The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rodjarin, 2021-09-18 23:45:53

ใบความรู้ เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

ใบความรู้ เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

กฎหมายคมุ้ ครองเด็ก

เดก็ ตามพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ หมายความ

วา่ “บุคคลซงึ่ มีอายุต่ํากวา่ สิบแปดปีบรบิ ูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผ้ทู ่ี
บรรลุนิติภาวะดว้ ยการสมรส”

หลกั การและแนวคิดสาคัญ ๆ เกีย่ วกับสิทธิเด็ก

• เพ่ือประโยชนส์ งู สดุ ของเด็ก เดก็ ย่อมไดร้ บั การเลีย้ งดู
และไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ และพฒั นาการตามวัย
อยา่ งเหมาะสม เพื่อการ
• ยอมรบั นับถืออานาจปกครอง เจรญิ เติบโตเปน็ บคุ คล
ของบิดามารดาหลกั การท่ีวา่
เดก็ ย่อมเหมาะสมที่จะอยู่ ทมี่ ีคุณภาพ
ร่วมกบั บิดามารดาผู้ใหก้ าเนิด

• แทรกแซงอานาจปกครอง
ของบดิ ามารดาโดยอานาจ
รฐั ต้องเปน็ ไปเพอื่ ประโยชน์
สูงสุดของเด็ก

บทบาทหนา้ ทท่ี ี่พึงปฏบิ ตั ิต่อเดก็

บทบาทหน้าท่ีของผู้ปกครอง

• ใหก้ ารอุปการะเลี้ยงดู อบรมสง่ั สอน และพัฒนาเดก็ ท่อี ยู่ในความปกครอง
ดูแลของตนตามความสมควร

• การอุปการะเล้ยี งดอู บรมสงั่ สอนและพฒั นานั้นตอ้ งไม่ตา่ กว่ามาตรฐาน
ข้นั ต่าตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง

• คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ทอ่ี ยู่ในความปกครองดแู ลของตนไมใ่ หต้ กอยใู่ นภาวะ
อนั นา่ จะเกิดอันตรายแก่รา่ งกายหรือจติ ใจอันนา่ จะเกิดอันตรายแกร่ า่ งกาย
หรอื จิตใจ

• ไม่ทอดท้ิงเดก็ ไวใ้ นสถานรับเลย้ี งเด็กหรือสถานพยาบาล หรือไวก้ ับบุคคลที่รบั จ้าง
เลย้ี งเด็ก หรือที่สาธารณะ หรือสถานที่ใด โดยเจตนาที่จะไม่รับเดก็ กลับคืน

• ไม่ละท้งิ เดก็ ไว้ ณ สถานทใ่ี ดๆ โดยไม่จดั ให้มกี ารปอ้ งกันและดูแล
สวัสดภิ าพหรือให้การเล้ยี งดทู เี่ หมาะสม

• ไมจ่ งใจหรอื ละเลยไมใ่ หส้ ิง่ ที่จาเปน็ แกก่ ารดารงชีวิตหรือสุขภาพอนามยั
จนน่าจะเกิดอันตรายแก่รา่ งกายหรือจิตใจของเด็ก

• ไม่ปฏิบตั ติ อ่ เดก็ ในลกั ษณะทเี่ ปน็ การขดั ขวางการเจรญิ เติบโตหรือพัฒนาการของเดก็

• ไมป่ ฏิบัตติ ่อเดก็ ในลักษณะทเี่ ปน็ การเลย้ี งดโู ดยมิชอบ

บทบาทหนา้ ที่ของรฐั

• คุ้มครองสวสั ดภิ าพที่อยใู่ นเขตพน้ื ที่รบั ผิดชอบ ไมว่ ่าเด็กจะมี
ผูป้ กครองหรอื ไม่ก็ตาม

• ดูแลและตรวจสอบสถานรบั เลย้ี งเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์
สถานค้มุ ครองสวัสดิภาพ สถานพฒั นาและฟืน้ ฟู และสถานพินจิ ที่
ตงั้ อยู่ในเขตพน้ื ทท่ี ร่ี ับผดิ ชอบ

พอ่ แมม่ ีหนา้ ท่ใี นการเล้ียงดู ผู้ปกครองมีหนา้ ทใ่ี หก้ ารอุปการะ
อบรมสง่ั สอนบตุ ร เลย้ี งดู และใหก้ ารศกึ ษาตลอดจน

เพื่อให้มพี ัฒนาการทด่ี ี มีความ สง่ เสริมให้บุตรหลานไดท้ า
ปลอดภัยในการดาเนินชีวิต กจิ กรรมที่เป็นประโยชน์ท้งั ต่อ

ตนเองและสงั คมสว่ นรวม

ประเภทของเดก็ ทพี่ งึ ไดร้ บั การสงเคราะห์

• เด็กเรร่ อ่ นหรือเด็กกาพรา้
• เด็กทถ่ี ูกทอดทิง้ หรือพลัดหลง

• เด็กทผี่ ู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ เช่น ถูกจาคุก พิการ ทุพพลภาพ
เจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รงั ยากจน เปน็ ผเู้ ยาว์

• ถกู ทิง้ รา้ ง เปน็ โรคจติ หรอื โรคประสาท
• เดก็ พิการ

• เด็กท่ีผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสม อาจส่งผล
กระทบต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กท่ีอยู่ใน
ความปกครองดแู ล

• เดก็ ทีอ่ ยู่ในสภาพยากลาบาก

• เด็กท่ีได้รับการเล้ียงดูโดยมิชอบ ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาหรือ
แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ถูกทารุณกรรม เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่
รา่ งกายหรอื จติ ใจ

• เด็กทอ่ี ย่ใู นสภาพทจ่ี าต้องไดร้ ับการสงเคราะห์ตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง

ประเภทของเด็กทพ่ี งึ ได้รบั การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพ

ตามพระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้แก่
• เด็กทีถ่ กู ทารณุ กรรม
• เด็กทเี่ สย่ี งต่อการกระทาความผิด
• เด็กทีอ่ ยูใ่ นสภาพทจี่ าต้องไดร้ บั การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพ
ตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง

มาตรการส่งเสริมความประพฤติ
นกั เรยี นและนักศกึ ษา

ตามพระราช-บัญญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖
• นกั เรียน หมายถงึ เด็กซึ่งกาลงั รบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานระดบั

ประถมศกึ ษาและระดับมธั ยมศกึ ษา ทั้งประเภทสามัญศกึ ษาและ
อาชีวศกึ ษาหรอื เทียบเท่าอยใู่ นสถานศึกษาของรัฐหรอื ของเอกชน
• นกั ศกึ ษา หมายถึง เด็กที่กาลังรบั การศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาหรอื
เทยี บเท่าในสถานศกึ ษาของรฐั หรอื ของเอกชน

ตามพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดก้ าหนด
มาตรการส่งเสรมิ ความประพฤตินักเรียนและนักศกึ ษาไว้ ดงั น้ี

หน้าที่ของโรงเรยี นและ หนา้ ท่ีของนกั เรยี น นักศกึ ษา
สถานศกึ ษาท่จี ะตอ้ งจดั ให้มี ที่จะตอ้ งประพฤติตนตามระเบยี บ
ระบบงานและกิจกรรมในการ
แนะแนวใหค้ าปรึกษาและ ของโรงเรยี นหรือสถานศึกษา
ฝกึ อบรมแกน่ ักเรยี น นักศกึ ษา

และผู้ปกครอง

กฎหมายการศึกษา

ความมุ่งหมายและหลักการ

การจัดการศกึ ษา กระบวนการเรยี นรู้ การจัดการศึกษา การจดั ระบบโครงสรา้ ง
ต้องเปน็ ไปเพ่อื ต้องมุ่งปลูกฝงั ให้ยดึ หลัก และกระบวนการจดั
พฒั นาคนไทย จติ สานกึ ท่ถี ูกต้อง การศึกษา
ให้เป็นมนุษย์ท่ี เก่ียวกับการเมอื ง การศึกษา
สมบรู ณ์ทัง้ ร่างกาย การปกครองใน ตลอดชีวิตสาหรับ ใหย้ ดึ หลักการ
จติ ใจ สตปิ ัญญา ระบอบ ประชาชน ให้ มีเอกภาพด้านนโยบาย
ความรู้ และ ประชาธิปไตย อนั สงั คมมสี ่วนร่วม และมีความหลากหลาย
มพี ระมหากษัตรยิ ์ ในการจัด ในการปฏิบัติ มกี าร
คณุ ธรรม ทรงเป็นประมขุ การศกึ ษา กระจายอานาจไปสูพ่ นื้ ท่ี
มีจรยิ ธรรม การศกึ ษา สถานศกึ ษา
และวัฒนธรรม และองคก์ รปกครองสว่ น
ในการดารงชีวติ
ท้องถ่นิ

โรงเรียนต้องจดั ให้มกี จิ กรรมและ
การฝึกอบรมแกน่ กั เรียน
เพื่อสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพและ
ความสามารถ

สิทธิและหนา้ ทที่ างการศึกษา

หนา้ ทข่ี องรัฐ • รัฐตอ้ งจัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานไม่
นอ้ ยกวา่ สิบสองปี โดยใหบ้ คุ คลมี
สิทธิและโอกาสเสมอกันในการรบั
การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

• รัฐตอ้ งจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเปน็
พเิ ศษสาหรบั บคุ คลทม่ี ีความ
บกพรอ่ งทางร่างกาย จติ ใจ
สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม การ
ส่อื สารและการเรยี นรูส้ าหรบั ผู้ทม่ี ี
ร่างกายพกิ ารหรอื ทุพพลภาพ หรอื
บคุ คลซึ่งไม่สามารถพงึ่ ตนเองได้
หรอื ไม่มีผู้ดแู ลหรอื ด้อยโอกาส

หนา้ ทข่ี องบดิ า มารดา มีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
หรือผ้ปู กครอง ได้รับการศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้
เด็ก ซ่ึงมีอา ยุย่า งเข้าปี ท่ีเจ็ดเข้า เรีย นใน
สถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐานจนอายยุ ่างเข้าปที ีส่ ิบหก

สทิ ธปิ ระโยชน์ทาง บดิ า มารดา หรอื ผปู้ กครอง ครอบครัว ชุมชน
การศกึ ษา องคก์ รชมุ ชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชพี
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สังคมอ่ืน ๆ ซ่งึ สนบั สนุน หรอื จดั การศึกษาข้ัน

พื้นฐาน มสี ทิ ธิได้รับสิทธิประโยชนต์ าม
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

• การสนับสนุนจากรัฐ • เงนิ อดุ หนุนจากรัฐ • การลดหยอ่ นหรอื
ให้มีความรู้ สาหรับการจดั ยกเวน้ ภาษสี าหรบั
ความสามารถในการ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ค่าใชจ้ า่ ยการศึกษา
อบรมเลยี้ งดู และการ ของบตุ รหรอื บคุ คล ตามทีก่ ฎหมาย
ให้การศึกษาแกบ่ ตุ ร ซง่ึ อย่ใู นความดูแลท่ี กาหนด
หรอื บุคคลซง่ึ อยูใ่ น ครอบครัวจดั ให้ ทง้ั น้ี
ความดูแล ตามท่ีกฎหมาย
กาหนด

ระบบการศกึ ษาไทย

การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศัย

เปน็ การศกึ ษาที่กาหนด เป็นการศกึ ษาที่มคี วาม เป็นการศึกษาทใ่ี หผ้ ู้เรยี น
จดุ ม่งุ หมาย ยืดหยุน่ ในการกาหนด ได้เรียนรู้
จุดมงุ่ หมาย รปู แบบ
วธิ กี ารศกึ ษาหลกั สูตร วิธีการจดั การศึกษา ดว้ ยตนเองตามความสนใจ
ระยะเวลาของการศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา ศกั ยภาพ ความพร้อม
การวดั และประเมินผล การวัดและประเมินผล และโอกาส
ซึ่งเปน็ เง่อื นไขของการ เปน็ เงอ่ื นไขสาคัญของการ โดยศกึ ษาจากบุคคล
สาเรจ็ การศึกษาที่แน่นอน สาเรจ็ การศกึ ษา โดย ประสบการณ์
เน้ือหาและหลักสตู รจะตอ้ ง สภาพแวดลอ้ ม สงั คม สอ่ื
มีความเหมาะสมสอดคล้อง หรือแหล่งความรอู้ ืน่ ๆ
กับสภาพปัญหาและความ

ตอ้ งการ
ของบุคคลแต่ละกลุ่ม

แนวการจดั การศกึ ษา

ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า น้ั น จ ะ ต้ อ ง ยึ ด ห ลั ก ว่ า ผู้ เ รี ย น ทุ ก ค น มี
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียน มีความ
สาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพการจัดการศึกษาต้องเน้น
ความสาคัญท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ
ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั การศกึ ษา

กฎหมายคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค

สิทธขิ องผบู้ รโิ ภค

• สิทธทิ จ่ี ะได้รบั ทราบขา่ วสารรวมทง้ั คาพรรณนาคุณภาพท่ถี กู ต้องและเพียงพอ
เกีย่ วกับสนิ คา้ หรอื บริการ

• สิทธิท่ีจะมอี สิ ระในการเลือกซอ้ื สินค้าหรือบรกิ าร
• สิทธิทจี่ ะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใชส้ ินค้าหรือบริการ
• สิทธทิ ี่จะไดร้ ับความเปน็ ธรรมในการทาสญั ญา
• สทิ ธิทจี่ ะไดร้ บั การพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย

อานาจหน้าที่ของ
คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค

• พจิ ารณาเร่ืองราวรอ้ งทุกข์จาก • ดาเนินการเกี่ยวกับสินคา้
ผบู้ รโิ ภคท่ไี ด้รับความเดือดร้อน ทอ่ี าจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค
หรือเสียหายอนั เนือ่ งมาจากการ ตามกฎหมาย
กระทาของผูป้ ระกอบธุรกิจ

• ดาเนินคดเี กยี่ วกับการละเมิด • แจ้งหรอื โฆษณาขา่ วสารเกยี่ วกบั
สิทธิของผบู้ รโิ ภคที่ สนิ ค้าหรือบริการทอ่ี าจจะก่อให้เกิด
คณะกรรมการเห็นสมควร ความเสียหายหรอื เส่ือมเสยี แก่สิทธิ
หรือมผี ูร้ ้องขอตามกฎหมาย ของผบู้ รโิ ภค โดยจะระบชุ ่อื สินคา้
หรอื บรกิ ารหรอื ชื่อของผ้ปู ระกอบ
ธุรกิจดว้ ยก็ได้

กฎหมายลขิ สทิ ธ์ิ

พระราชบญั ญัติลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗
(แก้ไขเพิ่มเตมิ ฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๕๘)

• งานอันมีลิขสิทธ์ิ • การละเมดิ ลิขสิทธิ์
ไดแ้ ก่ งานสร้างสรรค์ประเภท การกระทาอยา่ งหนงึ่ อย่าง
วรรณกรรม นาฏกรรม ใดแก่งานอันมีลิขสิทธ์ิ
ศลิ ปกรรม ดนตรกี รรม โดยไม่ได้รับอนุญาตตาม
โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ ส่ิง บทบัญญตั ิของกฎหมาย
บนั ทกึ เสยี ง งานแพร่เสียงแพร่
ภาพ หรอื งานอื่นใดในแผนก • การคุ้มครองลขิ สทิ ธ์ิ
วรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ เจ้าของลิขสทิ ธม์ิ ีสทิ ธแิ ต่
แผนกศลิ ปะของผู้สรา้ งสรรค์ ไม่ เพียงผู้เดยี วในการทาซา้
วา่ งานดังกลา่ วจะแสดงออกโดย หรอื ดดั แปลง เผยแพร่ต่อ
วิธหี รอื รปู แบบอยา่ งใด สาธารณชน

• บทกาหนดโทษการละเมิด
ลิขสิทธ์ิ เชน่ ในกรณีทร่ี ู้อยู่
แล้วหรือมเี หตุอนั ควรรู้ว่า
งานใดได้ทาขึน้ โดยละเมดิ
ลิขสิทธข์ิ องผ้อู ื่น กระทา
อย่างใดอยา่ งหนงึ่ แก่งานนั้น
เพ่ือหากาไรให้ถือว่าผ้นู ้นั
กระทาการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ

กฎหมายลิขสทิ ธิ์

พระราชบญั ญตั สิ ทิ ธิบตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ (แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบับท่ี ๓ พ.ศ.๒๕๔๒)

ประเภทของสิทธบิ ัตร สทิ ธิบัตร หมายถึง • สิทธบิ ัตรการประดษิ ฐ์
หนงั สือสาคัญทรี่ ัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองการ
ประดิษฐ์การออกแบบผลิตภัณฑ์หรือ • สทิ ธิบัตรการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ ท่ีมีลักษณะ ผลติ ภัณฑ์
ตามท่ีกฎหมายกาหนด โดยแบ่งออกเป็น
๓ ประเภท • อนุสทิ ธิบตั รหรือ
ผลิตภณั ฑ์
อรรถประโยชน์

การขอรับสิทธิบตั ร จะตอ้ งมลี ักษณะ ดงั น้ี

อายุการคุ้มครองสทิ ธิบตั ร สิทธบิ ตั รการประดิษฐม์ ี บทกาหนดโทษการละเมิด
อายุ ๒๐ ปี นบั แต่วันขอรับสิทธบิ ตั ร สทิ ธบิ ตั รการ สทิ ธบิ ตั ร สาหรบั ความผดิ ฐาน
ออกแบบผลิตภณั ฑม์ อี ายุ ๑๐ ปี นับแตว่ ันขอรับ ละเมิดสทิ ธิบตั รโดยไม่ไดร้ บั
สทิ ธบิ ัตรสว่ นอนุสทิ ธบิ ัตรให้มอี ายุ ๖ ปี นบั แต่วนั อนญุ าตจากผูท้ รงสิทธิบตั ร ต้อง
ขอรบั สิทธบิ ตั ร และผทู้ รงอนุสิทธิบตั รอาจขอต่ออายุ ระวางโทษจาคุกไมเ่ กิน ๒ ปี
อนุสิทธิบัตรได้ ๒ ครัง้ คร้งั ละ ๒ ปี โดยใหย้ ื่นคาขอ หรอื ปรบั ไม่เกนิ ๔๐๐,๐๐๐บาท
ต่ออายุตอ่ พนักงานเจา้ หน้าทีภ่ ายใน ๙๐ วันกอ่ นวนั หรือท้ังจาท้ังปรับ ความผดิ ตาม
สน้ิ อายุ กฎหมายสทิ ธิบัตรนเ้ี ป็นความผิด
อาญาแผ่นดนิ จงึ ไม่อาจยอม
ความกันได้

ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายคมุ้ ครองสิทธขิ องบคุ คล

ทาให้บ้านเมอื งสงบเรียบรอ้ ย ทาใหป้ ระเทศชาติพฒั นา
เป้าหมายของกฎหมาย เจริญก้าวหนา้
คุ้มครองสิทธขิ องบคุ คลคอื
การค้มุ ครองสิทธเิ สรีภาพ การที่ประชาชนทกุ คน
ของประชาชนและจัด ปฏบิ ัติตน
ระเบียบบ้านเมอื ง
ตามกฎหมายคุ้มครองสทิ ธิ
ของบคุ คล

อย่างเคร่งครดั

ทาให้ทุกคนในสงั คม ทาใหช้ ุมชนหรือสงั คมเกิด
ได้รับการปฏบิ ัตติ อ่ กันด้วย การพฒั นา
ความเสมอภาคและเท่าเทียม
เม่อื บดิ ามารดาหรือ
ผปู้ กครองปฏบิ ตั ิ
ตนตามกฎหมายค้มุ ครอง
สิทธิของบคุ คล โดยการ
ส่งเสริมใหเ้ ด็กในปกครอง
เข้ารบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
ทาใหเ้ ด็กเป็น
ผ้มู ีสมรรถนะ มคี ุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์


Click to View FlipBook Version