ขอขอบคณุ
ส�ำนักงานกองทนุ สนับสนุนการวิจัย
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ยั ชาญ ถาวรเวช
อธกิ ารบดี
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
อาจารยป์ ญั จพล เหลา่ พูลพฒั น์
รองอธิการบดฝี ่ายวางแผนและพฒั นา
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
เพชรบุรี :
วจิ ยั และสร้างสรรคโ์ ดยศิลปากร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อรศิ ร์ เทยี นประเสริฐ
ผอู้ �ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากรก่อก�ำเนิดข้ึนโดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก
ของประเทศไทยท่ีมุ่งเน้นการเรียนการสอนในด้านศิลปะและการออกแบบ
และแม้ว่าปัจจุบันมหาวิทยาลัยศิลปากรจะขยายพื้นท่ีการศึกษาไปยังภูมิภาค
คอื จงั หวัดนครปฐมและจังหวัดเพชรบุรี ตลอดจนเปิดการเรียนการสอนหลาก
หลายสาขาวิชาทั้งด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสุขภาพรวมถึงสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ แต่ก็ยังคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและได้สะท้อน
ออกมาในวิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยชั้นน�ำแห่งการสร้างสรรค์” และการวิจัย
แบบบรู ณาการ ตลอดจนหลักสูตรทีเ่ ปน็ สหวิทยาการ ซงึ่ มกี ารน�ำองค์ความรู้
ทางด้านศลิ ปะและการออกแบบเขา้ มาเป็นส่วนประกอบ
สมุดบันทึกความทรงจ�ำเล่มนี้ จัดท�ำข้ึนเพ่ือถ่ายทอดผลงานที่
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร โดยคณาจารยจ์ ากคณะวชิ าต่าง ๆ ได้รว่ มมอื กันดำ� เนิน
การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการ เพื่อเป็นการตอบโจทย์ของ
ชุมชนและพื้นทีใ่ นการพฒั นาทอ้ งถิ่นโดยการน�ำ “ต้นทนุ ” และ “ศักยภาพ”
ท่ีมอี ยูม่ าส่งเสรมิ ให้เกิดประโยชน์ เพมิ่ รายได้ สร้างอาชพี และประชาชนมี
“คณุ ภาพชวี ิต” ท่ดี ีขนึ้
เพชรบรุ ีเป็นจงั หวดั ทม่ี ี“ต้นทุน”ทางศลิ ปวัฒนธรรมวดั วงั ธรรมชาติ
ที่งดงาม และต้ังอยใู่ นทำ� เลทางภูมศิ าสตรท์ ่เี หมาะสม สะดวกในการเดนิ ทาง
จากท้งั ในและต่างประเทศ สง่ ผลให้มี “ศกั ยภาพ” เหมาะสมทจ่ี ะพฒั นาใหเ้ ป็น
แหลง่ ท่องเท่ียว ศูนย์เรยี นรู้ สถานท่พี ักผอ่ น ตลอดจนสถานพกั ฟ้ืนและท่ีอยู่
อาศยั เพ่อื ส่งเสรมิ สุขภาพ นำ� มาซ่งึ ความเหมาะสมในการนำ� องคค์ วามรูท้ ีม่ ใี น
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ดำ� เนินการพัฒนาและต่อยอดศักยภาพ ดว้ ยการวิจัย
และถา่ ยทอดเทคโนโลยตี ลอดไปจนถงึ การบริการวิชาการ เกิดการพัฒนาและ
ส่งเสริม“คุณภาพชีวิต”ของประชาชนในท้องถ่ิน ตลอดจนการอนุรักษ์ศิลป
วัฒนธรรม ผ่านการถ่ายทอดลงในงานศิลปะและงานออกแบบ เพื่อน�ำไปสู่
ความรว่ มสมัย และสามารถนำ� มาใช้ไดใ้ นชีวติ ประจำ� วัน
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ไดด้ �ำเนนิ การศึกษาและเก็บขอ้ มลู “ต้นทนุ ”
ของจังหวัดเพชรบุรี และพบว่าในด้านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมน้ัน
เพชรบรุ มี ีประวัตศิ าสตร์อันยาวนานมาตง้ั แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี 18 ซ่งึ เป็นช่วงที่
พระเจา้ ชัยวรมันที่ 7 ครองราชย์ ซง่ึ เหน็ ได้จากหลักฐานปราสาทเขมรที่มี
ลักษณะเป็นศิลปะแบบบายนในวัดก�ำแพงแลง ช่วงประวัติศาสตร์ท่ีส�ำคัญ
มากอีกชว่ งหนึง่ ของจงั หวัดเพชรบุรี ไดแ้ ก่สมัยอยธุ ยา ซง่ึ เห็นได้จากวัดใหญ่
สวุ รรณารามที่สะทอ้ นศิลปะสมยั อยุธยาตอนปลายและวดั เกาะแก้วสทุ ธาราม
ทม่ี ีจิตรกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถเปน็ ฝีมอื ชา่ งสมัยอยุธยาเป็นต้นศลิ ปะสมยั
อยธุ ยายงั คงอยู่ในเพชรบรุ ที ้ังในรปู แบบที่เปน็ จิตรกรรม และสถาปัตยกรรม
จนมีคำ� กลา่ ววา่ “เพชรบรุ ีคอื อยธุ ยาทีม่ ีชวี ติ ” เพชรบรุ ีซ่งึ มที ต่ี ้ังทางภูมศิ าสตร์
ที่เชื่อมโยงกับพ้ืนท่ีต่าง ๆ ทั้งในประเทศและภูมิภาคอาเซียนได้เป็นอย่างดี
ยังเป็นที่ต้ังของพระราชวังและท่ีประทับซึ่งถูกสร้างเพิ่มเติมขึ้นในสมัย
รตั นโกสนิ ทรอ์ ีกดว้ ย และเพชรบรุ ียังอุดมไปด้วยภมู ิปัญญาของงานชา่ งแขนง
ตา่ ง ๆ เช่น ชา่ งทอง ช่างปูนปน้ั ท่มี ีช่อื เสียงมาจนถงึ ปจั จุบัน
นอกจากนั้นเพชรบุรียังมีอัตลักษณ์ท่ีส�ำคัญในวิถีการด�ำรงชีวิตท่ี
สะท้อนให้เห็นไดจ้ ากอาหารทั้งคาวและหวานทีม่ ีชอ่ื เสยี ง วถิ ีการเกษตรทีเ่ ปน็
แหล่งเพาะปลูกของพืชที่เป็นชื่อเสียงของท้องถิ่น จนท�ำให้เกษตรกรมีความ
เข้มแข็งทางเศรษฐกิจจนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ และในปัจจุบันยังมีแหล่ง
เรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นมากจากโครงการพระราชด�ำริต่าง ๆ สืบเน่ืองจากความอุดม
สมบูรณ์ในด้านต่าง ๆ ที่กล่าวมาน้ี ท�ำให้เพชรบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งท่ีมีความ
หลากหลายของชาติพันธุ์และกลายเป็นจังหวัดที่มีการอยู่อาศัยร่วมกันอย่าง
เป็นพหุวัฒนธรรมที่มีความสงบสุขและเอ้ืออาทรต่อกันโดยไม่มีการแบ่งแยก
จึงน�ำไปสู่การพัฒนาต่อยอดท่ีเกิดจากความต้องการของชุมชน ความมีจิต
สาธารณะของนักวิชาการในการน�ำความรู้มารับใช้สังคม และความร่วมมือ
เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ จึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยและ
ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ตลอดจนการบริการวชิ าการตา่ ง ๆ ซงึ่ กำ� ลังดำ� เนินการ
อยู่ในขณะน้ไี ด้แก่
1. ชมุ ชนพระปรางคใ์ นเขตเทศบาลเมืองจงั หวดั เพชรบุรีที่มีบา้ นเรอื น
และสถานที่ส�ำคัญซ่ึงมีประวัติมายาวนาน เหมาะสมต่อการพัฒนาให้เป็น
“ถนนสายวฒั นธรรม” เพื่อการทอ่ งเที่ยวและเปน็ แหลง่ เรียนรู้ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ
รายได้ตอ่ ชุมชนและอนุรกั ษ์สิ่งทเี่ ป็นประวัตศิ าสตร์ศลิ ปวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น
ใหค้ งอยูต่ ่อไป
2. สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ�ำกัด อ. บ้านลาด จ. เพชรบรุ ี ซง่ึ
เป็นแหล่งผลิตกล้วยหอมทองส่งออก ได้มีการด�ำเนินงานวิจัยเพ่ือพัฒนา
ผลิตภัณฑ์และแปรรูปอาหารจากกล้วยหอมทองซ่ึงไม่สามารถส่งออกได้และ
วตั ถดุ ิบอ่ืนในพ้นื ท่ี เชน่ การแปรรปู กล้วยหอมทองอบแห้ง กล้วยหอมทอง
ทอดกรอบปรุงรส แยมกลว้ ยหอมทอง ไอศกรีมตาลโตนด ไซรัปตาลโตนด
เปน็ ต้น นอกจากนี้ยังมีการจัดท�ำสอื่ สนบั สนุนการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรอีกด้วย
3. หมู่บา้ นชาวไทยมสุ ลิม ต. สามพระยา อ. ชะอำ� จ. เพชรบุรี ซง่ึ
เป็นชุมชนที่สะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศ เนื่องจาก
ประชากรสว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาอิสลาม และบางส่วนยา้ ยถนิ่ ฐานมาจากภาคใต้
ซึ่งมีกรณีพิพาทสืบเนื่องจากความต่างของวัฒนธรรม แต่การมาอยู่อาศัยใน
พื้นทีท่ ีอ่ ยูภ่ ายใตโ้ ครงการพระราชด�ำริ น�ำมาซงึ่ อาชพี และการเปน็ อยูท่ ่ีม่นั คง
ขึ้น แตเ่ นื่องจากทำ� เลท่ีตัง้ ของหมบู่ ้านอยูใ่ นเขตเงาฝน ท�ำใหไ้ มส่ ามารถเพาะ
ปลกู พืชได้ จึงเน้นการทำ� ปศสุ ัตว์ได้แก่ การเลี้ยงววั นม เพื่อผลิตนมพาสเจอไรซ์
โดยสหกรณ์โคนม และแพะเนอ้ื เพอ่ื น�ำเนอื้ มาท�ำอาหาร ซ่ึงหนังแพะกลายเปน็
ของเหลอื ทง้ิ จึงได้รบั การพัฒนาจากการวิจยั ใหม้ กี ารฟอกหนังโดยสารธรรมชาติ
เพ่ือน�ำมาผลิตเป็นสินค้า และก้านกระถินซ่ึงเป็นของเหลือจากการเลี้ยงแพะ
ถกู นำ� มาพัฒนาเปน็ เชอ้ื เพลงิ ชีวมวล เพ่อื ลดต้นทุนในกระบวนการตา่ ง ๆ ทีต่ ้อง
ใชเ้ ชื้อเพลงิ และเปน็ การส่งเสริมการใชพ้ ลังงานสะอาด เปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม
และพัฒนาอาชีพใหม่ให้กับชุมชน นอกจากน้ันมีการพัฒนาให้เกิดเป็นแหล่ง
ท่องเทย่ี วโดยจดั ให้มเี ส้นทางจกั รยานและแหลง่ เรยี นรูจ้ ากต้นทนุ และภูมิปัญญา
ทีม่ อี ย่ใู นพนื้ ที่
การด�ำเนินการท้ังหมดที่กล่าวมานี้ ก็เพื่อวัตถุประสงค์ในการน�ำ
องค์ความรู้และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยตอบโจทย์ของชุมชนและท้องถิ่น
เป็นการท�ำใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการพัฒนาพ้นื ท่ีนำ� มาซึง่ การสรา้ งอาชีพประชาชน
มสี ถานะทางเศรษฐกิจดขี ึน้ ส่งเสรมิ คุณภาพชีวิต และมสี ว่ นแกป้ ญั หาความ
แตกแยกโดยลดความเหลื่อมล�ำ้ ของสงั คมไทยไดใ้ นทสี่ ดุ
การพัฒนาต้นแบบชุมชนเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ : ชุมชนพระปรางค์
อัตลักษณ์ถนนวฒั นธรรมจังหวดั เพชรบุรี ในเขตเทศบาลเมอื ง
โดย อาจารย์ ดร. จันทิมา บรรจงประเสริฐ และคณะ จังหวดั เพชรบุรี
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
เป้าหมายสูงสุดในการวิจัยน้ีจะนําไปสู่การพัฒนาและก�ำหนด
อตั ลักษณถ์ นนวัฒนธรรมในพนื้ ทีอ่ �ำเภอเมือง จงั หวดั เพชรบุรี โดยมุง่ เน้นให้มี
อัตลักษณ์ของตนเอง มคี วามสอดคลอ้ งกับวิถีชีวติ ความเปน็ อยู่ รวมถงึ สภาพ
แวดล้อมโดยรอบและจะมีการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถนําผลการ
วจิ ัยทไ่ี ดไ้ ปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งแพรห่ ลาย อย่างไรกต็ าม เพอ่ื ให้การพฒั นา
และก�ำหนดอัตลักษณ์ถนนวัฒนธรรมเป็นไปได้อย่างย่ังยืนน้ัน ประชาชนใน
พ้ืนที่/ผู้ประกอบการท้องถ่ิน ควรมีทักษะทางการวางแผนท้ังระยะส้ันและ
ระยะยาว รวมถึงการคำ� นึงถงึ ความต้องการของตลาด การสรา้ งความเข้าใจ
ให้กับประชาชนในพื้นที่/ผู้ประกอบการในเรื่องของการตลาดน้ันจึงมีความ
ส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาอัตลักษณ์ถนนวัฒนธรรมโดยคนใน
พ้ืนที่และการวางแผนการตลาดท่ีเหมาะสมเพื่อจะน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ใหก้ บั ทัง้ ผ้ปู ระกอบการเองและแก่ชุมชน
ดงั นั้นโครงการจงึ กำ� หนดเป้าหมายไว้ 3 ประการ คอื 1) เพื่อวิเคราะห์
และค้นหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนบริเวณพื้นที่ถนนวัฒนธรรม
2) เพื่อสร้างต้นแบบชุมชนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ท่ีเน้นด้านการพัฒนาถนน
วัตนธรรมที่มีอัตลักษณ์แบบมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
และ 3) เพือ่ ใหป้ ระชาชน/ผ้ปู ระกอบการในชุมชนสามารถพฒั นารูปแบบถนน
วฒั นธรรมแบบมีส่วนรว่ มทีเ่ หมาะสมกับพื้นที่และมีอตั ลักษณ์ท่ชี ัดเจน
การจดั การข้อมลู ประวตั ิศาสตรเ์ พอ่ื เพม่ิ ศักยภาพ ชมุ ชนพระปรางค์
ในการน�ำไปประยกุ ตใ์ ช้พฒั นาอุตสาหกรรม ในเขตเทศบาลเมือง
การทอ่ งเทย่ี วของอ�ำเภอเมอื งเพชรบรุ ี
จงั หวัดเพชรบุรี
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ชุลีพร วริ ณุ หะ และคณะ
คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
งานวจิ ัยช้นิ น้ีมีจดุ มงุ่ หมาย 2 ประการ ประการแรกคือ การสบื ค้น
ข้อมูลทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือตรวจสอบสถานภาพ
ความรู้ท่ีมีอยู่และสรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ ประการทส่ี องได้แก่ การน�ำองคค์ วามรู้
ที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ชุมชน ซ่งึ ในท่นี ้ีคือ ผ้ทู ีเ่ กี่ยวข้องกับอตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี วของจังหวัดเพชรบรุ ี
ท้งั ภาครฐั และเอกชน โดยนำ� เสนอในลกั ษณะของเอกสารอา้ งองิ (reference)
ทางประวัติศาสตร์ที่ผู้ผลิตหรือผู้บริการด้านการท่องเท่ียวสามารถน�ำไปใช้
อา้ งอิงเพือ่ เพิ่มมลู ค่าให้กับสินค้าและการบรกิ ารไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็ว พื้นท่ี
ในการทำ� งานวิจยั คอื อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มประชากรเป้าหมาย
ได้แก่ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชนทเ่ี กีย่ วข้องกบั อตุ สาหกรรมการท่องเท่ียว
การด�ำเนนิ การในชว่ ง 6 เดือนแรก จะทำ� แบบคู่ขนาน ได้แก่ การส�ำรวจ
พื้นท่ีที่ด�ำเนินการวิจัย เก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว
เพื่อกำ� หนดประเด็นทางประวัติศาสตรท์ ีผ่ ปู้ ระกอบการดา้ นตา่ ง ๆ ต้องการใช้
และส�ำรวจผลงานและข้อมูลประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพ้ืนที่ที่ด�ำเนินการ
วิจัยท่ีมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน พร้อมทั้งเก็บข้อมูลเอกสารช้ันต้นและเอกสาร
ชั้นรอง หลักฐานประวัติศาสตร์จากเอกสารต่างชาติ และหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์อน่ื ๆ อาทิ ภาพถ่าย เปน็ ตน้ สว่ นการดำ� เนนิ งานในระยะ6 เดือน
หลังได้แก่ ประมวลขอ้ มูล จัดระบบใหส้ อดคล้องกบั ประเดน็ ทางประวัติศาสตร์
ที่ก�ำหนดไว้ วิเคราะหส์ ังเคราะห์ข้อมลู และนำ� เสนอองค์ความรใู้ นรปู แบบของ
รายงานการวิจัย และน�ำองค์ความรู้ท่ีได้จากการวิจัยมาประยุกต์ให้อยู่ในรูป
แบบท่ีน�ำไปใช้ได้สะดวก เป็นข้อมูลอ้างอิง สื่อสนับสนุนความรู้ในประเด็น
ต่าง ๆ ท่สี อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว
ผลผลติ ของโครงการได้แก่ 1) รายงานผลการวิจยั และ 2) สื่อใน
รูปแบบของหนังสือคมู่ ือและ e-book
การส่อื สารแบบมีส่วนรว่ มของชมุ ชน ชุมชนพระปรางค์
เพื่อการผลิตวดี โี อสารคดีศลิ ปวฒั นธรรม : ในเขตเทศบาลเมือง
กรณีศกึ ษา ศลิ ปินปูนป้นั สกุลชา่ งเมืองเพชร
จังหวัดเพชรบรุ ี
โดย อาจารย์ ดร. สงั กมา สารวตั ร และคณะ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร มหาวิทยาลยั ศิลปากร
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้มีการผลิตสื่อสะท้อนศิลป
วัฒนธรรมของชุมชนจังหวัดเพชรบุรีโดยใช้กรอบแนวคิดวิชาการการส่ือสาร
แบบการมสี ่วนรว่ ม (Participatory Communication) เป็นการผสมผสาน
แนวคิดการมีส่วนร่วมและแนวคิดการส่ือสารให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน
ทกุ ข้ันตอนของการดําเนนิ โครงการ โดยเร่ิมตงั้ แต่ขนั้ วางแผน ซง่ึ ประชาชนจะ
ตอ้ งระบุปญั หาและความตอ้ งการ ขั้นปฏิบตั ิการ ขั้นประเมนิ ผล ตลอดจนขั้น
บํารุงรักษา เพื่อให้สอดคล้องกับการผลักดัน สนับสนุนเศรษฐกิจสร้างสรรค์
สร้างกระบวนการใหเ้ กิดความตระหนกั ถงึ คุณค่าวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ การทำ� ให้
เกิดความภาคภูมิใจในชุมชน และน�ำไปสู่การสร้างสรรค์งานทั้งเชิงเศรษฐกิจ
และงานดา้ นศิลปะท้องถน่ิ การสร้างงานใหก้ ับชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยืน
คณะผู้วิจัยวางแผนกระบวนการวิจัยโดยเริ่มกระบวนการให้คนใน
ท้องถ่ินจังหวัดเพชรบุรีทั้งบุคลากรครูในโรงเรียน และเยาวชนคนรุ่นใหม่ใน
พื้นที่ศึกษาได้เรียนรู้คุณค่าของส่ิงที่ตัวเองมีผ่านศิลปินแห่งชาติ ครูทองร่วง
เอมโอษฐ์ ที่มีผลงานปนู ปัน้ ในวัดและสถานท่สี �ำคญั ในจงั หวดั เพชรบุรี และ
ระดบั ชาติ โดยใช้กระบวนการการรว่ มผลติ ความรู้ (Co-production of
knowledge) นกั วจิ ยั จะมีบทบาทในฐานะการอ�ำนวยการ การสะท้อนการ
เรียนร้เู ชงิ วชิ าการ การเป็นตัวประสานใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ ใหเ้ กิด
พื้นท่ีทางสงั คม จากนนั้ นกั เรยี นในกลมุ่ เปา้ หมายการวิจยั 5 โรงเรยี น จะผลติ
งานสารคดใี นรปู แบบตา่ งๆ อาทิ สารคดีแบบใหม่ ภาพยนตร์ หนงั สั้น ส่อื
ใหม่ บทความ เปน็ ตน้
เพ่ือให้เกิดความยั่งยืนต่อชุมชน ผลงานทั้งหมดจะถูกน�ำเสนอผ่าน
กระบวนการให้กลุ่มต่างๆ ในจังหวดั เพชรบรุ ี อาทิ โรงเรียน หน่วยงานราชการ
และชุมชนได้ร่วมรับชมชิ้นงานเพ่ือน�ำไปต่อยอดในสายงานของหน่วยงานตัว
เองต่อไป เช่น การบรรจุในหลักสูตรเพชรบุรีศึกษา กิจกรรมสภาเยาวชน
การประกวดงานศิลปวัฒนธรรมประจ�ำปี และบรรจุในแผนการท�ำงานด้าน
วฒั นธรรมของหนว่ ยงานรัฐ
การถา่ ยทอดเรอ่ื งเลา่ ทางประวตั ิศาสตร์ ชมุ ชนพระปรางค์
แบบเกรด็ เลก็ เกร็ดนอ้ ยระหว่างเมอื งเพชรบรุ ี ในเขตเทศบาลเมือง
และราชสำ� นักสยามดว้ ยส่อื ดจิ ทิ ลั
จงั หวดั เพชรบุรี
โดย อาจารย์นลินณฐั ดีสวัสดิ์ และคณะ
วทิ ยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
จงั หวดั เพชรบุรี เปน็ จังหวัดทมี่ ีความสำ�คัญมาต้ังแตอ่ ดตี กาลเปน็ หัว
เมอื งใหญ่ที่เช่อื มต่อระหว่างอาณาจักร ทั้งยงั เป็นเมอื งหนา้ ด่านสำ�คัญในชว่ ง
ท่ีตะวันตกกำ�ลังเริ่มเข้ามาค้าขายในสยามมีชื่อเรียกในกลุ่มชาวตะวันตกว่า
“เมอื งพริบพร”ี ตลอดจนพัฒนาเปน็ เมืองตากอากาศในช่วงสมยั รชั กาลที่ 5
และรชั กาลท่ี 6 โดยมจี ุดเด่นคอื หาดเจา้ สำ�ราญ และ หาดชะอำ� ในส่วน
เขตอำ�เภอเมือง จังหวดั เพชรบรุ ีนน้ั มีชุมชนเล็กชุมชนน้อยที่สว่ นใหญ่ทำ�การ
ค้าขายและได้สรา้ งวัฒนธรรมยอ่ ยของตัวเองผา่ นส่ือสญั ลักษณต์ ่างๆ ดังนน้ั
ศิลปะและวฒั นธรรมของชาวเพชรบรุ ี จึงมคี วามหลากหลายและมเี อกลักษณ์
มีเร่ืองราวทน่ี ่าสนใจและเปน็ ตัวของตัวเอง ในโครงการวิจยั ท่ดี ำ�เนินการศึกษา
วิจัยในพ้ืนท่ีในเขตอำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบุรีนี้ ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นถึงความ
สำ�คัญในการวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการนำ�เสนอกระบวนการถ่ายทอดศิลปะ
และวัฒนธรรมของชาวเพชรบุรี ในเขตอำ�เภอเมือง โดยผ่านเร่ืองเล่าแบบ
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยทางประวัติศาสตร์ระหว่างเมืองเพชรบุรีและราชสำ�นัก
สยามโดยใชก้ ลวธิ แี บบเทคนคิ การเล่าเร่ือง (Story Telling) เพอ่ื จงู ใจให้
คนทวั่ ไปมีความสนใจและอยากคน้ หาเรอื่ งราวประวัติศาสตร์ ณ สถานทีจ่ ริง
ซงึ่ จะก่อให้เกดิ การขยายตวั ทางการท่องเท่ียวในเขตอำ�เภอเมอื งจงั หวัดเพชรบรุ ี
ตามมา โดยผวู้ จิ ัยจะใชก้ ลวิธีแบบเทคนคิ การเล่าเรื่องน้ี (Story Telling) เสนอ
ผ่านการออกแบบสื่อปฏสิ มั พันธ์ (Interactive Design) และสอื่ รว่ มสมัยตา่ ง ๆ
ในรปู แบบของ ส่อื สิง่ พมิ พ์ E-Publishing ซงึ่ จะสามารถขยายมติ ิ ในการรบั
ข้อมูลให้มคี วามหลากหลายมากขึน้ ทงั้ นยี้ งั สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์“เศรษฐกิจ
สรา้ งสรรค์”เพ่ือรกั ษามรดกวฒั นธรรมของประเทศไทยอย่างย่ังยนื อกี ดว้ ย
นวัตกรรมระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรเ์ พอื่ ส่งเสริม ชุมชนพระปรางค์
การท่องเที่ยวและพัฒนาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ : ในเขตเทศบาลเมือง
กรณศี กึ ษา อ.เมือง จ.เพชรบุรี
จงั หวัดเพชรบรุ ี
โดย อาจารยค์ มสนั ครี วี งศว์ ฒั นา และคณะ
คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
จงั หวดั เพชรบรุ เี ปน็ จงั หวดั อกี หนงึ่ แหง่ ทมี่ ที ตี่ งั้ ชมุ ชนขนาดใหญ่รวมทงั้
ประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ทำ�ให้เกิดสถานท่ีท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมที่
ผสานกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนได้เป็นอย่างดีซึ่งจัดเป็นการ
ท่องเท่ียวในรูปแบบหน่ึงท่ีตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวท้ังชาว
ไทยและชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในเขตอำ�เภอเมืองน้ันมีแหล่ง
ท่องเที่ยวที่สำ�คัญหลายแห่งท้ังพระราชวัง วัด และชุมชนด้ังเดิมในพ้ืนท่ีท่ีมี
เอกลักษณเ์ ฉพาะในดา้ นวถิ ชี วี ิต งานวิจัยนวตั กรรมเพือ่ สง่ เสริมการทอ่ งเท่ียว
และพัฒนาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์: กรณีศึกษา อ.เมอื ง จ.เพชรบุรีนี้ จึงม่งุ เนน้
ในเรื่องการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชนท้ังสถานที่ท่องเท่ียว สินค้า รวมท้ัง
บุคลากรที่ดำ�เนินงานของท้องถิ่น รวมทั้งการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ของชุมชนอันจะนำ�ไปสู่การพัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการท่องเที่ยว
และการจัดทำ�แผนการท่องเท่ียวในท้องถิ่นเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนในพ้นื ทีอ่ ย่างยัง่ ยนื ต่อไป
ข้อมลู สถานภาพ ข้นั ตอนการวิจัย ฐานข้อมลู สารสนเทศ
แหล่งท่องเท่ยี ว ภมู ศิ าสตร์
อ.เมือง จ.เพชรบุรี
อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี
ประเมินศักยภาพ จดั ทำ�และปรับปรงุ
แหล่งท่องเท่ียว ฐานขอ้ มลู GIS
อ.เมอื ง จ.เพชรบรุ ี อ.เมอื ง จ.เพชรบุรี
เส้นทางการทอ่ งเที่ยว โปรแกรมประยุกต์ GIS
อ.เมอื ง จ.เพชรบุรี อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี
นวัตกรรมตน้ แบบ
สำ�หรับสนบั สนุนการ
ท่องเทีย่ ว
การพฒั นากระบวนการอบแหง้ กลว้ ยหอมทองระดบั สหกรณ์การเกษตร
อตุ สาหกรรมชมุ ชนในจงั หวดั เพชรบุรดี ้วยเทคโนโลยี บ้านลาด จ�ำกัด
การอบแหง้ พลังงานแสงอาทิตย์ อำ� เภอบา้ นลาด
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ จันทร์ฉาย และคณะ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
จงั หวัดเพชรบรุ ีมีช่ือเสยี งด้านการผลิตกล้วยหอมทองคุณภาพดี โดย
มีพนื้ ที่การปลูกประมาณ 8,900 ไร่ สว่ นใหญอ่ ยู่ในอ�ำเภอบา้ นลาด และอ�ำเภอ
ท่ายางและมผี ลผลิตปีละประมาณ 15,000ตัน เกษตรกรในอ�ำเภอบา้ นลาดได้
รวมตวั กนั จดั ตง้ั เป็นสหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จำ� กดั เพือ่ ส่งเสรมิ การปลกู
และจ�ำหน่ายกล้วยหอมทอง โดยในปัจจุบันได้ท�ำการส่งออกกล้วยหอมทอง
ไปประเทศญ่ีปุน่ ในการคดั เลอื กกล้วยหอมทองเพ่ือส่งออกจะมกี ลว้ ยซ่งึ ไม่ได้
มาตรฐานหรอื เรยี กวา่ กล้วยตกเกรด และตอ้ งคัดออก กล้วยดงั กล่าวจะขาย
ไดร้ าคาต�่ำ ซ่งึ เป็นปัญหาสำ� คญั ของเกษตรกรท่ีปลกู กล้วยหอมทอง คณะนักวจิ ัย
จากภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร จึงไดท้ ำ� การ
ปรับปรุงเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบพาราโบลาโดมเพื่อให้เหมาะ
สมกับการอบแห้งกล้วยหอมทองตกเกรด ภายใต้โครงการศิลปากรพัฒนา
เศรษฐกจิ สร้างสรรคเ์ พอ่ื ความยั่งยนื ของสังคมและชมุ ชน ซงึ่ ได้รบั การสนับสนนุ
จากสำ� นักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกบั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ในการด�ำเนินงานคณะผู้วิจัยได้ปรับปรุงเคร่ืองอบแห้งพลังงานแสง
อาทิตย์แบบพาราโบลาโดมแล้วน�ำไปติดตั้งสาธิตใช้งานที่สหกรณ์การเกษตร
บ้านลาด จ�ำกัด จากนั้นได้ท�ำการฝึกอบรมการใช้งานเคร่ืองอบแห้งและ
กระบวนการผลิตกล้วยหอมทองอบแห้งให้ได้มาตรฐานให้กับเจ้าหน้าท่ีและ
สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรบ้านลาด รวมถึงได้พัฒนาบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ
กล้วยหอมทองอบแห้ง โครงการดงั กลา่ วไดช้ ่วยแก้ปญั หาการผลติ กล้วยหอม
ทองของชุมชนผู้ปลูกกล้วยหอมทองในจังหวดั เพชรบรุ ี และสามารถนำ� ไปใช้
เป็นแบบอย่างของชมุ ชนอืน่ ๆ ต่อไป
การสรา้ งนวตั กรรมทางด้านอาหารเพ่ือส่งเสรมิ สหกรณ์การเกษตร
คุณภาพชวี ติ อยา่ งยงั่ ยนื ในจงั หวดั เพชรบุรี บ้านลาด จ�ำกัด
อำ� เภอบา้ นลาด
โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เอกพนั ธ์ แก้วมณชี ัย และคณะ
คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
อำ� เภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี เป็นแหลง่ ผลติ “กลว้ ยหอมทอง”
ส่งออกประเทศญ่ปี ่นุ ซึง่ ดำ� เนนิ การโดยสหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จำ� กัด
โดยปัจจุบันมีผลผลิตกล้วยหอมทองบางส่วนที่ไม่สามารถส่งออกได้เนื่องจาก
ไมไ่ ดต้ ามเกรดคุณภาพมาตรฐานทกี่ �ำหนด เช่น ผลมขี นาดเลก็ หรอื เปลือก
มีรอยขีดข่วน ซ่ึงมักต้องทิ้งหรือขายภายในประเทศในราคาถูก สหกรณ์
การเกษตรบ้านลาดจึงมีความประสงค์ที่จะน�ำผลผลิตส่วนนี้ท่ียังมีเน้ือกล้วย
ขา้ งในผลคณุ ภาพดอี ยู่ ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพือ่ เพิม่ มลู ค่าให้สูงขน้ึ
ซึ่งจะชว่ ยลดการสูญเสยี และเพมิ่ รายได้ใหก้ ับชุมชน นอกจากนอ้ี �ำเภอบา้ นลาด
จังหวัดเพชรบุรียังเป็นแหล่งปลูก “ตาลโตนด” ท่ีส�ำคัญของประเทศ โดย
จังหวัดเพชรบุรีได้วางยุทธศาสตร์ส่งเสริมการวิจัยเก่ียวกับการใช้ประโยชน์
การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากตาลโตนดให้หลากหลายโดยใช้
นวัตกรรมใหม่ ๆ เพ่ือเพิ่มมูลค่าให้กับตาลโตนดและจ�ำหน่ายเป็นสินค้าเพื่อ
การท่องเทย่ี วของจังหวัดเพชรบุรี
ดังน้นั โครงการนีจ้ งึ ไดท้ ำ� การวิจัยและพัฒนาทง้ั สูตรกระบวนการผลิต
และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์อาหารนวัตกรรมจากกล้วยหอมทองและตาลโตนด
ซึ่งได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับบุคลากรของสหกรณ์การเกษตรบ้านลาด
จำ� กัด ไปแลว้ ไดแ้ ก่ แยมกล้วยหอมทอง เฟรนชฟ์ รายด์กลว้ ยหอมทอง แปง้
กล้วยหอมทอง กลว้ ยหอมทองทอดกรอบปรงุ รส กลว้ ยหอมทองบานานา่ มกิ ซ์
กล้วยหอมทองอบแห้งเคลือบชอ็ คโกแลต ไอศกรีมตาลโตนด ไซรปั ตาลโตนด
และน้�ำส้มสายชูหมักตาลโตนด โดยผลิตภัณฑ์กล้วยหอมทองและตาลโตนด
ดังกล่าวสามารถน�ำไปจ�ำหน่ายภายในร้านค้าจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์
การเกษตรบ้านลาดที่มลี ักษณะเป็น farmer market
การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค:์ การสง่ เสริม สหกรณก์ ารเกษตร
การท่องเท่ยี วเชิงเกษตรนิเวศการเรยี นร้วู ถิ ชี ีวติ บา้ นลาด จำ� กัด
เกษตรไทย เพอ่ื ชมุ ชนยั่งยืน อ�ำเภอบ้านลาด
กรณีศกึ ษาอ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบรุ ี
โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สมชาย ส�ำเนยี งงาม และคณะ
คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
โครงการนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ รวบรวมข้อมูล สำ� รวจ และประเมิน
ศักยภาพของแหล่งท่องเท่ียว และเส้นทางการท่องเท่ียวเชิงเกษตรนิเวศการ
เรียนรู้วิถีชีวิตเกษตรไทย พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของ
พ้ืนที่อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี พัฒนาสื่อสนับสนุนการท่องเท่ียวเชิง
เกษตรนิเวศ การเรียนรู้วิถีชีวิตเกษตรไทย และพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ท้องถ่ินให้มีศักยภาพต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศการเรียนรู้
วิถีชีวิตเกษตรไทย โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบ
เจาะลกึ
ผลการศึกษาการประเมนิ ศักยภาพของแหลง่ ท่องเท่ยี วพบวา่ อ�ำเภอ
บ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีมีศักยภาพท่ีจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ
การเรียนรู้วิถีชีวิตเกษตรไทย ท้ังศักยภาพทางด้านการบริหารจัดการ การ
รองรับการใหบ้ รกิ าร และความดึงดดู ใจ ของแหล่งทอ่ งเทยี่ ว จากนั้นโครงการ
ได้พฒั นาเสน้ ทางท่องเทีย่ ว 4 เส้นทาง โดยใช้แหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตรนเิ วศ
การเรียนรู้วถิ ชี วี ติ เกษตรไทยในพ้ืนทจ่ี �ำนวน 10 แหง่ และไดพ้ ัฒนาระบบฐาน
ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของเส้นทางและแหล่งท่องเท่ียวดังกล่าว และ
แปลขอ้ มูลทส่ี ำ� คัญเปน็ ภาษาองั กฤษ ภาษาจนี และภาษาญ่ปี ุน่ รวมท้ังพฒั นา
สือ่ สนับสนนุ การทอ่ งเทีย่ ว ได้แก่ หนังสน้ั และนิทรรศการภาพถา่ ย “บ้านลาด
บ้านเรา” นอกจากนี้ยังจัดการอบรมบุคลากรในท้องถ่ินให้มีศักยภาพในการ
จดั การการท่องเที่ยวและดแู ลระบบฐานข้อมูลเพอื่ ความย่ังยนื อีกด้วย
การพฒั นาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ : การฟน้ื ส�ำนึก สหกรณ์การเกษตร
ทอ้ งถ่นิ ด้วยกระบวนการทางศลิ ปะการแสดง บา้ นลาด จำ� กัด
รว่ มสมยั เพอ่ื ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน อ�ำเภอบ้านลาด
ในการจดั การการทอ่ งเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม :
พน้ื ที่ศกึ ษา วดั ท่าไชยศิริ ต.สมอพลือ
อ.บา้ นลาด จ.เพชรบรุ ี
โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารยม์ จุ รนิ ทร์ อทิ ธิพงษ์ และคณะ
คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
โครงการวิจัยมงุ่ เป้าตอบสนองความต้องการพัฒนาประเทศ ปี 2558
ประเภทกลมุ่ เรือ่ งนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน เนน้ การทำ� งานรว่ มกับชุนชน
ต้ังแต่กระบวนการสืบค้นข้อมูล การจัดอบรมศิลปะการแสดงร่วมสมัยเพื่อ
เป็นการพัฒนาเพ่ิมพูนศักยภาพในการสร้างสรรค์ทางศิลปะการแสดงแก่เด็ก
และเยาวชนที่สนใจในชมุ ชนรว่ มกับนกั ศกึ ษาคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร จนน�ำไปสู่กระบวนการสร้างงานศิลปะการแสดงร่วมสมัยและการ
น�ำเสนอผลงานส่สู าธารณชน เพื่อบอกเลา่ เรื่องราวทางประวตั ศิ าสตร์อนั ทรง
คณุ คา่ แหง่ สายน�้ำเพชรบรุ ี และน�ำไปส่กู ารท่องเทย่ี วเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่
จากการเก็บข้อมูลในขั้นปฐมภูมิและจากการสัมภาษณ์ปราชญ์
ชมุ ชน พบวา่ อ�ำเภอบา้ นลาดมีการจดั การเรยี นการสอนศลิ ปะการแสดงกลอง
ยาวในระดบั ประถมศึกษา ซง่ึ ถือเป็นการแสดงดัง้ เดมิ ท่โี ดดเดน่ และมีความ
พยายามในการฟ้ืนฟกู ารรำ� พนื้ บ้านทเ่ี ป็นอตั ลกั ษณ์ของชมุ ชน
ทางทีมวิจัยได้น�ำอัตลักษณ์ของชุมชนดังกล่าว มาเป็นแกนหลักใน
การพัฒนาและอบรมศิลปะการแสดงร่วมสมัยให้แก่โรงเรียนวัดม่วงงาม
โรงเรียนวดั โพธ์ิลอยและศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
อ�ำเภอบ้านลาด (กศน.) โดยได้เชิญนายมานพ มจี ำ� รัส ศลิ ปนิ ศิลปาธร สาขา
ศิลปะการแสดงร่วมสมยั ประจำ� ปี พ.ศ. 2548 จากสำ� นกั งานศิลปวฒั นธรรม
ร่วมสมัย กระทรวงวฒั นธรรม มาเปน็ วทิ ยากรหลักในการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ
เพื่อให้เกิดกระบวนการปรับพ้ืนฐานและเรียนรู้ร่วมกันก่อนจะน�ำไปสู่การ
สรา้ งสรรค์ผลงานทางศิลปะการแสดงรว่ มสมัยตอ่ ไป
รปู แบบการบริหารจัดการความรู้ภูมิปัญญา สหกรณก์ ารเกษตร
ทอ้ งถิ่นในสถานศึกษาเพ่อื พัฒนาเศรษฐกจิ บา้ นลาด จำ� กัด
สร้างสรรค์และความย่งั ยืนของชมุ ชน อ�ำเภอบา้ นลาด
โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สายสดุ า เตียเจริญ และคณะ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
เปน็ โครงการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed method) เนน้ การวิจัยเชงิ
ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม (Participatory Action Research) ดำ� เนินการวจิ ัย
โดยให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู นกั เรียน ผู้ปกครอง ผแู้ ทนชมุ ชน และปราชญ์
ชาวบ้าน มีส่วนร่วมในการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ภูมิปัญญา
ท้องถ่ินและร่วมสร้างหลักสูตรท้องถ่ินในสถานศึกษา โดยมุ่งหวังให้นักเรียน
ได้เรียนรสู้ ืบสานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินของตน กอ่ ให้เกิดความรกั ความหวงแหน
และความภาคภูมิใจตอ่ บ้านเกดิ ของตนเอง น�ำไปส่กู ารสบื ทอดทนุ ปญั ญาของ
ท้องถิ่นจนสามารถพัฒนาและประยุกต์ทุนปัญญานั้นสร้างเป็นอาชีพหรือผู้
ประกอบการชุมชน ก่อใหเ้ กิดรายไดท้ ีส่ รา้ งสรรคใ์ นทอ้ งถิ่นและเกดิ ความเข้ม
แขง็ และยัง่ ยนื ของชุมชน
การด�ำเนินงานโครงการอยู่ในขั้นการด�ำเนินงานข้ันตอนที่ 1 คือ
การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ศึกษาบริบทของโรงเรียน
บา้ นลาดวทิ ยา ชุมชนอำ� เภอบ้านลาด จงั หวดั เพชรบรุ ี พบวา่ โรงเรยี นยังไม่มี
การใช้หลักสูตรท้องถิ่น ใช้การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถ่ินบ้างในรายวิชา
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และได้ทำ� การศกึ ษาแนวปฏิบัติ
ทดี่ ดี า้ นการจดั ทำ� หลกั สตู รทอ้ งถนิ่ ในโรงเรยี นรจุ ริ พฒั น์ราชบรุ ีเพอื่ นำ� มาจดั ทำ�
ร่างหลักสูตรท้องถ่ิน และวางแผนการจัดท�ำหลักสูตรท้องถ่ินให้กับโรงเรียน
บ้านลาดวทิ ยาตอ่ ไป
การพัฒนาชุมชนผ้เู ล้ียงแพะบา้ นห้วยทรายใต้ หมู่บ้านชาวไทยมุสลมิ
ส่กู ารเป็นวิสาหกิจชมุ ชนการฟอกหนงั แพะ ต�ำบลสามพระยา
อำ� เภอชะอ�ำ
โดย อาจารย์ ดร. กฤตยิ า เลิศชุณหะเกียรติ และคณะ
คณะสตั วศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
ชุมชนมสุ ลมิ บ้านหว้ ยทรายใต้เปน็ ชมุ ชนมุสลิมขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพด้านปศสุ ัตว์ มีการเลย้ี งแพะเปน็ จ�ำนวนมาก โดยสามารถแบ่ง
ออกไดเ้ ป็น 2 พนื้ ทห่ี ลกั ๆ ไดแ้ ก่ พน้ื ทหี่ มู่ 1 และหมู่ 8 ซ่งึ ตัง้ อยูใ่ นตำ� บล
สามพระยา อำ� เภอชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบรุ ี จากการสำ� รวจปริมาณการเล้ยี ง
พบว่ามแี พะเน้อื (5,821 ตัว: 86.73%) และแพะนม (891 ตวั : 13.27%)
หนังแพะในชุมชนมุสลิมบ้านห้วยทรายใต้มีปริมาณที่ค่อนข้างสม่�ำเสมอ
ตลอดทัง้ ปี ประมาณปีละ 100 ผนื แต่ชมุ ชนไมไ่ ดม้ ีการใชป้ ระโยชน์จากหนัง
แพะ ซง่ึ กระบวนการเกบ็ รกั ษาหรอื การฟอกหนังจะเปน็ ผลิตภณั ฑท์ ่สี ามารถ
น�ำไปต่อยอดเพ่ือน�ำไปสู่กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์หน่ึงต�ำบลหน่ึง
ผลิตภัณฑ์ของชุมชนได้ คณะวิจัยได้ท�ำการศึกษาวิธีการฟอกหนังอย่างง่าย
เพอ่ื เป็นการเตรยี มหนงั แพะ ยืดอายุการเกบ็ รกั ษาหนังและการน�ำใชป้ ระโยชน์
ของหนงั ท่ไี ด้ โดยอาศยั โดยส่ิงเหลอื ทิง้ ได้แก่ กากกาแฟสด ก้านเครือกลว้ ย
หอมทอง เปลือกสบั ปะรด ที่เป็นสงิ่ เหลอื ทิ้งทางการเกษตรทีม่ ปี ริมาณมากมา
ใชใ้ นกระบวนการฟอกหนงั แพะ จากนนั้ ตรวจสอบคุณสมบัตทิ างกายภาพของ
หนังแพะท่ีได้จากกระบวนการวิจัยในห้องปฏิบัติการและหนังท่ีฟอกในระดับ
โรงงานอุตสาหกรรม เม่ือสิ้นสุดกระบวนการศึกษาในห้องปฏิบัติการแล้วจึง
น�ำถ่ายทอดสูช่ มุ ชน รวมทงั้ วิเคราะหต์ น้ ทุนการผลติ ประเมนิ ความพงึ พอใจ
และความเปน็ ไปได้ของชมุ ชนในการน�ำกระบวนการไปใช้จรงิ
ผลการวจิ ัยนำ� ไปสูก่ ารใช้ประโยชน์ ไดแ้ ก่
1. การเพิ่มศักยภาพในการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ท่ีมีอัตลักษณ์ของ
ชุมชนโดยสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมจากสัตวเ์ ศรษฐกิจทีไ่ ด้รบั ความสนใจเพมิ่ สูงขึ้น
2. สนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การสร้างมูลค่าเพ่ิมของสิ่ง
เหลือทิ้งเปลี่ยนขยะของครัวเรือนให้เป็นสิ่งที่มีมูลค่าและสร้างรายได้เพ่ิมให้
ชมุ ชน นอกจากนย้ี ังสง่ เสรมิ วัฒนธรรมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้คุ้ม
ค่า ลดความสญู เปล่าเหลือทิ้งสกู่ ารผลติ ทไ่ี ดม้ าตรฐาน
3. กระตุ้นให้ชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ
หน่วยงานต่าง ๆ มากขนึ้
โครงการส่งเสรมิ เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน หมบู่ ้านชาวไทยมสุ ลมิ
ในการผลติ เชอ้ื เพลงิ ชวี มวลทางเลอื กสำ� หรบั ชมุ ชน ตำ� บลสามพระยา
ย่ังยนื เพ่อื ทดแทนกา๊ ซปิโตรเลยี มเหลว (LPG) อำ� เภอชะอ�ำ
โดย อาจารย์ ดร. วรี ะนุช อินทะกันฑ์ และคณะ
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
โครงการวิจยั นไ้ี ด้ด�ำเนินการศกึ ษา พบวา่ เศษกระถินทเี่ หลอื จากการ
เลีย้ งแพะในพน้ื ทีช่ มุ ชนชาวไทยมุสลิม ตำ� บลสามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัด
เพชรบุรี มแี นวโน้มทจ่ี ะนำ� มาพัฒนาผลิตเป็นเชอ้ื เพลงิ อัดแทง่ ตะเกียบ เพื่อ
ผลติ ความร้อนแทนกา๊ ซปโิ ตรเลียมเหลว (LPG) ได้ โดยคุณสมบตั ิเบ้อื งตน้
ผ่านมาตรฐาน PFI Standard ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเช้ือเพลิงชีวมวลอัดแท่ง
ตะเกียบที่ได้จากเศษกระถินสามารถขายในตลาดอุตสาหกรรมเพื่อใช้เป็นเช้ือ
เพลงิ ผลิตความรอ้ นได้ ถือว่าเป็นทางเลอื กหนงึ่ ในการสร้างอาชพี เสริมให้แก่
คนในชุมชน นอกจากการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งตะเกียบจากเศษกระถินเหลือ
ทิง้ แล้ว นกั วจิ ยั ได้พัฒนาเตาแคมปง้ิ ทีใ่ ชเ้ ช้อื เพลงิ ชวี มวลทไี่ ดจ้ ากเศษกระถนิ
ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรส�ำหรับสร้างความร้อน เพื่อให้แสงสว่าง
ยามคำ่� คืน รวมท้ังประกอบอาหารประเภทต้ม ปิ้ง และย่าง ในแหล่งทอ่ ง
เท่ยี วตา่ ง ๆ โดยนำ� เศษกระถินมาลดขนาดอนุภาคใหม้ ีขนาดที่เลก็ ประมาณ 5
มลิ ลเิ มตร จากนัน้ น�ำมาบรรจุลงในเตาแคมป้ิงด้วยวธิ ีการอดั ขนึ้ รปู ซึ่งการใช้
เชื้อเพลิงชีวมวลทางการเกษตรเหล่าน้ีสามารถช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและเป็น
เชอื้ เพลิงที่เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
การพฒั นาแนวทางบรหิ ารจดั การชุมชนแบบมี หมูบ่ ้านชาวไทยมุสลิม
สว่ นร่วม เพื่อรองรบั การจดั การทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตร ต�ำบลสามพระยา
แบบมอี ัตลักษณ์ในพ้ืนทช่ี มุ ชนหม่บู า้ นมสุ ลิม อำ� เภอชะอำ�
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พทิ กั ษ์ ศิรวิ งศ์ และคณะ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
จากการศึกษาสภาพท่ัวไปของหมู่บ้านมุสลิมมีความเป็นเอกลักษณ์
ทางด้านศาสนาและวิถีชีวิต ซ่ึงเป็นชุมชนท่ียึดอาชีพเกษตรกรรมและอาชีพ
ปศสุ ัตวเ์ ปน็ หลัก โดยใช้พืน้ ท่เี กษตรและปศุสตั วเ์ ดียวกบั พนื้ ทีอ่ ยูอ่ าศยั ท่ีมีการ
ท�ำการเกษตรโดยการเลี้ยงแพะ เล้ียงโค และมีระบบฟาร์ม โดยเห็นว่ามี
ลักษณะของชุมชนการเกษตรที่สมบูรณ์ อันมีโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออ�ำนวย
การท่องเท่ียวเชิงเกษตรเป็นอย่างดี จึงเกิดเป็นแนวคิดการพัฒนาเส้นทาง
ท่องเท่ียวเชิงเกษตรแบบมีอัตลักษณ์ในพื้นท่ีชุมชนหมู่บ้านมุสลิมเพ่ือให้การ
ด�ำเนินงานการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรประสบความส�ำเร็จ ได้
มีแนวทางการบริหารจัดการเพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมเพ่ือจัดการแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรตามอัตลักษณ์ท้องถิ่นชุมชนมุสลิมด้วยการถ่ายทอด
ข้อมูลเก่ียวกับการด�ำเนินงานวิจัยผ่านผู้น�ำชุมชน จากนั้นจึงให้ผู้น�ำชุมชนน�ำ
ข้อมูลเก่ียวกับการด�ำเนินงานวิจัยไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในหมู่บ้าน
ตลอดจนการจัดกิจกรรมสร้างสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน ส�ำหรับการ
พัฒนาระบบสารสนเทศของศูนย์บริหารการจัดการได้มีแนวทางในการท�ำป้าย
สอื่ ความหมายเพอื่ เปน็ ส่อื การเรยี นรู้ตามจุดต่าง ๆ การท�ำ Infographic QR
code การจัดท�ำ Website หรือ Page facebook ของชุมชน ไวส้ ำ� หรบั บริการ
ข้อมลู ด้านการท่องเท่ยี ว และเพื่อก่อให้เกิดความย่ังยืนและแกไ้ ขปญั หาความ
ยากจนให้กับประชาชนได้มีการพัฒนาแผนธุรกิจส�ำหรับบริหารจัดการแหล่ง
ทอ่ งเทีย่ วเชิงเกษตรแบบมีอตั ลกั ษณ์ในพื้นท่ีชุมชนหมูบ่ ้านมุสลิม ดว้ ยการจัด
ต้งั วิสาหกิจชมุ ชนเพ่ือการทอ่ งเท่ียวเชิงอัตลักษณ์
การพฒั นาอาชีพชุมชนตามอตั ลักษณห์ มู่บา้ น หมบู่ า้ นชาวไทยมสุ ลิม
มสุ ลิมด้วยศูนย์บริหารจดั การบ้านตน้ แบบ ต�ำบลสามพระยา
เศรษฐกิจพอเพียง อำ� เภอชะอ�ำ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธรี ะวัฒน์ จนั ทกึ และคณะ
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาอาชีพ
ตามอตั ลักษณห์ มู่บา้ นมุสลมิ เพือ่ เพ่มิ ศกั ยภาพชุมชนดว้ ยวิถเี ศรษฐกจิ พอเพียง
พัฒนาโมเดลบ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้และศูนย์
บริหารจัดการอาชีพตามอัตลักษณ์หมู่บ้านมุสลิมท่ีมีการสอดแทรกภูมิปัญญา
และอัตลักษณ์ของวิธีการกักเก็บน�้ำในบ่อให้คงอยู่และใช้ได้อย่างยาวนาน
และเพื่อสังเคราะห์แนวทางการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาความยากจนด้วย
การพัฒนาอาชีพ
ผลการศกึ ษาตาม Model ท่ีตัง้ เป้าหมายไว้
รปู แบบการพัฒนาอาชีพ
ตามอตั ลักษณ์หมู่บ้านมุสลมิ
(ในอดตี ทีม่ นี ้ำ� ใชอ้ ย่างอดุ มสมบรู ณ์)
รปู แบบการพฒั นาอาชพี
ตามอตั ลักษณห์ ม่บู า้ นมุสลมิ
(ในปจั จบุ ันทขี่ าดแคลนน�ำ้ )
การพฒั นาอาชีพ
ตามอัตลักษณ์หมบู่ ้านมุสลมิ
(ในอนาคตที่เปน็ การกักเกบ็ น�้ำในบอ่
ใหค้ งอยแู่ ละใช้ได้อยา่ งยาวนาน
เพ่ือแกไ้ ขปญั หาความยากจน)
การจัดการความรูเ้ พอ่ื ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ หม่บู ้านชาวไทยมสุ ลิม
สร้างสรรคข์ องชมุ ชน ต�ำบลสามพระยา
อำ� เภอชะอ�ำ
โดย อาจารย์ ดร. จติ ตรา มาคะผล และคณะ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
โครงการวิจยั “การจดั การความรู้เพื่อส่งเสรมิ เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์
ของชมุ ชน” มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ สืบคน้ ความรขู้ องชุมชนในด้านสภาพภมู ศิ าสตร์
ประวตั ชิ มุ ชนความเชอื่ และศาสนาวัฒนธรรมสังคมและเศรษฐกิจจากหลกั ฐาน
เอกสาร และผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น น�ำข้อมูลความรู้จากการสืบค้นมา
ประมวลเป็นสารสนเทศ ในรปู แบบทง่ี ่ายตอ่ การเรียนรู้ และน�ำไปใชป้ ระโยชน์
เพือ่ สง่ เสรมิ เศรษฐกิจเชิงสรา้ งสรรค์ พ้นื ทีศ่ กึ ษา 2 แห่ง คือ 1) ชมุ ชนไทย
มสุ ลิม หมูท่ ่ี 8 ต�ำบลสามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบรุ ี และ 2) อ�ำเภอ
บา้ นลาด จงั หวดั เพชรบุรี การจัดเกบ็ ข้อมลู ภาคสนาม ใช้การสงั เกต สมั ภาษณ์
และสนทนากลุม่ กบั ผเู้ กยี่ วข้องในชมุ ชน
ผลการดำ� เนนิ งาน
1. ชุมชนไทยมุสลมิ ตำ� บลสามพระยา ไดค้ วามรู้ของชุมชน 4 ชดุ
24 เร่ือง ดงั นี้ ชุดท่ี 1 บ้านหว้ ยทรายใต้ 8 เร่อื ง คอื ประวัติหมู่บ้าน อ่าง
เกบ็ นำ�้ มัสยิดและศูนย์อบรมศาสนา ศาลาสมานฉนั ท์ ศาลาอเนกประสงค์
และศูนย์เจยี ระไนพลอย ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก ประปาหมูบ่ ้าน สถานกี าชาด ชุด
ที่ 2 โครงการพระราชดำ� ริ 6 เรื่อง คือ งานสง่ เสรมิ การเกษตร งานปศุสตั ว์
งานประมง งานเพาะเลีย้ งและขยายพนั ธุก์ บ งานอนรุ ักษป์ ่า (ต้นไมท้ รงปลูก)
และงานอนุรกั ษด์ นิ (แปลงทรงงานในหลวง) ชุดที่ 3 อาชพี ในชุมชน 6 เร่อื ง
คือ แพะนม แพะขนุ โคนม โคขนุ ศนู ยร์ วบรวมนำ้� นมดิบ เรอื นเกษตรใจใส
และชดุ ท่ี 4 ภมู ิปญั ญาชมุ ชนหว้ ยทรายใต้ 4 เรือ่ ง คือ อาหารขนม เครอ่ื งด่มื
ยาสมุนไพร และศลิ ปหัตถกรรม
2. อำ� เภอบา้ นลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้องค์ความร้ดู า้ นการเกษตรท่ี
โดดเด่นของอ�ำเภอบ้านลาด จ�ำนวน 4 เรือ่ ง ได้แก่ “ละมุดหวาน น�ำ้ ตาลเด็ด
ชมพเู่ พชร พเิ ศษข้าว”
คณะวจิ ยั ออกแบบกิจกรรมจัดการความร้ฯู ในหลายลกั ษณะ คอื 1)
แผนท่คี วามรู้ 2) ป้ายส่อื ความหมาย 3) เอกสารประชาสัมพันธ์ 4) หนังสือ
เลม่ เลก็ 5) ppt presentation และ 6) เผยแพร่บนเว็บไซต์
การพฒั นาชมุ ชนเปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ หมู่บ้านชาวไทยมุสลมิ
ด้านวถิ ชี ีวิตปลอดพลังงานปิโตรเลยี ม ตำ� บลสามพระยา
อ�ำเภอชะอ�ำ
โดย อาจารย์ ดร. ณัฐ ธชั ยะพงษ์ และคณะ
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม
มหาวิทยาลยั ศิลปากร
โครงการนี้มีความสนใจเก่ียวกับการพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งท่อง
เทย่ี วเชิงสร้างสรรค์ โดยมุง่ เนน้ การพัฒนาชมุ ชนทเี่ ปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วให้เป็น
แหล่งท่องเทีย่ วเชิงเรยี นรู้เกีย่ วกับพลงั งานทดแทนในรูปแบบตา่ ง ๆ ทเี่ หมาะสม
กับการด�ำรงชีวิตในสังคมท่ีปลอดปิโตรเลียม และนอกจากน้ีแหล่งเรียนรู้
ดังกล่าวยังก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและ
การใช้พลังงานทดแทน ท้ังยังส่งเสริมให้นักท่องเท่ียวและคนภายในชุมชน
เกิดจิตส�ำนึกท่ีดีในการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานทดแทน รวมถึง
การพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาเพื่อ
เรียนรกู้ ารใชช้ ีวติ ในสงั คมที่ปลอดปิโตรเลียม ทั้งแบบแวะเทีย่ วและแบบมาอยู่
เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตร่วมกับคนในชุมชน โดยขณะนี้ทางทีมวิจัยได้วางแผนท่ีจะ
พัฒนาชุมชนโดยจะท�ำการปรับปรุงบ้านร้างภายในพื้นท่ีศูนย์ศึกษาการพัฒนา
บ้านห้วยทรายใต้ หมู่ท่ี8 ต�ำบลสามพระยา อำ� เภอชะอำ� จังหวัดเพชรบรุ ี ให้เปน็
บ้านพักตากอากาศเชิงนิทรรศการ โดยภายในบ้านพักนี้จะผนวกเอา
เทคโนโลยีพลังงานทดแทนตา่ ง ๆ อนั ไดแ้ ก่ การใชเ้ ตาชวี มวลในการประกอบ
อาหาร การผลิตกระแสไฟฟา้ จากแรงโนม้ ถว่ งและความรอ้ น เป็นต้น เพ่อื ให้
นักท่องเท่ียวที่มาพักหรือแวะเวียนมาเที่ยวชมเกิดความรู้ความเข้าใจและมี
ประสบการณ์จริงในการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ด้านวิถีชีวิตปลอดพลังงาน
ปิโตรเลยี ม และเป็นการเพิม่ รายได้ใหแ้ กค่ นในชมุ ชนอีกด้วย