระจายตามสภาพภมู ศิ าสตร์

การตรวจสอบสมมติฐานทางชีววิทยาในข้อใด มีวธิ ตี รวจสอบทไี่ ม่เหมาะสม

1. สมมตฐิ าน ก 2. สมมติฐาน ข

3. สมมติฐาน ค 4. การตรวจสอบสมมติฐานไม่เหมาะสม 2 ขอ้

5. การตรวจสอบสมมติฐานไม่เหมาะสมทงั้ 3 ข้อ

29. เหตกุ ารณใ์ ดท่ีไมไ่ ด้เกดิ ขึ้นในวัฎจกั รคลั วนิ หลังจากเสรจ็ สิน้ การถ่ายทอดอิเลก็ ตรอน
แบบไม่เป็นวฏั จกั รในปฏกิ ิริยาแสง

1. การสังเคราะห์ ATP โดย ATP synthase ในสโตรมาของคลอโรพลาสต์
2. การทำปฏกิ ิริยาของ CO2 กับ RuBP โดยมีเอนไซม์ rubisco เปน็ ตวั เร่งปฏกิ ริ ยิ า
3. การใช้ ATP และ NADPH ในปฏกิ ริ ิยาข้นั ตอนท่ี 2 คอื รีดกั ชนั ในวฎั จกั รคลั วนิ
4. การสร้าง RuBP ข้นึ มาใหมใ่ นขน้ั ตอนรเี จเนอเรชันเพ่ือทจี่ ะกลบั ไปรับ CO2อกี
ครั้งหนงึ่
5. การนำพลังงานเคมีทไ่ี ดจ้ ากปฏกิ ิรยิ าแสงมาใช้ในการสร้างโมเลกลุ ของสารอินทรยี ์
ซงึ่ เกดิ ข้นึ ในสโตรมาของคลอโรพลาสต์

Photosynthesis in chloroplast

Light reaction (non-cyclic electron transfer)

CO2 fixation (Calvin cycle)

เพ่มิ เตมิ จาก Pat 2 2562 เพิ่มเตมิ จาก Pat 2 2562
การสง่ ต่อพลงั งานแสงจากโมเลกลุ ของสารสตี า่ งๆในแอนเทนนา (antenna) มลี ำดบั การ ในพืช C4 ขณะมกี ารสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเราตรวจพบฟอสโฟกลเี ซอเรตได้มากทส่ี ุดที่
ทำงานดงั ข้อใด
เซลล์ใด
1. อิเลก็ ตรอนถ่ายทอดพลงั งานที่ถูกกระตุน้ จากโมเลกุลของคลอโรฟลิ ล์เอ ไปยัง
คลอโรฟลิ ลบ์ ี 1. ไซเลม็ 2. โฟลเอม็
3. บนั เดลิ ชีท 4. สปนั จมี โี ซฟลิ ล์
2. อิเลก็ ตรอนถ่ายทอดพลงั งานท่ถี กู กระตนุ้ จากโมเลกลุ ของคลอโรฟลิ ล์บีไปยังแค 5. แพลิเซดมีโซฟลิ ล์
โรทีนอยด์
31. ขอ้ ใดเปรยี บเทียบกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช C3 และ C4 ไม่ถกู ตอ้ ง
3. โมเลกุลของสารสีแตล่ ะโมเลกุลรบั พลังงานแสงแล้วสง่ ต่อไปยงั คลอโรฟลิ ลเ์ อที่ 1. ปฏิกริ ิยาแสงของพชื C3 และ C4 ไม่แตกต่างกัน
เปน็ ศนู ยก์ ลางปฏิกริ ิยา 2. การตรงึ CO2 ในพืช C3 และ C4 เกิดในเวลากลางวันเหมือนกัน
3. สารเสถียรชนดิ แรกทีเ่ กดิ จากการตรึง CO2 ในพืช C3 และ C4 เปน็ คนละชนิดกนั
4. อิเล็กตรอนของแคโรทนี อยด์ที่ได้รบั พลังงานแสงจะเคล่ือนทส่ี ู่ระดับพลังงานที่ 4. พชื C3 มีกลไกเพมิ่ ความเข้มขน้ ของ CO2 ในเซลลม์ โี ซฟิลล์ สว่ นพชื C4 ไม่มี
สงู ขนึ้ ไปอยูใ่ นสถานะท่ีถูกกระตุ้นแล้วตกลงมาอยใู่ นสถานะพน้ื กลไกดงั กลา่ ว
5. พืช C3 มีการตรึง CO, ดว้ ยวฏั จักรคลั วนิ เพยี งครั้งเดยี วและเกดิ
5. อเิ ล็กตรอนถา่ ยทอดพลงั งานที่ถกู กระตุ้นบรเิ วณศูนยก์ ลางปฏกิ ิรยิ าไปยังโมเลกลุ ที่เซลลม์ ีโซฟลิ ลเ์ ปน็ หลกั สว่ นพชื C4 มกี ารตรึง CO2 คร้งั แรกท่ี
ของสารสตี า่ งๆในแอนเทนนา เซลลม์ โี ซฟลิ ล์และครั้งท่สี องในเซลล์บนั เดิลชีท

30. จากการศึกษาโครงสรา้ งของปลายรากถว่ั เขียวบรเิ วณหน่งึ โดยการตดั ตามยาวผ่านกลาง ภาพโครงสร้างภายในของรากตัดตามแนวยาว
ใหเ้ ป็นช้ินบางด้วยเครอื่ งมอื ตดั แลว้ ศึกษาดว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ พบเซลลพ์ าเรงคมิ าท่เี รยี งกนั
อยา่ งหลวม ๆ เซลล์ส่วนใหญม่ รี ปู ร่างค่อนข้างกลมหรือยาวผนังเชลลป์ ฐมภมู ิบาง มีแวควิ โอล
ขนาดใหญ่ ภายในมเี มด็ แป้ง เชลลม์ กี ารขบั เมือกออกมา จากลกั ษณะโครงสรา้ งของรากถว่ั
เขยี วที่ศกึ ษาควรจะเป็นโครงสร้างปลายรากบริเวณใดและมคี วามสำคญั ตอ่ พชื อย่างไร

1. บริเวณการยดื ตามยาวของเซลล์ โดยเซลลจ์ ะยดื ตามยาวทำใหค้ วามยาวของ
รากเพิ่มขึน้

2. หมวกราก ซึ่งมเี ซลลท์ สี่ ามารถผลติ เมอื กออกมาทำให้สะดวกต่อการชอนไชของ
รากลงไปในดิน

3. บริเวณการเจรญิ เต็มท่ขี องเซลล์ เซลลบ์ ริเวณน้ีเจรญิ เตม็ ท่ี ทำใหร้ ากทำหน้าท่ี
ต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้องกับการดูดน้ำและลำเลยี งน้ำได้อยา่ งสมบรู ณ์

4. บริเวณการแบ่งเชลล์ โดยเชลล์ทีเ่ รียงกนั อยา่ งหลวม ๆ มกี ารแบง่ เซลลแ์ บบ
ไมโทชสิ และจะเจรญิ เปล่ยี นแปลงไปเปน็ สว่ นประกอบต่างๆ ของโครงสร้างราก

5. บรเิ วณการเปล่ียนสภาพ เปน็ บรเิ วณทเ่ี ซลล์มกี ารเปล่ยี นสภาพไปเปน็ เซลล์ชนดิ
ตา่ ง ๆ เชน่ มีเซลลใ์ นโฟลเอ็มทำหน้าท่ีลำเลียงอาหารและเซลลใ์ นไซเลม็ ทำหน้าทลี่ ำเลียงน้ำ

32. พิจารณาขอ้ ความต่อไปน้ี
ก. การบานของดอกบวั ทีต่ อบสนองต่อแสงในเวลาเขา้
ข. การหบุ ของดอกกระบองเพชรทต่ี อบสนองตอ่ แสงในเวลากลางวนั
ค. การหบุ ของใบไมยราบทต่ี อบสนองตอ่ การสัมผสั ส่งิ เร้า
ง. การหบุ ของใบกายหอยแครงทต่ี อบสนองตอ่ การสมั ผสั ของแมลง

การเคล่อื นไหวของพืชในขอ้ ก. - ง. มลี ักษณะร่วมกนั ดังขอ้ ใด
1. เป็นการเคลื่อนไหวแบบนิวเทชันมฟู เมนต์
2. เป็นการเคลื่อนไหวทมี่ ฮี อรโ์ มนออกชนิ มาเก่ยี วข้อง
3. เป็นการเคลื่อนไหวทเ่ี กิดจากการแบง่ เซลล์ทไ่ี มเ่ ท่ากันของพืช
4. เปน็ การเคลอ่ื นไหวทเ่ี กิดจากการเปลีย่ นแปลงแรงดันเตง่ ของเซลล์พชื
5. เปน็ การเคลอ่ื นไหวทเ่ี กิดขน้ึ อย่างมที ศิ ทางที่สมั พนั ธก์ บั สงิ่ เรา้ ภายนอก

เพ่มิ เติมจาก Pat 2 2562 ภาพการตอบสนองส่ิงเรา้ (แรงโนม้ ถ่วง) ของยอดและรากโดยออกซนิ
สารสกัดจากใบพืชในขอ้ ใดจดั เปน็ ฮอรโ์ มนพืชกลมุ่ ออกซนิ
1. สาร A พืชสรา้ งขนึ้ ในปรมิ าณนอ้ ย บริเวณปลายอด มีการลำเลยี งไปกระตนุ้ การ หลกั การทำงานของออกซนิ
ยืดของเซลลบ์ ริเวณปลายราก 1) ออกซินเพิ่มการยืดตัวของผนงั เซลล์ แบบถาวร (plasticity) ทำให
2. สาร B พชื สรา้ งข้ึนในปริมาณน้อย บริเวณปลายราก มีฤทธิย์ ับย้งั การยดื ตัวของ
เซลลบ์ รเิ วณปลายราก เซลลข์ ยายขนาดข้นึ ได้ (การยดื ตัวของผนังเซลลเ์ ป็นกระบวนการใชพ้ ลังงาน )
3. สาร C พืชสรา้ งขน้ึ ในปรมิ าณมาก บรเิ วณปลายยอดมีการลำเลียงไปกระตนุ้ 2) ออกซินกระตนการสร้างเอนไซมบางชนิด มาย่อยสลายไมโครไฟบริล
การยืดของเซลลบ์ ริเวณปลายราก
4. สาร D พชื สร้างข้ึนในปรมิ าณมาก บริเวณปลายราก มีฤทธย์ิ ับยง้ั การยดื ตัวของ ก่อน เมอ่ื พชื ไดร้ ับออกซินก็จะสรา้ งเอนไซม์ cellulase ซง่ึ จะยอยเซลลูโลส ไมโค
เซลลบ์ ริเวณปลายราก รไฟบรลิ ได้
5. สาร E พชื สร้างขึน้ ในปรมิ าณมาก บรเิ วณปลายใบ มีการลำเลยี งไปใช้ในการ
แบง่ เซลลบ์ รเิ วณปลายยอด การเคลือ่ นยา้ ยออกซนิ (Auxin transport)
การเคลื่อนยา้ ยของออกซนิ ในตน้ พืชเป็นแบบ Basipetally polar คอื
ภาพผลของออกซินตอการตอบสนองต่อแรงโน้มถว่ งงของรากพชื
เคล่ือนย้ายแบบมที ศิ ทางจากยอดลงสู่ฐาน ท้งั ในเนอ้ื เยอ่ื พาเรงไคมา และในระบบทอ่
ลำเลยี ง เปน็ การเคล่อื นยา้ ยทตี่ ้องใช้พลังงาน (active transport) โดยมีอตั ราการ
เคลอ่ื นยา้ ย 6-26 mm/h

ออกซินในรากนน้ั สว่ นใหญ่จะสังเคราะห์ที่ปลายราก (root tip) และมีการ
เคลื่อนย้ายไปยงั เน้อื เย่ือเจริญท่อี ยถู่ ดั ไปแบบ Basipetally polar เช่นกัน ในอตั รา
1-2 mm/h ออกซนิ จากยอดทเ่ี คลอ่ื นยา้ ยไปยงั รากนั้นมนี อ้ ยมาก (ภาควชิ าชีววทิ ยา
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยศรีนครินทรวโรฒ)

เพม่ิ เติมจาก Pat 2 2562 ภาพวงชีวติ แบบสลบั ของพชื
ในการทดลองศกึ ษาการตอบสนองของพืชต่อแกส๊ เอทิลีนโดยการนำเมลด็ พืชทกี่ ำลังงอก
มาเพาะในภาชนท่ีบรรจผุ ลกล้วยระยะสุกไวแ้ ละปดิ ภาชนะ ไม่ใหเ้ กดิ การถา่ ยเทของอากาศ
แลว้ สงั เกตลกั ษณะของตน้ อ่อนทอี่ อก การทดลองนส้ี ามารถใช้ผลไมใ้ ดแทนกลว้ ยแล้วจะได้ผล
การตอบสนองเช่นเดียวกนั

1. เงาะ ชมพู่
2. ลนิ้ จี่ ลำไย
3. น้อยหนา่ มงั คุด
4. แก้วมังกร ส้มโอ
5. แตงโม มะละกอ

Climacteric fruit หมายถึงผลไมท้ ่ีบม่ ใหส้ ุกได้ ได้แก่ แอปเปลิ สาลี พชื อโวกาโด กล้วย
มะม่วง เสาวรส พลมั มะเขอื เทศ ทเุ รียน กีวี น้อยหนา่ ขนนุ แตงโม ละมุด

ขอ้ ใดถูกตอ้ งเกยี่ วกับวฎั จักรชีวิตและการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืช

1. วัฏจักรชวี ติ แบบสลับพบเฉพาะพชื ดอก สว่ นพืชไรด้ อกมวี ฏั จกั รชีวติ แบบเดยี วกบั
สัตว์

2. กระบวนการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ ของพืช เกิดขึ้นในกระบวนการสร้างสปอรเ์ ท่าน้ัน
3. กระบวนการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ เกดิ ข้ึนในกระบวนการสรา้ งสปอร์และ

กระบวนการสร้างเซลลส์ บื พันธุ์
4. สปอรข์ องพชื ดอก คอื เซลลส์ ืบพนั ธุ์ทีเ่ จริญเติบโตเต็มทแี่ ล้ว
5. มขี อ้ ถกู มากกว่า 1 ขอ้

33. เกษตรกรคนหน่งึ ผสมพันธถุ์ ่วั ลนั เตา โดยใช้ถว่ั ลนั เตาทม่ี เี มลด็ สีเขียว 2 สายพันธ์ุ (พนั ธ์ุ
A1 และ A2) ผสมพนั ธ์กุ ับถ่วั ลันเตาเมลด็ สีทองสายพันธแุ์ ท้ (พนั ธุ์ Z) ลกู รนุ่ F1 ของทงั้ สอง
คผู่ สมพันธมุ์ เี มล็ดสีทอง แต่ลกู รุ่น F2 มีสดั สว่ นของลกั ษณะเมลด็ สีทอง: สเี ขยี วในสัดสว่ นที่
แตกต่างกัน ดงั ตาราง

ขอ้ ใดถกู
1. จำนวนยืนทีค่ วบคมุ ลกั ษณะสเี มล็ดในถัว่ ลันเตาพันธุ์ A1 และ A2 แตกต่างกนั
2. ยนื ที่ควบคุมลักษณะเมลด็ สที องและสเี ขยี วอยู่ตา่ งตำแหน่งกนั บนโครโมโชม
3. ลูกรนุ่ F2 ของคผู่ สมพันธท์ุ ี่ 2 ที่มีเมล็ดสเี ขยี วมีจโี นไทปแ์ บบเดยี ว
4. ถ่วั ลนั เตาพันธ์ุ Z มีจโี นไทปแ์ บบ homozygous recessive
5. ถั่วลันเตาพันธุ์ A2 ไม่ใชส่ ายพันธุ์แท้

34. พันธปุ ระวตั ติ ่อไปนแ้ี สดงการถายทอดลกั








Click to View FlipBook Version