วชิ าหน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม
และการดาเนินชวี ติ
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
๒หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่
รัฐธรรมนูญ
กบั การเมืองการปกครองของไทย
จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. อธบิ ายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ฉบับปัจจุบนั โดยสงั เขปได้
๒. วิเคราะหบ์ ทบาทการถ่วงดลุ อานาจอธปิ ไตยในรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจบุ ันได้
๓. ปฏบิ ัตติ นตามบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปจั จุบันทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ตนเองได้
รฐั ธรรมนญู
กบั การเมอื งการปกครองของไทย รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย
• ประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชยม์ าสรู่ ะบอบ
ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยไดป้ ระกาศใช้
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย
• นบั จาก พ.ศ. ๒๔๗๕ ประเทศไทยมีการประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญหลายฉบบั โดยฉบบั ล่าสุดเปน็
ฉบบั ท่ี ๒๐ โดยมีทีม่ า ดงั น้ี
ท่ีมาของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
เกิดความขัดแยง้ คณะรกั ษาความสงบ กรธ. คณะกรรมการ
ทางการเมือง แหง่ ชาติ (คสช.) ทาการร่างรัฐธรรมนูญ การเลอื กตง้ั
ทม่ี ีแนวโน้มรนุ แรง เขา้ ควบคมุ อานาจ แหง่ ราชอาณาจักรไทย จดั การลงประชามติ
และบานปลาย การปกครอง วันท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๕๙
ยืดเยอ้ื มาตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๙ เกิดขนึ้ เมอื่ คณะกรรมการรา่ งรัฐธรรมนูญ ผลการออกเสยี ง
จนถึงเดือน วนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซง่ึ มี นายมชี ัย ฤชุพนั ธ์ ประชามติ
เป็นประธาน
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมเี ป้าหมายสาคัญ ปรากฏว่ารัฐธรรมนูญ
มีสาเหตุสาคญั มาจาก เพอื่ ยตุ คิ วามขัดแย้ง ไดท้ าการร่างรฐั ธรรมนูญใหแ้ ลว้ เสรจ็ ผา่ นความเห็นชอบ
การมีความคิดเห็นทางการเมอื ง สร้างความสามคั คี และคนื ความสุข ภายใน ๑๘๐ วนั โดยมเี นือ้ หา ดว้ ยคะแนนเสียง ๑๖,๘๒๐,๔๐๒
ทแี่ ตกตา่ งกนั ของคนในชาติ ใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทย ๑๖ หมวด ๒๗๘ มาตรา และมีผไู้ มเ่ หน็ ชอบ ๑๐,๙๒๖,๖๔๘
ความสาคญั ความสาคญั
ของรัฐธรรมนูญ
ยืนยันความเปน็ เอกราช รบั รองความเปน็ เอกรัฐ
ยืนยนั ว่า ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
ซ่ึงทรงใชอ้ านาจอธิปไตยผ่านทางรฐั สภา คณะรัฐมนตรี ศาล รัฐธรรมนญู กาหนดความสัมพันธ์
ระหว่างสถาบันการเมอื งต่างๆ
คมุ้ ครอง ค้มุ ครอง
ประชาชนชาวไทย ศกั ด์ศิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์
ไม่วา่ จะมีเหลา่ กาเนิดใด เพศใด หรือนบั ถือ สทิ ธิและเสรีภาพ
ศาสนาใดอย่างเสมอกัน ของประชาชนชาวไทย
หลักการของรัฐธรรมนญู
• ประเทศไทยเปน็ ราชอาณาจักรอันหน่ึงอนั เดียวจะแบง่ แยกมไิ ด้ ประเทศไทยเป็นรฐั เด่ียว
และรวมศนู ย์อานาจรัฐไวท้ ส่ี ว่ นกลางเพียงแหง่ เดียว
• ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
สถาบันพระมหากษัตริย์ มีความสาคัญต่อสังคมไทยเปน็ อยา่ งย่ิง เป็นสถาบนั ทอ่ี ยู่ค่สู ังคมมาอยา่ งตอ่ เนื่องและยาวนาน
• อานาจอธปิ ไตยเป็นของปวงชนชาวไทย ชาวไทยทกุ คนเป็นเจ้าของอานาจสงู สุดในการปกครองประเทศ
ส่วนพระมหากษัตริยผ์ ูท้ รงเป็นประมุข ทรงใช้อานาจทางรัฐสภา คณะรฐั มนตรี และศาล ตามบทบัญญัติรฐั ธรรมนูญ
• ศักดศิ์ รคี วามเปน็ มนุษย์ สทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบคุ คล ยอ่ มได้รับความคมุ้ ครองจากรัฐธรรมนญู
ตามหลักสิทธิมนษุ ยชน โดยมีรัฐเป็นผดู้ ูแลและค้มุ ครองสทิ ธิเสรีภาพของคนในประเทศตามทีร่ ฐั ธรรมนญู บัญญัติ
• รัฐธรรมนญู เป็นกฎหมายสงู สุดของประเทศไทย มีระบอบการปกครองทถ่ี อื “หลักนติ ริ ัฐ” โดยใช้มาตรการทางกฎหมายท่เี ปน็ ธรรม
จัดระเบียบของสงั คมกฎ ขอ้ บังคบั ใดๆ จะขัดหรอื แย้งกบั รฐั ธรรมนูญไมไ่ ด้
โครงสรา้ งของรฐั ธรรมนญู
การรับรูข้ า่ วสารข้อมูลสาธารณะ การกาหนดโครงสรา้ งและสาระสาคัญของรฐั ธรรมนญู เมอ่ื มีการจดั การเลอื กตง้ั ประชาชนชาวไทยมหี น้าทีไ่ ปใช้
เป็นสิทธเิ สรีภาพของชนชาวไทย มีการบญั ญตั เิ กี่ยวกับโครงสร้างของรฐั และการปกครองของไทย สทิ ธลิ งคะแนนเสยี ง ท้งั ในระดบั ชาติ ระดบั ทอ้ งถ่นิ
ประการหน่ึง ตามทรี่ ัฐธรรมนูญไดร้ ับรองไว้ ตามแนวทางของระบอบประชาธิปไตย
เพื่อคมุ้ ครองสทิ ธิเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
• ให้ความสาคัญในการคมุ้ ครองสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน
• ระบหุ นา้ ทข่ี องประชาชนชาวไทยไว้
• กาหนดแนวนโยบายแห่งรฐั
• บญั ญตั ิเกย่ี วกับบทบาทหน้าท่ขี องรัฐสภา
• บทบญั ญตั ิเกย่ี วกบั บทบาทของคณะรัฐมนตรี
• บญั ญัติเกีย่ วกับพรรคการเมอื งและการเลอื กตัง้
• บัญญัตเิ กีย่ วกบั ศาล
• ให้ความสาคญั กับคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของนักการเมอื ง
• สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
• กาหนดให้มีองคก์ รอสิ ระท่ีทาหนา้ ทีต่ รวจสอบการใชอ้ านาจรฐั
• กาหนดบทบาทหนา้ ที่ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
อานาจอธปิ ไตย ๓แบ่งเปน็ ด้าน เปา้ หมายหลกั
การใช้ อานาจนิติบญั ญตั ิ ผา่ นทางรฐั สภา ของการแบง่ แยก
การใช้ อานาจบรหิ าร ผ่านทางคณะรฐั มนตรี
การใช้ อานาจตลุ าการ ผ่านทางศาล การใช้อานาจอธิปไตย :
การคุ้มครองสทิ ธิเสรภี าพและประโยชน์ของประชาชน
มีการจากดั ขอบเขตอานาจของแตล่ ะฝา่ ย
มีการควบคมุ และตรวจสอบการใชอ้ านาจ
อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ประโยชนก์ ็จะตกอยทู่ ่ีประชาชนโดยรวม
อานาจนติ ิบญั ญตั ิ
รฐั สภา เป็นสถาบันท่ีใช้อานาจนิติบัญญัติรัฐธรรมนูญไทยกาหนดไว้เป็นระบบสองสภา
คือ สภาผู้แทนราษฎร และ วุฒิสภา เป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยท่ีใช้อานาจอธิปไตย
ในทางนติ บิ ัญญตั แิ ทนประชาชน
บทบาทหน้าทข่ี องสภาผูแ้ ทนราษฎร บทบาทหน้าท่ขี องวฒุ ิสภา
• พจิ ารณาและให้ความเหน็ ชอบร่างพระราชบัญญตั ิ • พิจารณากลน่ั กรองรา่ งพระราชบัญญตั ทิ ผ่ี ่านการพิจารณา
• ควบคมุ การบริหารแผ่นดนิ ของฝา่ ยบริหาร จากสภาผู้แทนราษฎร
• ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดนิ ของฝา่ ยบริหาร
• มอี านาจถอดถอนบคุ คลผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมอื ง
อานาจบริหาร
คณะรัฐมนตรีจะประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี ๑ คน และ
รัฐมนตรีอ่ืนอีกตามจานวนที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้ โดย
นายกรัฐมนตรีจะต้องมาจากบุคคลท่ีเป็นสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรและจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะนั้น
พระมหากษัตริย์จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งต้ัง โดยมี
ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราช
โองการแตง่ ตง้ั นายกรัฐมนตรี
บทบาทหนา้ ท่ขี องคณะรัฐมนตรี
• แถลงนโยบายต่อรัฐสภากอ่ นเข้าทาหนา้ ท่ีบริหารราชการแผ่นดนิ
โดยรัฐมนตรีตอ้ งดาเนนิ ตามนโยบายท่ไี ด้แถลงไว้
• เขา้ ประชุมและแถลงขอ้ เท็จจรงิ หรอื แสดงความคิดเหน็ ในทปี่ ระชุมสภา
อานาจตลุ าการ
ระบบศาลของไทย เป็นศาล ๔ ระบบ คือ
ศาลรฐั ธรรมนูญ
ศาลยุตธิ รรม
ศาลปกครอง
ศาลทหาร
บทบาทหนา้ ทขี่ องศาลรัฐธรรมนญู
• แถลงนโยบายตอ่ รัฐสภาก่อนเข้าทาหนา้ ทบี่ ริหารราชการแผ่นดิน
โดยรัฐมนตรตี อ้ งดาเนนิ ตามนโยบายท่ไี ด้แถลงไว้
• เขา้ ประชุมและแถลงขอ้ เท็จจริงหรือแสดงความคดิ เหน็ ในทีป่ ระชมุ สภา
• พจิ ารณาคดีและพพิ ากษาคดีทั้งปวงตามข้อบญั ญตั ทิ ีร่ ัฐธรรมนูณ หรอื
กฏหมายกาหนดใหใ้ นพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาลรฐั ธรรมนูญ
ประกอบด้วยประธานศาลรฐั ธรรมนูญ ๑ คน และตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ตามจานวนทีร่ ฐั ธรรมนญู กาหนด
ซึ่งพระมหากษตั ริย์ทรงแตง่ ตงั้ โดยมีคณุ สมบัติวาระการดารงตาแหนง่ ตลอดจนอานาจหน้าทีต่ ามที่รัฐธรรมนญู บญั ญัติ
บทบาทอานาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ
วนิ จิ ฉัยในกรณที ี่มคี วามขดั แย้งกนั วนิ จิ ฉยั กรณีท่ีบทบัญญตั ิ วินิจฉยั วา่ หนังสอื สนธสิ ญั ญาใด
เก่ียวกับอานาจหนา้ ที่ ระหวา่ ง แห่งกฎหมาย ตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบ
รัฐสภาคณะรัฐมนตรี หรอื องคก์ ร จากรฐั สภากอ่ นหรือไม่
กฎหรอื กระบวนการตรากฎหมาย
ตามรัฐธรรมนูญที่มิใชศ่ าล ขัดหรอื แย้งตอ่ รัฐธรรมนญู
ตง้ั แตส่ ององคก์ รขนึ้ ไป
ศาลยุติธรรม
มอี านาจพิจารณาคดที ้งั ปวง ยกเวน้ คดที ี่รัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย
บัญญัติใหอ้ ยู่ในอานาจของศาลอื่น ซง่ึ ระบบศาลยุติธรรม แบง่ ออกเป็น ๓ ชน้ั
ศาลชนั้ ต้น ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎกี า
เป็นศาลท่รี บั พจิ ารณาคดใี น เปน็ ศาลทมี่ ีอานาจพิจารณา เป็นศาลสูงสุด มีอานาจพจิ ารณา
เบื้องตน้ ท้งั คดแี พง่ คดีอาญาและ พพิ ากษาคดีทีฝ่ า่ ยโจทกห์ รอื พิพากษาคดที ฝ่ี า่ ยโจทก์หรือ
จาเลยอทุ ธรณค์ าพพิ ากษาหรอื
คดพี ิเศษอน่ื ๆ จาเลยขอฎีกาคาพพิ ากษาหรือคาส่งั ของ
โดยแบง่ เปน็ ๒ ประเภท คาส่งั ของศาลช้นั ตน้ ศาลอทุ ธรณ์ คาพพิ ากษาของศาลฎีกา
เปน็ ท่ีสุด ซงึ่ ทกุ ฝ่ายจะตอ้ งเคารพและ
ปฏบิ ตั ติ าม ไมม่ สี ิทธิทีจ่ ะโตแ้ ยง้ ได้อีก
ศาลชั้นตน้ ในกรุงเทพมหานคร
ศาลแพง่ ศาลอาญา ศาลแพ่งกรงุ เทพใต้ ศาลแพง่ ธนบรุ ี ศาลอาญาธนบุรี ศาลแขวงท่ีต้ังอยู่ในกรงุ เทพมหานคร
ศาลจังหวัดมีนบุรี ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ศาลภาษีอากรกลาง ศาลแรงงานกลาง
ศาลทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศกลาง ศาลล้มละลายกลาง
ศาลชัน้ ตน้ ในต่างจงั หวดั
• ศาลจงั หวัด
• ศาลแขวง
• ศาลเยาวชนและครอบครวั ในจงั หวัดตา่ งๆ
เป็นองคก์ รตลุ าการที่มีอานาจพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ชีข้ าดขอ้ พิพาททางการ ศาลปกครอง
ปกครอง หรือท่ีเรยี กวา่ คดปี กครอง
คดพี พิ าทระหวา่ งหน่วยงานของรฐั ทีเ่ รียกว่า ศาลปกครองสูงสุด
“หน่วยงานทางปกครอง” หรือ เจา้ หน้าที่ของรัฐกบั ซ่งึ มีเพยี งศาลเดยี ว ทาหน้าท่เี ปน็ ศาลสูงสดุ เช่นเดยี วกับ
เอกชน อนั เนือ่ งมาจากการใชอ้ านาจตามกฎหมาย หรอื ศาลฎีกาในระบบของศาลยุติธรรม
จากการจัดทากิจการของรัฐ ศาลปกครองช้นั ต้น
ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภมู ภิ าค
คดีพิพาทระหวา่ งหน่วยงานทางปกครองหรอื เจ้าหน้าที่ ตา่ งๆ เช่น ศาลปกครองขอนแก่น ศาลปกครองเชียงใหม่
ของรัฐด้วยกันเองอันเนือ่ งมาจากการใชอ้ านาจตาม
กฎหมายหรือจากการจดั ทากจิ การของรฐั
ศาลปกครองแบง่ ออกเป็น ๒ ชนั้
ศาลทหาร
มีอานาจพิจารณาพพิ ากษาคดอี าญาซง่ึ ผกู้ ระทาผดิ
เป็นบคุ คลที่อย่ใู นอานาจศาลทหาร และคดอี น่ื ตามท่กี ฎหมายบญั ญัตไิ ว้
แผนผังการแสดงความสัมพนั ธก์ ารแบง่ แยกการใชอ้ านาจการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
พระมหากษัตรยิ ์
ฝา่ ยนติ ิบญั ญตั ิ ฝา่ ยบรหิ าร ฝา่ ยตุลาการ
รัฐสภา คณะรฐั มนตรี ศาล
นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี
สภาผ้แู ทนราษฎร วุฒสิ ภา ศาลรัฐธรรมนญู
ศาลยตุ ิธรรม
ออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมาย ศาลปกครอง
เสนอร่างกฎหมาย ศาลทหาร
ตรวจสอบการออกกฎหมาย
และการบังคับใชก้ ฎหมาย
การถ่วงดลุ อานาจของฝา่ ยนติ ิบัญญัติ การถว่ งดุลอานาจอธิปไตย
การถว่ งดลุ อานาจฝา่ ยบรหิ ารหรอื การถว่ งดลุ อานาจของฝา่ ยบริหาร การถ่วงดุลอานาจของฝ่ายตุลาการ
คณะรฐั มนตรี
โดยการควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน่ ดิน การถว่ งดลุ อานาจฝา่ ยนิตบิ ัญญตั ิ การถ่วงดุลอานาจฝ่ายบริหาร
ซึง่ กระทาได้ดว้ ยวิธีการ เชน่ โดยการยุบสภา ซ่งึ เป็นพระราชอานาจ โดยกระบวนการพจิ ารณาคดขี องศาลฎีกา
• ใหค้ วามเห็นชอบบคุ คลทจี่ ะเป็น ของพระมหากษตั รยิ ์ท่จี ะมพี ระราชกฤษฎีกา แผนกคดอี าญาของผดู้ ารงตาแหน่งทาง
ยบุ สภาตามคาแนะนาของนายกรฐั มนตรี ซึ่ง การเมือง หรือศาลรฐั ธรรมนญู เชน่ การ
นายกรฐั มนตรี โดยประธานสภา จะทาให้ วินิจฉัยคณุ สมบตั ิ
ผแู้ ทนราษฎรเปน็ ผลู้ งนามรับสนอง สภาผ้แู ทนราษฎรส้ินสุดวาระกอ่ นกาหนด ของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมอื ง หรือศาล
พระบรมราชโองการแตง่ ต้ัง หรอื ไมส่ ามารถปฏิบตั ิหน้าท่ีตอ่ ไปได้ ปกครอง เช่น การพิพากษาคดปี กครองท่เี กิด
นายกรัฐมนตรี ขณะเดยี วกนั ฝา่ ย จากการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ขี องหน่วยงานปกครอง
• ใหค้ ณะรฐั มนตรตี ้องแถลงนโยบายใน บรหิ าร คอื คณะรัฐมนตรเี องกต็ อ้ งพน้ จาก หรือเจ้าหน้าทข่ี องรฐั
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ต่อรฐั สภา ตาแหน่ง แต่ต้องอยใู่ นตาแหนง่ เพ่ือปฏบิ ตั ิ การถว่ งดุลอานาจฝ่ายนติ บิ ญั ญัติ
ก่อนเข้าบริหารราชการแผน่ ดิน โดยไม่มี หนา้ ท่ตี อ่ ไปจนกวา่ คณะรฐั มนตรชี ดุ ใหมจ่ ะ โดยกระบวนการพิจารณาคดีของศาล
การลงมตไิ วว้ างใจ เขา้ มารับหนา้ ที่ รฐั ธรรมนูญ หรือศาลฎกี าแผนกคดอี าญา
การถว่ งดุลอานาจฝา่ ยตุลาการ การถว่ งดุลอานาจฝา่ ยตุลาการ ของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง
• โดยกระบวนการควบคมุ และอนมุ ตั ิ โดยการกลัน่ กรองและให้ความเห็นชอบ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี ถอดถอน วงเงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
ผู้พิพากษาหรือตุลาการออกจาก
ตาแหนง่ ตามบทบญั ญตั ิรฐั ธรรมนญู
แนวทางการปฏบิ ัตติ น ประชาชนจึงควรปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับ
ตามบทบัญญตั ิในรฐั ธรรมนญู บทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนญู ตามแนวทาง ดงั น้ี
เก่ียวกับสิทธิ เสรภี าพ และหน้าท่ี
เคารพสิทธขิ องกนั รู้จักใช้สทิ ธิของ เผยแพร่ความรู้ ปฏบิ ตั ิตามบทบาท
และกนั โดยไม่ ตนเองและแนะนา เกย่ี วกบั สิทธิ หน้าท่ี ท่ี
ละเมดิ สิทธิ ใหผ้ ู้อื่นรจู้ ักใชแ้ ละ มนุษยชน และ
เสรภี าพของผู้อืน่ เกย่ี วขอ้ ง เช่น ให้
รักษาสทิ ธิของ ปลกู ฝัง ความร่วมมือใน
ส่งเสรมิ และ ตนเอง แนวความคิดเรอื่ ง การธารงรกั ษาไว้
สนับสนุนการ สทิ ธมิ นษุ ยชน ซึ่งสถาบนั ชาติ
ดาเนินงานของ ร่วมมือกบั ให้แก่ชุมชนหรือ
องค์กรอสิ ระตาม หนว่ ยงานของ ศาสนา
รฐั ธรรมนูญ ภาครัฐและเอกชน สงั คมตาม พระมหากษตั ริย์
เพือ่ คุ้มครองสิทธิ สถานภาพและ และการปกครอง
บทบาททต่ี นพงึ
มนุษยชน ระบอบ
กระทาได้ ประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมขุ