The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-09-03 03:37:57

Research Memo

Research Memo

ภายใต้กรอบโจทย์
“มหาวทิ ยาลยั กบั การพัฒนากลไก
เพอ่ื ดดู ซบั เศรษฐกจิ ภายในพื้นท”ี่

1



ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี
(Corrado Feroci)

ผกู้ ่อตง้ั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
และ บดิ าแห่งศลิ ปะรว่ มสมัยของไทย



ศิลปากร
เป็นมหาวิทยาลยั ชน้ั นำ�

แห่งการสรา้ งสรรค์

Silpakorn University is a Leading
Creative University

มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นสถาบัน ได้รับการยกฐานะข้ึนเป็น มหาวิทยาลัย
การศึกษาระดับอุดมศึกษา เดิมคือโรงเรียน ศิลปากร เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486
ประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร เปิด คณะจิตรกรรมและประติมากรรม ได้รับ
สอนวิชาจิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ การจัดตั้งข้ึนเป็นคณะวิชาแรก (ปัจจุบันคือ
ข้าราชการและนักเรียนในสมัยนั้นโดยไม่เก็บ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์)
ค่าเล่าเรียน ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (เดิม ในปี พ.ศ. 2498 จัดต้ังคณะสถาปัตยกรรม
ช่ือ Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียนซึ่งเดิน ไทย (ซ่ึงต่อมาได้ปรับหลักสูตรและเปลี่ยน
ทางมารับราชการในประเทศไทยในรัชสมัย ช่ือเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์) และ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว คณะโบราณคดี หลังจากนั้นได้จัดต้ังคณะ
รชั กาลท่ี 6 เป็นผู้กอ่ ตั้งโรงเรยี นแห่งน้ขี ึน้ และ มัณฑนศลิ ป์ ข้นึ ในปีตอ่ มา
ได้เจริญเติบโตเป็นลำ�ดับเร่ือยมา จนกระท่ัง

5

ปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยศิลปากร
มีนโยบายท่ีจะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชา ได้ขยายเขตการศึกษาไปจัดตั้งวิทยาเขต
ท่ีหลากหลายข้ึน แต่เนื่องจากบริเวณ แห่งใหม่ท่ีจังหวัดเพชรบุรี เพ่ือกระจาย
พื้นท่ีในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถ การศึกษาไปสู่ภูมิภาค ใช้ชื่อว่า “วิทยาเขต
จะขยายพ้ืนท่ีออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการ สารสนเทศเพชรบุรี” จัดต้ังคณะสัตวศาสตร์
ศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด และเทคโนโลยีการเกษตร ในปี พ.ศ. 2544
นครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. คณะวิทยาการจัดการ ในปี พ.ศ. 2545
2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำ�ดับ ในปี พ.ศ. 2546 และวิทยาลัยนานาชาติ ในปี
หลังจากน้ัน จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. พ.ศ. 2546 มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขยาย
2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พ.ศ. งานในระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2515 โดยการ
2534 (ปัจจุบันคือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยขึ้น เพ่ือรับผิดชอบใน
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) และจัดต้ังคณะ การด�ำ เนนิ การ
ดุริยางคศาสตร์ขึ้น เม่ือ พ.ศ. 2542 เพ่ือให้
เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความสมบูรณ์ทางด้าน เวบ็ ไซต์ : www.su.ac.th
ศิลปะมากยิง่ ขน้ึ

6

7

8

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย

Food Safety Market Development
Greenery Market @ SU

ภายใตก้ รอบโจทย์วิจัย “มหาวทิ ยาลัยกบั การพัฒนากลไกเพ่อื ดูดซบั เศรษฐกจิ ภายในพ้นื ที”่
สนบั สนุนทุนวิจัยโดย :

สำ�นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชยั ชาญ ถาวรเวช ทีป่ รึกษาโครงการ
2. ศาสตราจารย์ ดร.คณติ เขยี ววิชัย อธิการบดมี หาวิทยาลยั ศิลปากร
3. อาจารย์ ดร.เกรยี งไกร เกิดศิร ิ รองอธิการบดี พระราชวงั สนามจันทร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
4. นายเฉลมิ นนั ทารยี ะวฒั น ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
กลุม่ สง่ เสริมและพฒั นาเกษตรกร ส�ำ นกั งานเกษตร
5. นางสาวจงกล พารา จังหวัดนครปฐม กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
6. นายบรพิ นั ธ์ คงเผ่า บริษัท คิวพลัส คอนเซพท์ จ�ำ กดั
7. นายธนบรู ณ์ สมบูรณ์ บริษทั ครีเอทีฟ มฟู จำ�กดั
8. นางนารี ปอ้ มงาม เกษตรกร จังหวัดนครปฐม

หัวหน้าโครงการ
รองศาสตราจารย์ ดร.นันทนติ ย์ วานชิ าชีวะ
รองอธิการบดฝี า่ ยวิจยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

1. รองศาสตราจารยป์ ระภากร สุคนธมณี นกั วิจยั
2. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภิเศก ปั้นสุวรรณ คณะมัณฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
3. อาจารย์ ดร.กัลยา เทียนวงศ์ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
4. อาจารย์ ดร.ณิชนนั ทน์ เทพศภุ รังษิกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

9

จังหวัดนครปฐม ถือเป็นแหล่งผลิต เท่าท่ีควร มีผู้จำ�หน่ายสินค้าจำ�นวน 19 ราย
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหารท่ีสำ�คัญ และมีผู้บริโภคเข้ามาใช้บริการตลาดดังกล่าว
ของประเทศไทย โดยมีพืชผักเป็นสินค้า เฉลี่ยเพียง 200 - 300 คน สร้างรายได้
ที่สำ�คัญ เช่น ข้าวโพดฝักอ่อน กระเจี๊ยบเขียว ประมาณ 1,000 บาทต่อผู้ค้าหน่ึงรายเท่าน้ัน
พริกขหี้ นใู หญ่ หน่อไมฝ้ รง่ั ผกั คะน้า แตงกวา ซ่ึงปัญหาดังกล่าวอาจเกิดจากหลายสาเหตุ
ถั่วฝักยาว ผักกวางตุ้ง ผักค่ืนช่าย ผักชี ท้ังการพัฒนาระบบและพื้นท่ีจัดจำ�หน่าย
ผักบุ้งจีน ผักบุ้ง ผักกระเฉด กระชาย และ การรับรองมาตรฐาน การพัฒนาและเพ่ิม
ต้นหอม และมีผลไม้ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด มูลค่าผลิตภัณฑ์ และการตลาด รวมทั้งการ
เช่น มะพร้าวน้ำ�หอม ส้มโอ มะม่วง ฝร่ัง ประชาสัมพันธส์ มยั ใหมใ่ หแ้ กผ่ บู้ ริโภค
ชมพู่ กล้วยน้ำ�ว้า และกล้วยหอม โดยมีพื้นที่ ดังนั้น การพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย
เพาะปลูกผักและผลไม้กว่า 75,579 ไร่ และ ในมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงมีความสำ�คัญท่ี
73,369 ไร่ ตามลำ�ดับ ท้ังน้ีจังหวัดนครปฐม จะช่วยส่งเสริมให้ผู้บริโภคทั้งบุคคลภายใน
มีวิสัยทัศน์ที่ต้องการเป็นแหล่งผลิตสินค้า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศิ ล ป า ก ร แ ล ะ บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป
เกษตร อุตสาหกรรมที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน ที่ทำ�งานหรืออยู่อาศัยในพ้ืนท่ีใกล้เคียงได้
สากล การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เข้าถึงอาหารปลอดภัยท่ีมีคุณภาพดีและ
วัฒนธรรม และประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ราคายุติธรรม ซึ่งในปัจจุบันกลุ่มผู้บริโภค
(จังหวัดนครปฐม, 2562) ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ ก า ร เ ลื อ ก
นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา บริโภคอาหารปลอดภัยมากย่ิงขึ้น โดยเฉพาะ
สำ�นักงานเกษตรจังหวัดนครปฐมได้ริเริ่ม อย่างยิ่งผักและผลไม้ ส่งผลให้ตลาดขยาย
ตลาดจำ�หน่ายอาหารปลอดภัย โดยเน้นการ ตัวอย่างรวดเร็ว ในขณะท่ีตลาดอาหารใน
จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรทั้งผักและ ลักษณะเดียวกันในบริเวณใกล้เคียงเปิดให้
ผลไม้ ตลอดจนสินค้าอาหารแปรรูป และได้ บริการเฉพาะในวันเสาร์และอาทิตย์เท่าน้ัน
รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยศิลปากร จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น มหาวิทยาลัย
ในการจัดหาพ้ืนที่ในการจำ�หน่ายสินค้าดัง ศิลปากรซ่ึงมีบุคลากรและองค์ความรู้ท้ังด้าน
กล่าวเฉพาะในวันศุกร์ เพ่ือเป็นการสนับสนุน ศิลปะและการออกแบบ มนุษย์ศาสตร์และ
เกษตรกรที่ปลูกผักปลอดสารพิษและเกษตร สังคมศาสตร์ ตลอดจนด้านวิทยาศาสตร์และ
อินทรีย์ได้เข้ามาจำ�หน่ายสินค้าและพบปะกับ วิทยาศาสตร์สุขภาพ จึงได้ดำ�เนินงานวิจัย
ผู้บริโภคโดยตรงในพ้ืนที่ของมหาวิทยาลัย ภายใต้กรอบโจทย์ “มหาวิทยาลัยกับการ
เพ่ือให้บริการกับบุคลากรของมหาวิทยาลัย พัฒนากลไกเพ่ือดูดซับเศรษฐกิจภายในพ้ืนที่”
นักศึกษา และบุคคลท่ัวไป ที่ต้องการเลือก เพื่อพัฒนาระบบตลาดและสนับสนุนตลาด
ซื้ออาหารปลอดภัย อย่างไรก็ดีผลการดำ�เนิน อาหารปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภคและเพ่ิมราย
การดังกล่าวพบว่า ยังไม่ก่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ไดแ้ กเ่ กษตรกรของจังหวดั นครปฐม

10

11

12

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพัฒนาตลาด
อาหารปลอดภัย

Greenery Market @ SU

27

กว่าจะเป็นตลาด
Silpakorn Green Market

เดิมตลาด Silpakorn Green Market
เป็นที่รู้จักกันในชื่อตลาดจำ�หน่ายผัก ผลไม้
และอาหารปลอดภัยจัดตั้งอยู่บริเวณศาลา
แปดเหล่ียมริมสระแก้ว ในมหาวิทยาลัย
ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
จังหวัดนครปฐม ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2562
โครงการวิจัย “การพัฒนาตลาดอาหาร
ปลอดภัย : Greenery Market @SU” ได้
เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตลาดดังกล่าว
และมีการเปิดตลาดอย่างเป็นทางการ เม่ือวัน
ที่ 16 สิงหาคม 2562 ซึ่งเป็นความร่วมมือ
ระหว่างผู้บริหาร นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย
ศิลปากร และสำ�นักงานเกษตรจังหวัด
นครปฐม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา
กลไกตลาดจำ�หน่ายผัก ผลไม้ และอาหาร
ปลอดภัยนำ�ไปสู่ตลาดในลักษณะ Greenery
Market หรือตลาดสีเขียว เพ่ือเป็นทางเลือก
ให้นักศึกษา บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย
ศิ ล ป า ก ร แ ล ะ บุ ค ค ล ท่ั ว ไ ป ต ล อ ด จ น เ พ่ื อ
เป็นการดูดซับทางเศรษฐกิจและเพ่ิมรายได้
ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ท้ังยังส่งเสริมชุมชน
ฐานรากให้เกิดความเข้มแข็ง และย่ังยืนมาก
ยิ่งข้ึน และในปัจจุบันตลาดแห่งน้ไี ด้รับการต้งั
ชอ่ื ใหเ้ ปน็ ตลาด “Silpakorn Green Market”

28

การเปดิ ตลาด “Silpakorn Green Market” ตลาดผกั ผลไม้ และอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 1
โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารยช์ ัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

29

การดำ�เนินงานโครงการวิจัย “การ การสร้างระเบียบและมาตรฐานของ
พัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย : Green- ตลาด Silpakorn Green Market เปน็ อีกหนึ่ง
ery market @ SU” ภายใต้กรอบโจทย์วิจัย จุดประสงค์หลักท่ีคณะผู้วิจัยต้องการพัฒนา
“มหาวิทยาลัยกับการพัฒนากลไกเพื่อดูด เพื่อให้การจัดการตลาดเป็นไปด้วยความ
ซับเศรษฐกิจภายในพื้นที่” เป็นการวิจัยแบบ เรียบร้อยและมีระเบียบ จึงได้สร้างมาตรฐาน
บรู ณาการ โดยใช้องคค์ วามรู้ 4 ดา้ น ประกอบ ใ น ด้ า น ร ะ บ บ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง สิ น ค้ า
ด้วย ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านภูมิศาสตร์ ขึ้น โดยกำ�หนดให้เกษตรกรเป็นผู้ผลิตและ
ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านศิลปะและการ ผู้จำ�หน่ายสินค้าเอง และต้องได้รับการ
ออกแบบ ซ่ึงในการดำ�เนินงานโครงการ ตรวจสอบและรับรองสินค้าก่อนนำ�สินค้า
ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย ทำ � ก า ร สำ � ร ว จ ป ริ ม า ณ ก า ร เข้ามาจำ�หน่ายในตลาด ซึ่งการตรวจสอบ
บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร สิ น ค้ า ผั ก แ ล ะ และควบคุมคุณภาพ คณะผู้วิจัยจะทำ�การ
ผลไม้ปลอดภัย โดยเก็บข้อมูลพฤติกรรม ตรวจสอบสารเคมีกำ�จัดศัตรูพืชในผัก ผลไม้
และความต้องการของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ ดินและนำ้�ในบริเวณแปลงปลูก โดยทำ�การ
สินค้าเกษตรและอาหารแปรรูปในตลาด ตรวจสอบแรกเขา้ และส่มุ ตรวจทุก ๆ 6 เดือน
Silpakorn Green Market สำ�รวจ เพ่ือให้ผู้บริโภคเกิดความม่ันใจในคุณภาพและ
สถานภาพการผลิตเชิงปริมาณและคุณภาพ ความปลอดภัยของสินค้า
ผั ก แ ล ะ ผ ล ไ ม้ ป ล อ ด ภั ย ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร
ที่ ข้ึ น ท ะ เ บี ย น จำ � ห น่ า ย สิ น ค้ า ใ น ต ล า ด
Silpakorn Green Market รวมท้ังศึกษา
ช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ เพื่อพัฒนา
กลยุทธ์ในการสร้างการหมุนเวียนของตลาด
ผกั และผลไม้

30

การเปิดตลาด “Silpakorn Green Market” ครั้งที่ 2 หลงั การปรบั ภูมทิ ัศน์ตลาด
โดย ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววชิ ยั รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

31

การสัมภาษณ์และสำ�รวจแปลง
เกษตรกร/ผู้ค้าทีจ่ ำ�หน่ายสินคา้
ในตลาด Silpakorn Green Market

การประชมุ หารือร่วมกับรองอธกิ ารบดี
พระราชวังสนามจนั ทร์
มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
เพอ่ื พัฒนากลไกในการจดั การ
ตลาด Silpakorn Green Market

การแจ้งระเบยี บมาตรฐาน
ตลาด Silpakorn Green Market
ให้เกษตรกร/ผคู้ ้ารบั ทราบ

32

นอกจากการพัฒนามาตรฐานและกลไก จากการดำ�เนินงานโครงการวิจัย
ในการจัดการตลาดแล้ว คณะผู้วิจัยได้พัฒนา ดังกล่าวข้างต้น พบว่าการสร้างระเบียบ
พ้ืนทตี่ ัง้ ตลาด Silpakorn Green Market โดย มาตรฐานตลาด การพัฒนาระบบมาตรฐาน
พัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พ้ืนที่จำ�หน่าย การตรวจสอบ​ความปลอดภัยของสินค้า และ
และหน้าร้านค้าให้มีความสวยงามและเป็น การปรับปรุงภูมิทัศน์พ้ืนที่จำ�หน่ายและหน้า
ระเบียบมากย่ิงข้ึน เพื่อเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ร้านค้าของตลาด Silpakorn Green Market
ของตลาด Silpakorn Green Market ตลอด ส่งผลให้การบริหารจัดการตลาดเป็นไปด้วย
จนออกแบบตราสัญลักษณ์สินค้า และพัฒนา ความเรียบร้อย และมีระเบียบมากย่ิงขึ้น
ช่องทางการประชาสัมพันธ์ตลาด Silpakorn ทั้งยังเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรและผู้
Green Market เพ่ือสร้างการรับรู้ให้ผู้ จำ�หน่ายสินค้าทางด้านเกษตรปลอดภัยและ
บริโภค และเป็นทางเลือกให้กับผู้ที่สนใจเก่ียว เกษตรอินทรีย์ได้มีช่องทางการตลาดที่ชัดเจน
กับผัก ผลไม้ และอาหารปลอดภัย ได้แก่ สามารถช่วยลดการใช้สารเคมีท่ีส่งผลกระ
การจดั กิจกรรม “เกษตรรกั คณุ @ Silpakorn ทบต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยเพิ่มการดูดซับทาง
Green Market” คร้ังท่ี 1 และครั้งที่ 2 การ เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการสร้างความ
ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น เพจ มั่นใจในดา้ นความปลอดภยั ใหแ้ กผ่ บู้ ริโภคมาก
Facebook : Silpakorn Green Market และ ข้ึน ส่งผลให้เกษตรกรมียอดจำ�หน่ายสินค้า
ชอ่ ง Youtube : SU Greenmarket เปน็ ต้น และรายได้ท่ีเพิ่มข้ึนตามไปด้วย นอกจาก
นี้การพัฒนาตราสัญลักษณ์สินค้าและการ
พั ฒ น า มั ล ติ มี เ ดี ย ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ต ล า ด
Silpakorn Green Market ยังได้สร้างการ
รับรู้ให้แก่ผู้บริโภคท่ีสนใจเก่ียวกับผัก ผลไม้
และอาหารปลอดภัย รวมท้ังเป็นการเผยแพร่
ขา่ วสารและกิจกรรมตา่ งๆ ของตลาดอีกด้วย

33

การเก็บตัวอยา่ งและวิเคราะห์หา
ปริมาณสารเคมีก�ำ จดั ศัตรพู ืชทตี่ กค้าง
ในตัวอยา่ งผกั และผลไม้ ทจี่ �ำ หน่ายใน
Silpakorn Green Market และตัวอย่าง
ดนิ และน�้ำ ในแปลงปลกู

การประชาสมั พันธ์โดยจัดโครงการ
“เกษตรรกั คณุ @ Silpakorn Green
Market ” ครัง้ ที่ 1 และครงั้ ท่ี 2

ตลาด Silpakorn Green Market
หลังท�ำ การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ัศน์

34

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การพฒั นาตลาดอาหารปลอดภัย : Greenery Market @ SU

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

Food Safety Market Development : Greenery Market @ SU

Silpakorn University

การขบั เคล่ือน
เศรษฐกิจฐานรากของ
Silpakorn Green Market

โดย ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิเศก ปั้นสวุ รรณ
คณะอักษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

49


Click to View FlipBook Version