The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมมี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by EliZabelle Ruji New, 2022-09-05 22:35:36

ปฏิบัติการ

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมมี

อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี

นางสาวรุจผิูร้สาอจนันทร์ศรีหา 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนแก้งสนามนางพิทยาคม อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา

Quiz

1. การทดลองครั้งนี้ นักเรียนจะวัดอย่างไร
ว่าปฏิกิริยาได้เกิดขึ้นแล้ว (1 คะแนน)

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
หมายถึง (1 คะแนน)

ปฏิบัติการที่ 1

การหาอัตรา
เกิดปฏิกิริยาเคมี

จุดประสงค์การทดลอง

1. ทดลองการเกิดปกิกิริยาเคมีระหว่างลวดแมกนีเซียม
กับกรดไฮโดรคลอริกได้

2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์ที่
เกิดขึ้ นกับเวลาได้

3. หาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยจากการทดลองได้

2

อุปกรณ์ และสารเคมี

กระบอกตวง 10 mL จึุกคอร์กปิดกระบอกตวง

บีกเกอร์ 100 mL

ใบมีดโกน นาฬิกาจับเวลา สารละลายกรด HCl
0.2 M
กระดาษทราย 3

วิธีการทดลอง


ใส่ สารละลายกรดHCl ขัดลวดแมกนีเซียมยาว 7 cm

ด้วยกระดาษทรายให้สะอาด


ขดเป็นสปริงให้ความยาวของลวด
ให้เต็มกระบอกตวงที่มีปริมาตร 10 mL ไม่เกินขีดที่ 10 mL
เมื่อใส่ กระบอกตวง



6

วิธีการทดลอง






จับเวลาทึกระยะที่ของเหลวใน


กระบอกตวงลดลง 1 mL โดยเริ่มจับ
เวลาที่ขีดปริมาตรที่ 1 mL จนกระทั่ง

ถึงขีดปริมาตรที่ 10 mL

6

บันทึกผลการทดลอง

และตอบคำถามต่อไปนี้

1. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างลวดแมกนีเซียมกับสารละลาย
กรดไฮโดรครอริก เขียนแทนด้วยสมการได้อย่างไร

2. คำนวณอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนโดยเฉลี่ยซึ่งคิดจาก
ช่วงปริมาตรที่ 1-10 ML หาได้อย่างไร และมีค่าเท่าไหร่

3. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊ส
ไฮโดรเจนกับเวลา โดยใช้ข้อมูลจากการทดลอง

9

ตอบคำถาม

1. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างลวดแมกนีเซียมกับสารละลาย
กรดไฮโดรครอริก เขียนแทนด้วยสมการได้อย่างไร

สมการ

สารตั้งต้น สารผลิตภัณฑ์

9

ตอบคำถาม

2. คำนวณอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนโดยเฉลี่ยซึ่งคิดจาก
ช่วงปริมาตรที่ 1-10 ML หาได้อย่างไร และมีค่าเท่าไหร่

ตารางบันทึกผล คำนวณจากสูตร

H2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เวลา

9

ตอบคำถาม

3. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊ส
ไฮโดรเจนกับเวลา โดยใช้ข้อมูลจากการทดลอง

H2

เวลา

9

ปฏิบัติการที่ 2

ผลของความเข้มข้นอุณหภูมิ
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนแก้งสนามนางพิทยาคม

ปฏิบัติการที่ 3

พื้นที่ผิวของสารกับอัตราการ
กับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

12

ปฏิบัติการที่ 4

ผลของอุณหภูมิต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ปฏิบัติการที่ 5

สมบัติ
ของตัวเร่งปฏิกิริยา

แบบทดสอบหลังเรียน

20


Click to View FlipBook Version