The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย1_บทบาทและหน้าที่ของเยาวชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rodjarin, 2021-08-16 19:58:07

หน่วย1_บทบาทและหน้าที่ของเยาวชน

หน่วย1_บทบาทและหน้าที่ของเยาวชน

วชิ าหน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม
และการดาเนินชวี ติ

ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

๑หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี

บทบาทและหนา้ ท่ขี องเยาวชน

ที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. ระบุความสามารถของตนในการทาประโยชนต์ ่อสงั คมและประเทศชาตไิ ด้
๒. แสดงออกถงึ การเคารพในสิทธเิ สรีภาพของตนเองและผู้อ่ืนได้

บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชน
ท่ีมีตอ่ สังคมและประเทศชาติ

ความสาคญั ของเยาวชน

• เป็นประชากรสาคัญกลมุ่ หนงึ่ ของสังคมไทย

• เปน็ กลุ่มบุคคลทีป่ ระเทศชาตจิ าเป็นต้องพ่ึงพา
• ถ้าเยาวชนมีคุณภาพ การพฒั นาประเทศชาติให้

เจรญิ กา้ วหนา้ กส็ ามารถกระทาได้โดยงา่ ย

สิ่งท่สี งั คมไทย • เปน็ คนดี
คาดหวงั จากเยาวชน คือ • มีความร้คู วามสามารถ มีสตปิ ัญญาดี
• มีคุณธรรมจริยธรรม มวี ินยั และความรบั ผดิ ชอบ
• ไมม่ คี วามประพฤตเิ สื่อมเสียหรอื สรา้ งความเดือดรอ้ น

ราคาญใหก้ ับสงั คม

บทบาทและหน้าทขี่ องเยาวชน

ท่มี ีตอ่ สังคมและประเทศชาติ (ตอ่ )

ความเป็น ผู้มีจิตสาธารณะ

๓คณุ ลกั ษณะจิตใจและการกระทาท่สี าคญั ออกไดเ้ ป็น ประการ :

การมีจติ สานึกท่มี องเห็น “คุณค่า” การแสดงออกถึงการมีส่วนรว่ ม การแสดงออกและลงมือปฏิบตั ิ
หรอื การใหค้ ุณคา่ ทางสงั คม รบั ผิดชอบตอ่ สังคมส่วนรวม เพ่ือรักษาประโยชน์
ในการใชส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพ ของสังคมส่วนรวม
หรอื สิ่งตา่ งๆ ทเ่ี ป็นสง่ิ สาธารณะ หรอื ของประเทศชาติ
ท่ไี มม่ ผี ู้ใดผหู้ น่งึ เป็นเจา้ ของหรอื และการปฏิบตั ิหน้าท่ี

เปน็ สิ่งที่คนในสังคม
เปน็ เจา้ ของร่วมกนั
โดยไม่คิดจะทาลาย
แตร่ ว่ มกนั รักษา ปกปอ้ ง และอนุรกั ษ์

วธิ ปี ฏิบตั ติ นเปน็ ผมู้ ีจติ สาธารณะให้เปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คม

เคารพกฎกติกา ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามซอ่ื สัตยส์ จุ รติ มรี ะเบียบวนิ ยั
ของสังคม

ประพฤตติ น ปฏิบตั ิตนตาม ศกึ ษาหาความรู้ มีความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ต้องละเว้น ไมก่ ระทา
เป็นคนสภุ าพเรยี บรอ้ ย ทีก่ ฎหมายกาหนด จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ ทงั้ ทางใจและการปฏบิ ัติ ในส่งิ ทีไ่ มค่ วรกระทา
ไม่ประพฤติตนท่ีทาใหผ้ ู้อื่น ไมก่ ระทาในสง่ิ ทีท่ าให้ตนเอง แนวทางท่ีจะนาความรูไ้ ปใช้ ผูม้ รี ะเบยี บวินยั ยอ่ ม
ผู้อื่น สังคม หรอื ประเทศเกดิ ในการแก้ปญั หาและพฒั นา ทางกาย ละอาย จะสามารถเจรญิ เตบิ โตได้
เดอื ดร้อน ความเดอื ดรอ้ น และเกรงกลัวตอ่ การกระทา
ตนเอง อยา่ งมีคณุ ภาพ
ในส่งิ ท่ไี ม่ดี

มีคุณธรรมจริยธรรม มสี ว่ นรว่ ม มสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ รกั ษาสาธารณสมบัติ อนุรกั ษ์และสืบสาน
ในกจิ กรรมทางสงั คม ทรัพยากรธรรมชาติ ประเพณี วฒั นธรรม และ
ประพฤติปฏบิ ัติตาม มีหน้าท่ีชว่ ย ภมู ปิ ญั ญาทด่ี งี ามของไทย
หลักธรรมคาสอน ร่วมมอื รว่ มใจกนั มีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์ ทานบุ ารงุ สาธารณสมบตั ิ
ของศาสนาท่นี บั ถอื ไม่นิ่งดดู าย ทรพั ยากรธรรมชาติ ตระหนักในความสาคัญ
มีคณุ ธรรม จริยธรรม ใหใ้ ช้ประโยชน์ และมีสว่ นร่วมอนรุ กั ษ์
หาโอกาสเขา้ ร่วมทากจิ กรรม ท้งั ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง หรอื ไดค้ มุ้ ค่า สืบสานประเพณี วฒั นธรรม
ต่างๆ ทางสังคม เข้าร่วมกิจกรรมตา่ งๆ และภมู ิปญั ญาเพือ่ ใหค้ งอยู่
ทางสงั คม กับสังคมไทยตอ่ ไป



การเคารพสิทธแิ ละเสรภี าพ ความหมายของสทิ ธิและเสรภี าพ

ของตนเองและผอู้ ่ืน

สิทธิ ประโยชน์ท่ีกฎหมายรบั รองและคุ้มครองให้แกบ่ ุคคล ในการท่ีจะกระทาการใดๆ

หรือได้มาซ่ึงสงิ่ ใดๆ โดยชอบด้วยกฎหมาย เชน่
• สิทธใิ นทรัพย์สนิ
• สทิ ธใิ นการไดร้ ับการศึกษา
• สิทธใิ นการเสนอเรื่องราวร้องทุกข์
• สทิ ธลิ งคะแนนเสียงเลือกตงั้

เสรีภาพ ความมอี ิสระท่ีจะกระทาการใดๆ โดยไม่ไปลว่ งละเมดิ สทิ ธิของผู้อ่นื ตลอดจนความ

สงบเรียบรอ้ ยและศลี ธรรมอนั ดีงาม เชน่
• เสรีภาพในการประกอบอาชีพอย่างสุจริตเสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา
• เสรภี าพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ

สทิ ธิ เสรภี าพ ของประชาชนชาวไทย

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย เสรีภาพในเคหสถานเคหสถานอันเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั เคหสถานถือเปน็ สถานท่ี
เป็นกฎหมายสูงสดุ ทใี่ ชป้ กครองประเทศ ถอื เป็นสถานท่ปี ระชาชนไทยมีสิทธิท่ีจะเดนิ ทางไป สว่ นตวั ของผูเ้ ปน็ เจ้าของ
ไหนมาไหนในราชอาณาจักรไดอ้ ยา่ งเสรสี ว่ นตัว ผ้ใู ด ถ้าผูใ้ ดเขา้ ไปโดยพลการ
• การรบั รองศกั ด์ิศรีความเปน็ มนุษย์ : ผูห้ นึง่ จะละเมดิ เข้าไปยังอาคารบ้านเรอื นของผอู้ ่นื จะมีความผดิ ฐานบุกรุก

ห้ามการปฏิบตั ติ อ่ มนุษยด์ ้วยกันเยี่ยงสัตว์ เสรภี าพในการเดินทางและเลือกถนิ่ ท่ีอยู่ ประชาชนไทยมสี ทิ ธิ
หรือเยย่ี งทาส แตจ่ ะตอ้ งไม่ครอบครองในทีส่ าธารณะ ประชาชน ทีจ่ ะเดนิ ทางไปไหนมาไหน
ในราชอาณาจกั รไดอ้ ย่างเสรี
• สทิ ธใิ นความเท่าเทียมกัน : คนไทยสามารถจะเดินทางไปไหนมาไหนได้

ทกุ คนย่อมมีความเทา่ เทยี มกนั ตามกฎหมาย สทิ ธิของบคุ คลในครอบครัวเกยี รตยิ ศ
หา้ มเลือกปฏิบตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม ชอื่ เสียง ความเปน็ อยู่ส่วนตัวรฐั ธรรมนูญได้ใหค้ วาม

• สทิ ธิเสรีภาพส่วนบุคคล : คุม้ ครองไว้

ทุกคนย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชวี ติ และ เสรีภาพในการสื่อสาร
รา่ งกาย การทรมาน ทารณุ กรรมการลงโทษ ประชาชนชาวไทยมีเสรีภาพในการสอื่ สารถงึ กัน
ดว้ ยวธิ ีการโหดร้ายหรอื ไรม้ นษุ ยธรรมจะ รฐั ธรรมนญู หา้ มการตรวจ การกกั เปดิ เผย หรอื
กระทามไิ ด้ แอบลกั ลอบดกั ฟัง อา่ น เพ่อื ให้รบั ร้สู ่ิงส่ือสารที่

บคุ คลตา่ งๆ

เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา
ประชาชนมีเสรภี าพอยา่ งบริบรู ณ์ในการเลอื กนบั
ถือศาสนา นิกายของศาสนา หรอื ลัทธนิ ิยมใน

ศาสนาตามท่ีตนเองศรัทธา

• สทิ ธใิ นกระบวนการยุตธิ รรม : สทิ ธิ เสรภี าพ ของประชาชนชาวไทย (ตอ่ )

บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทาการอัน • สทิ ธขิ องผู้บริโภคยอ่ มได้รบั ความค้มุ ครอง :
กฎหมายท่ีใช้อยู่ในเวลาท่ีกระทานั้นบัญญัติเป็น
ความผดิ และกาหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บุคคล บคุ คลย่อมมสี ิทธริ วมกันจดั ตงั้ องค์กรของผ้บู รโิ ภคเพือ่ คมุ้ ครองและพทิ กั ษ์สทิ ธิของผู้บริโภค
นนั้ จะหนักกว่าโทษท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายท่ีใช้อยู่ใน
เวลาทก่ี ระทาความผดิ มไิ ด้ • สทิ ธิในการรับบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ :

• สิทธใิ นทรพั ย์สนิ และการสืบมรดก : บุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมไปถึงบุคคล
ซึ่งมีอายุเกนิ หกสิบปแี ละไมม่ ีรายได้เพียงพอแกก่ ารยังชีพ และบุคคลผยู้ ากไร้ ย่อมมสี ทิ ธิได้รับความ
ทรัพย์สินที่แต่ละบุคคลหามาได้อย่างยากลาบาก ช่วยเหลอื ทเ่ี หมาะสมจากรฐั ตามทกี่ ฎหมายบัญญัติ
ไม่ว่าจะเป็นสังหาริมทรัพย์ หรืออสังหาริมทรัพย์
ย่อมเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้เป็นเจ้าของผู้ใดจะมาบังคับ • สทิ ธิท่ีเกยี่ วกบั ชมุ ชน วฒั นธรรม และสิ่งแวดลอ้ ม :
แยง่ ชงิ หรอื ทาลายให้เสียหายมไิ ด้
บุคคลและชมุ ชนย่อมมีสิทธิในการอนุรักษ์ฟื้นฟู
• สิทธิในข้อมลู ขา่ วสารและการรอ้ งเรยี น : หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนยี ม และจารีตประเพณีอันดีงามท้ัง
บคุ คลและชุมชนย่อมมีสิทธิท่ีจะได้รับทราบและเข้าถึง ของทอ้ งถ่นิ และของชาติ
ข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ ในครอบครองของ
หนว่ ยงานของรัฐตามที่กฎหมายบญั ญัติ • เสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ :

บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการพูด การเขียน
การพมิ พ์ การโฆษณา การส่ือความหมาย
โดยวธิ ีอนื่ รวมถงึ เสรีภาพทางวชิ าการ

ประชาชนชาวไทยมีสทิ ธิในการดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม
เพ่อื ช่วยใหส้ งิ่ แวดล้อมกลับคืนสสู่ ภาพทีด่ ีขนึ้

• เสรีภาพในการเสนอขา่ วสาร : สิทธิ เสรภี าพ ของประชาชนชาวไทย (ตอ่ )

บคุ คลซ่ึงประกอบวชิ าชพี ส่ือมวลชนยอ่ มมี • เสรีภาพในการชุมนมุ โดยสงบและปราศจากอาวธุ
เสรีภาพในการเสนอข่าวสาร หรือการแสดงความ ประช:าชนยอ่ มมีเสรภี าพในการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ
คดิ เหน็ ตามจรยิ ธรรมแห่งวชิ าชีพ • เสรีภาพในการจดั ตัง้ พรรคการเมอื ง :

• เสรีภาพในการประกอบอาชพี : บุคคลยอ่ มมีเสรภี าพในการรวมกนั จัดตง้ั พรรคการเมอื งตามระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
ประชาชนไทยล้วนมีเสรภี าพในการประกอบอาชพี
คนไทยสามารถเลือกประกอบอาชพี ใดๆ กไ็ ด้
• เสรภี าพในการจัดตั้งกลุ่มผลประโยชน์ : ตามความชอบ ความถนดั และความสามารถของตน โดยไม่ขัดตอ่ กฎหมาย

คนไทยต่างมีเสรีภาพในการรวมกนั เปน็ สมาคม
สหกรณ์ สหภาพ องค์กร ชมุ ชน หรอื หมู่คณะอน่ื

การปฏบิ ตั ติ นในการเคารเพสสริทีภธาิพของตนเองและผู้อ่ืน

ปกป้องสิทธิ ไมล่ ะเมดิ สิทธแิ ละ ใชส้ ิทธิและเสรภี าพ
และเสรภี าพของตนเอง เสรภี าพของผ้อู นื่ ตามกรอบแหง่ กฎหมาย

เมื่อสทิ ธแิ ละเสรภี าพของเราถกู ละเมดิ ใชส้ ทิ ธแิ ละเสรีภาพต้องควบคไู่ ปกบั กฎหมายเปน็ กฎกตกิ าของสังคม
ไมว่ า่ จะเกดิ จากตวั บุคคล กลุ่มบคุ คล หรือ ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ตอ้ งมขี อบเขต ทีจ่ ะทาให้การอย่รู ่วมกนั
จากหน่วยงานใด ตอ้ งดาเนนิ การปกป้อง เปน็ ไปอย่างปกติสุข
มิใช่ทาอะไรก็ไดต้ ามอาเภอใจ และเป็นระเบยี บ
สทิ ธิและเสรภี าพของเราตามกรอบ ตอ้ งคานงึ ถงึ สทิ ธแิ ละเสรภี าพ
ที่กฎหมายบัญญัติไว้
ของผู้อ่ืนเช่นกัน

ใช้สิทธแิ ละเสรีภาพตาม มีจิตสาธารณะ ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรงในการแกป้ ญั หา
กรอบแหง่ ศลี ธรรมและวัฒนธรรม
การใช้สทิ ธิและเสรภี าพ การใชส้ ทิ ธแิ ละเสรีภาพในสงั คม
การอยรู่ ่วมกันอย่างสงบสขุ ตอ้ งคานึงการมีจติ สาธารณะร่วมดว้ ย ประชาธปิ ไตยจะต้องอย่ใู นขอบเขตของ
ลาพงั กฎหมายเพยี งอยา่ งเดยี ว กฎหมาย คนในสังคมอาจมที ศั นะในเร่อื ง
อาจไม่เพียงพอ จึงจาเป็นต้องอาศัยกรอบ เพอื่ สรา้ งความเขม้ แข็งให้กับ ต่างๆ แตกตา่ งกนั การชี้แจงทาความ
แห่งศีลธรรมและวฒั นธรรมอันดงี าม องค์กร หน่วยงาน เขา้ ใจดว้ ยเหตุผลเป็นสง่ิ ทีจ่ าเป็น จะตอ้ ง
ไมใ่ ช้ความรุนแรงในการแก้ไขปญั หา
เขา้ มาช่วยเสริมดว้ ย

ผลทีไ่ ดร้ ับจากการเคารพสิทธแิ ขลอะงเตสนรเอภี งาแพละผอู้ น่ื

ชว่ ยเสรมิ สร้างรากฐาน ลดความขดั แย้ง
ประชาธปิ ไตย ขอ้ พพิ าทระหวา่ งกนั

รากฐานของประชาธิปไตย ให้ความสาคัญ
อยู่ท่ีการปฏิบัติของพลเมอื ง กบั การเคารพสิทธิและเสรภี าพ

ถ้ารูจ้ กั ใชส้ ทิ ธแิ ละเสรีภาพของตนเองอย่างมีขอบเขตและ ระมัดระวงั ไมก่ ระทาในส่ิงที่ทาให้ผูอ้ ่ืนและสงั คมเดอื ดรอ้ น
สอดคล้องกับกฎหมาย รวมทงั้ รจู้ กั เคารพสิทธิและเสรภี าพ เมอ่ื มีความคดิ เห็นไม่ลงรอยกัน
ของผอู้ นื่ เขากจ็ ะปฏบิ ัติตนหรอื มีแนวการดาเนินชีวิตท่เี ป็น กจ็ ะใช้แนวทางสนั ติวธิ ี
ในการแกไ้ ขปญั หา
ประชาธิปไตย
สร้างความเข้มแข็ง
สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ประเทศชาติ
ให้กับชุมชนและสังคม
ชมุ ชนและสังคมมีความเขม้ แข็ง
รจู้ กั เคารพสิทธิ ย่อมสง่ ผลถงึ ประเทศใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ตามมา
และเสรีภาพของกนั และกัน
ประชาชนมีความเป็นอันหนึง่ อันเดยี วกนั
มีความสมัครสมานสามคั คี ไม่มกี ารแบง่ ฝักฝา่ ย การพฒั นาประเทศให้เจริญก้าวหน้า
รักใครก่ ลมเกลียวกนั
ก็สามารถวางแผนได้ ในระยะยาวอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
มีความเอ้อื อาทร พึ่งพาอาศยั กัน


Click to View FlipBook Version