The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukphayodtakul_t, 2021-10-19 23:17:45

MeMo_พาราโบลา

MeMo_พาราโบลา

การพัฒนาการผลิตกลว้ ยตากในชุมชนกล้วยตาก
อ�ำ เภอบางกระท่มุ จงั หวัดพิษณุโลก

ดว้ ยเทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
และเทคโนโลยีอาหารสมัยใหม่

เสริม จันทร์ฉาย
ภาควิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

บศุ รากรณ์ มหาโยธี
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ศิลปากร

กล้วยนํา้ วา้ ตากแห้งหรือท่เี รียกกนั ทัว่ ไปว่า“กลว้ ยตาก” เปน็ ผลไม้แห้งที่คนไทยนิยมบริโภคกันอย่างกวา้ งขวาง
ตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จุบัน ถงึ แมก้ ารผลติ กลว้ ยตากจะมอี ยู่ทวั่ ประเทศ แต่แหล่งผลติ กล้วยตากท่ีใหญท่ ส่ี ุดอยทู่ ี่อำ�เภอ
บางกระทุ่ม จังหวดั พษิ ณุโลก จากการประเมินของนักวจิ ัย พบว่า ปจั จุบันมีผลผลิตกล้วยตากปีละประมาณ 4,000 ตัน
ผู้ผลิตกล้วยตากในอำ�เภอบางกระทุ่มจะอยู่กันเป็นชุมชนซึ่งประกอบด้วย  ผู้ผลิตรายใหญ่และผู้ผลิตรายย่อย
โดยผผู้ ลิตรายใหญ่จะมีผลผลติ กล้วยตากเฉลี่ยตง้ั แต่ 100 ตนั ตอ่ ปี และผู้ผลิตรายย่อยมผี ลผลิตตํ่ากว่า 100 ตนั ตอ่ ปี
ผู้ผลิตกล้วยดังกล่าวผลิตกล้วยท้ังท่ีเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม  การผลิตกล้วยตากในอำ�เภอบางกระทุ่มมี
ประวัติศาสตร์การพฒั นามาเป็นเวลาประมาณ 100 ปี ท้ังน้เี พราะอำ�เภอบางกระทุ่มมีดนิ ดีซงึ่ เหมาะสมกบั การปลกู
กลว้ ยคณุ ภาพดแี ละได้รบั แสงแดดดดี ้วย อยา่ งไรกต็ ามก่อนปี พ.ศ. 2550 การผลิตกลว้ ยตากของชุมชนกล้วยตาก
บางกระทุม่ ยงั คงใชว้ ิธดี ั้งเดมิ กล่าวคือ ใช้วธิ ีตากกลว้ ยบนแครไ่ ม้ไผต่ ามธรรมชาติ และกระบวนการเตรียมผลติ ภณั ฑ์
สด และการจดั การผลิตภัณฑแ์ ห้งยังเป็นแบบดั้งเดมิ ซงึ่ ไมถ่ ูกสขุ ลักษณะ  นักวิจยั จงึ ได้ดำ�เนนิ การพฒั นาการผลติ กล้วย
ตากในชุมชนผู้ผลิตกล้วยตากในอำ�เภอบางกระทุ่มโดยผ่านทางโครงการต่างๆ  หลายโครงการจนปัจจุบันเกิดการ
ผลิตกล้วยตากแบบอุตสาหกรรมซ่ึงก่อให้เกิดการจ้างงานและยกระดับคุณภาพของกล้วยตากจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นให้
กลายเป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงสามารถจำ�หน่ายในตลาดของฝากระดับชาติและส่งออกไปจำ�หน่ายในต่างประเทศได้

2

3

4

การพัฒนาเคร่อื งอบแห้งพลังงานแสงอาทติ ย์
เพื่อใช้งานเชงิ พาณชิ ย์

ประเทศไทยเปน็ ประเทศเกษตรกรรม  ผลติ ผลทางการเกษตรจำ�นวนมากตอ้ งแปรรปู ดว้ ยการตากแหง้ หรอื อบแหง้ โดย
วิธีท่ีเกษตรกรและผู้ประกอบการนิยมใช้กันในอดีตคือ  การตากแดดตามธรรมชาติ  วิธีดังกล่าวถึงแม้จะทำ�ได้ง่าย
และเสียค่าใช้จ่ายน้อย  แต่ผลผลิตที่ตากมักเสียหายจากการเปียกฝน  และถูกทำ�ลายด้วยนก  หนู  หรือแมลง
อกี ทง้ั ยงั ถกู ปนเป้ือนด้วยสง่ิ สกปรกจากสภาพแวดลอ้ ม ด้วยตระหนักถึงปญั หาดงั กล่าว ในชว่ ง 40 ปี ทผ่ี า่ นมา
นักวิจัยด้านพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทยได้พยายามพัฒนาเคร่ืองอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำ�หรับอบแห้ง
ผลติ ภัณฑต์ า่ งๆ สำ�หรบั กรณขี องศาสตราจารย์ ดร. เสริม จันทร์ฉาย ก็ได้พยายามพฒั นาเครอื่ งอบแห้งพลงั งานแสง
อาทิตย์ (solar dryer) แบบตา่ งๆ มาตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2522 เพื่อใช้อบแหง้ ผลิตผลการเกษตรทดแทนการตากแดดตาม
ธรรมชาติ แตเ่ ครอ่ื งอบแหง้ ดงั กลา่ วยงั ไมส่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชท้ ต่ี อ้ งการอบแหง้ ผลติ ภณั ฑเ์ ชงิ พาณชิ ย์
ได ้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2546 ศาสตราจารย์ ดร. เสริม จนั ทรฉ์ าย ได้พัฒนาเครอ่ื งอบแหง้ พลงั งานแสงอาทิตย์
แบบเรอื นกระจกหรือ แบบ “พาราโบลาโดม” เครื่องอบแห้งดงั กลา่ ว (รปู ท่ี 1) มอี งค์ประกอบเปน็ หลงั คาโคง้ รปู
พาราโบลา ซึ่งติดตง้ั บนพน้ื คอนกรีตและปิดคลมุ ด้วยแผน่ พลาสติกทเ่ี รียกว่า โพลีคาร์บอเนต (polycarbonate) ด้าน
หน้ามพี ัดลมซ่ึงทำ�งานด้วยโซลาร์เซลล์เพอื่ ดูดอากาศภายในเคร่อื งออกไปภายนอก และด้านหลังมีชอ่ งอากาศเพื่อให้
อากาศไหลเขา้ ไปแทนทอ่ี ากาศท่ไี หลออกจากเคร่อื งอบแห้ง โดยรปู ทรงพาราโบลาช่วยทำ�ให้รบั แสงอาทติ ยไ์ ดด้ ตี ลอด
ท้งั วัน ช่วยลดความตา้ นทานต่อลม และเป็นรปู ทรงที่สวยงาม

21

การใช้พัดลมท่ีใช้ไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ช่วยควบคุม รปู ท่ี 1 เครือ่ งอบแห้งแบบพาราโบลาโดม ทส่ี ร้างท่ี มหาเวมทิ ือ่ ยปาีลพัย.ศศ.ลิ 2ป5า4ก6ร
อณุ หภูมิของอากาศภายในเครอ่ื งอบแห้งอัตโนมัติ กล่าว
คือ  ขณะที่แสงอาทิตย์มีความเข้มสูง  อากาศภายใน หลังจากท่ีทดสอบการทำ�งานของเครื่องอบแห้ง
เคร่ืองอบมีแนวโน้มท่ีจะเพ่ิมสูงขึ้น  แต่ในขณะเดียวกัน ดังกล่าว ท่ีมหาวิทยาลยั ศิลปากรจนใช้งานได้ดใี นระดบั
โซลาร์เซลล์ก็ได้พลังงานไฟฟ้าสูงข้ึนทำ�ให้พัดลมหมุน หนึง่ แลว้ ศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ จันทร์ฉาย จงึ ได้รว่ ม
เรว็ ข้นึ ซ่ึงชว่ ยดูดอากาศออกจากเครื่องอบแหง้ มากขนึ้ มือกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 
จึงทำ�ให้อุณหภูมิของอากาศไม่สูงเกินไป  ในทางกลับ (พพ.) สร้างเครอื่ งอบแห้งแบบพาราโบลาโดม  ซง่ึ มพี ืน้ ท่ี
กันขณะที่แสงอาทิตย์มีความเข้มตํ่า  พัดลมจะหมุนช้า ฐาน 5.5 x 8.2 ตารางเมตร ท่โี ครงการอุทยานธรรมชาติ
จึงทำ�ให้อุณหภูมิของอากาศภายในเครื่องอบแห้งไม่ลด วิทยาตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ลงมาก  การใช้คอนกรีตเป็นพ้ืนจะช่วยเก็บพลังงาน สยามบรมราชกุมารี  อำ�เภอสวนผ้ึง  จังหวัดราชบุรี
ความร้อน  จึงทำ�ให้อุณหภูมิอากาศภายในเครื่อง (รปู ที่ 2)
อบแห้งไม่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามการเปล่ียนแปลง
ของความเข้มรังสีอาทิตย์  ในการใช้งานผู้ใช้เพียงนำ�
ผลิตภัณฑ์ท่ีต้องการอบ  ใส่ตะแกรงไปวางบนช้ันใน
เครื่องอบแห้ง  และปล่อยท้ิงไว้จนผลิตผลแห้งแล้วจึง
นำ�ออกจากเครอ่ื งอบแหง้ จะเห็นวา่ ใช้งานได้สะดวก
และยงั สามารถอบแห้งผลติ ผลสดไดค้ รง้ั ละ 100 - 300
กิโลกรัม  ซ่ึงผู้ใช้สามารถนำ�ไปใช้ทำ�ผลิตภัณฑ์แห้งเชิง
พาณชิ ยไ์ ด้

22

โดยปรับปรุงระบบระบายอากาศให้มีพัดลมเพิ่ม รปู ท่ี 2 เครอื่ งอบแหง้ แบบพาราโบลาโดม ที่โครงการอทุ ยานธรรมชาตวิ ิทยา
ข้ึน  และเปล่ียนตำ�แหน่งของพัดลมดูดอากาศจาก ตามพระราชดำ�ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ด้านหน้าไปเป็นด้านหลัง  เปลี่ยนช่องอากาศเข้าไปไว้ อ�ำ เภอสวนผึง้ จังหวัดราชบรุ ี เมอ่ื ปี พ.ศ. 2547
ด้านหนา้   ท้งั น้ีเพ่ือสาธติ และทดลองใชง้ านในภาคสนาม
โครงการฯ  ได้ใช้เครื่องอบแห้งดังกล่าวผลิตกล้วยตาก
เพ่อื จำ�หนา่ ยให้กบั ผูม้ าเยี่ยมชมโครงการฯ
ต่อมามีผู้ผลิตกล้วยตากจากอำ�เภอบางกระทุ่ม
จังหวัดพิษณุโลกมาเยี่ยมชมเคร่ืองอบแห้งดังกล่าว
และได้แจ้งต่อนักวิจัยว่า  เคร่ืองอบแห้งแบบพาราโบลา
โ ด ม ที่ ติ ด ตั้ ง ใ ช้ ง า น ใ น โ ค ร ง ก า ร อุ ท ย า น ธ ร ร ม ช า ติ
วิทยาตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี  มีศักยภาพในการอบแห้งกล้วย
ที่อำ�เภอบางกระทุ่มได้  แต่ต้องปรับปรุงให้สามารถ
อบแห้งกล้วยนํ้าว้าสุกได้อย่างน้อย  1,000  กิโลกรัม
ศาสตราจารย์ ดร. เสริม จนั ทรฉ์ าย จึงไดท้ ำ�การ
ปรับปรุงเคร่ืองอบแห้งแบบพาราโบลาโดมให้มีขนาด
ใหญ่ขน้ึ (มีพื้นที่ฐาน 7.5 x 20 ตารางเมตร) และ
เพิ่มพัดลมระบายอากาศให้สามารถอบแห้งกล้วยสุก
ได้ครัง้ ละ 1,000 กโิ ลกรัม โดยไดส้ ร้างเครอ่ื งอบแหง้ ดัง
กลา่ วร่วมกบั พพ. ทว่ี ิทยาลยั เกษตรและป่าไม้ ปากเซ
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  (สปป.
ลาว) เมอ่ื พ.ศ. 2550 (รปู ที3่ ) และทำ�การทดลองอบ
เมล็ดกาแฟและกล้วย

รูปที่ 3 เเครือ่ งอบแหง้ แบบพาราโบลาโดมที่สรา้ งท่ีประเทศสาธารณรฐั
ประชาธิปไตยประชาชนลาว เมอ่ื ปี พ.ศ. 2550

23

24

การแก้ปัญหาการอบแห้งกล้วยของชุมชนผู้ผลิตกล้วยตาก
อ�ำ เภอบางกระทมุ่ จงั หวัดพษิ ณุโลก

เน่อื งจากในปี พ.ศ. 2538 ศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ จันทร์ฉาย ได้นำ�เครอื่ งอบแห้งแบบอุโมงค์ลม (solar
tunnel dryer) จากประเทศเยอรมนั มาทดลองติดตง้ั ใช้งานที่โครงการส่วนพระองคส์ วนจติ รลดา และได้ดดั แปลงให้
เหมาะสมกับประเทศไทย จึงเกิดความคิดท่ีจะนำ�เครือ่ งอบแหง้ ดงั กลา่ วไปใชอ้ บกล้วย ดงั นั้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 นกั วจิ ัย
ได้เดนิ ทางไปสำ�รวจและศึกษาวธิ ีการผลติ กล้วยตากของชมุ ชนผผู้ ลิตกลว้ ยตากในอำ�เภอบางกระทมุ่ จังหวดั พิษณโุ ลก
ซึ่งพบว่า  ผู้ผลิตกล้วยตากจะเร่ิมต้นจากการนำ�กล้วยนํ้าว้าสุกมาปอกเปลือกแล้วนำ�ไปวางตากแดดบนตะแกรงไม้ไผ่
กลางแจ้ง ในตอนเย็นจะรวบรวมกลว้ ยมากองสุมกันบนตะแกรงไมไ้ ผ่ และคลุมด้วยผ้าพลาสติกเพื่อใหค้ วามชื้นภายใน
กลว้ ยกระจายออกมาทผี่ ิว จากนั้นในตอนเช้าจะแผก่ ล้วยใหส้ ม่าํ เสมอบนตะแกรงไมไ้ ผเ่ พ่ือตากแดดตอ่ และทำ�เชน่ น้ี
จนกลว้ ยแหง้ ในขนั้ ตอนตอ่ ไปจะนำ�กลว้ ยมาทับดว้ ยมือให้แบนน่ารบั ประทานและนำ�กลว้ ยไปตากแดดอกี 1 วัน หลัง
จากนน้ั จะรวบรวมกลว้ ยบรรจุใสถ่ งุ พลาสติกเพ่อื สง่ ไปจำ�หนา่ ย โดยใช้เวลารวมท้ังหมดในการตากประมาณ 5-7 วัน
ทง้ั น้ีข้นึ กับลมฟ้าอากาศ ในกระบวนการผลติ กล้วยตากวธิ ดี ง้ั เดมิ น้ี ปญั หาหลกั คือ กล้วยตากสกปรก เน่อื งจาก
แมลงวนั ตอม และกลว้ ยตากเสยี หายจากการเปียกฝน เม่ือปี พ.ศ. 2550 นกั วิจัยได้เดนิ ทางไปสำ�รวจสภาพการผลิต
กลว้ ยตากในอำ�เภอบางกระทุ่มอกี ครั้งหนง่ึ และพบว่ากระบวนการผลิตกล้วยตากยงั คงเหมือนเดมิ กล่าวคือยงั คง
ใช้วธิ กี ารตากแดดตามธรรมชาติ เน่ืองจากปัญหาดงั กลา่ ว ทำ�ใหเ้ กิดการสญู เสียทางเศรษฐกิจ ดงั นน้ั จงึ มีนกั วชิ าการ
จากมหาวิทยาลัยตา่ งๆ พยายามนำ�เทคโนโลยีการอบแห้งพลงั งานแสงอาทิตย์เขา้ ไปแกไ้ ข อกี ทั้งผ้ผู ลติ กลว้ ยตากเองก็
พยายามแสวงหาเทคโนโลยกี ารอบแหง้ ตา่ งๆ เพอื่ ทดแทนการตากแดดตามธรรมชาติ

43

44

รูปท่ี 4 เคร่ืองอบแห้งแบบพาราโบลาโดมที่ “กลว้ ยตากบปุ ผา”
เมือ่ ปี พ.ศ. 2550

เนื่องจากเคร่ืองอบแห้งแบบอุโมงค์ลมและ โดยผู้ประกอบการดังกล่าวร่วมลงทุน
แบบอ่ืนๆ  ยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของ ประมาณครึ่งหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการสร้างเคร่ืองอบ
ผู้ผลิตกล้วยตากได้  ประกอบกับผู้ผลิตกล้วยตากมี แห้ง หลังจากสร้างเสร็จ (รปู ที่ 4) ผูป้ ระกอบการดงั กลา่ ว
ความต้องการเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ที่ ไดร้ ว่ มกบั ศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ จนั ทรฉ์ าย ทดลองใช้
สามารถใชง้ านเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้ ดงั นน้ั ศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ งานเคร่ืองอบแห้งและทำ�การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจาก
จนั ทรฉ์ าย  จึงได้นำ�เคร่ืองอบแห้งแบบพาราโบลาโดมที่ การอบกล้วยจำ�นวนมาก (ประมาณ 1 ตัน) เชน่   ปัญหา
ปรับปรุงให้มีขนาดใหญ่ไปทดสอบใช้งานอบแห้งกล้วยที่ การกระจายตัวของการไหลและอุณหภูมิของอากาศ
“กล้วยตากบุปผา”  ซึ่งเป็นผู้ประกอบการผลิตกล้วย จนเครอ่ื งอบแหง้ ดงั กล่าวใช้งานไดด้ ี จากนั้น “กลว้ ย
ตากรายใหญ่ในอำ�เภอบางกระทุ่ม  จังหวัดพิษณุโลก ตากบปุ ผา” กใ็ ชเ้ ครอ่ื งอบแหง้ ดงั กลา่ วผลติ กลว้ ยตาก ซึง่
และเคยไปเยี่ยมชมเครื่องอบแห้งแบบพาราโบลาโดมที่ สามารถช่วยแก้ปัญหาแมลงวันตอม  และจากการเปียก
โครงการอุทยานธรรมชาติวิทยาตามพระราชดำ�ริสมเด็จ ฝนได้
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามราชกุมารี

45

46

การแก้ปัญหาเชิงเทคโนโลยีอาหาร
ในกระบวนการผลติ กล้วยตาก

หลงั จากทแ่ี ก้ไขปัญหาการตากกล้วยได้แล้ว ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. บุศรากรณ์ มหาโยธี ไดท้ ำ�การ
สำ�รวจเสน้ ทางของวัตถุดบิ ทใ่ี ช้ในการผลติ กล้วยตาก (supply chain) และคณุ ภาพของกลว้ ยตากท่ีตากแดดตาม
ธรรมชาติ ซึ่งเปน็ ผลผลิตจากอำ�เภอบางกระทมุ่ ผลการสำ�รวจพบวา่ กล้วยทีน่ ำ�มาตากสว่ นใหญม่ าจากแหล่งปลกู
กล้วยนอกอำ�เภอบางกระทุ่ม  และกล้วยตากที่ผลิตโดยการตากแดดตามธรรมชาติมีการปนเป้ือน  ไม่ผ่านเกณฑ์
มาตรฐาน นอกจากนบี้ รรจุภณั ฑ์ทีใ่ ชย้ งั คงเปน็ กล่องหรอื ถงุ พลาสตกิ แบบพน้ื บ้าน และกระบวนการเตรยี มกลว้ ยสด
สำ�หรับตากและการจัดเกบ็ กล้วยแหง้ ยงั ไม่ถูกสขุ ลกั ษณะ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. บุศรากรณ์ มหาโยธี จงึ ไดจ้ ัดฝกึ
อบรมการผลติ กล้วยตากในอำ�เภอบางกระท่มุ โดยดำ�เนนิ การที่ “กล้วยตากบปุ ผา” เพ่อื นำ�ร่อง

63

ในด้านของบรรจุภัณฑ์  คณะทำ�งานของ หลังจากที่แก้ปัญหาการตากกล้วยและ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุศรากรณ์ มหาโยธี ไดท้ ำ�การ วิธีการผลิตที่ถูกสุขอนามัยแล้ว  “กล้วยตากบุปผา”
สำ�รวจความคิดเห็นผู้บริโภคตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ ได้จัดตั้งโรงงานผลิตกล้วยตากซึ่งใช้ชื่อผลิตภัณฑ์ว่า
ในกรุงเทพฯ เกย่ี วกบั รปู แบบของบรรจภุ ณั ฑ์ทีผ่ ูบ้ ริโภค “banana society” ผผู้ ลติ รายใหญ่อน่ื ๆ ในอำ�เภอ
สมยั ใหม่ตอ้ งการ ซ่งึ ไดค้ วามเห็นวา่ ผ้บู ริโภคต้องการให้ บางกระทมุ่ ไดแ้ ก่ กลว้ ยตาก “จิราพร” “นิตยา” “แม่
บรรจกุ ลว้ ยตากในซองเล็กๆ ซองละ 1-2 ลูก และบรรจุ ตะเพียน”  และ  “อังคณา”  ได้มองเห็นความสำ�เร็จ
ซองในกล่องทมี่ ีขอ้ มูลเก่ียวกบั คณุ ค่าทางอาหาร จากนน้ั ของ “กลว้ ยตากบุปผา” จงึ ดำ�เนนิ การตามแบบอย่าง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุศรากรณ์ มหาโยธี ได้มอบหมาย “กล้วยตากบุปผา” กล่าวคือ ไดจ้ ัดสรา้ งเคร่ืองอบแหง้
ให้นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ทำ�การออกแบบบรรจุภัณฑ์ แบบพาราโบลาโดม  และสร้างโรงงานผลิตกล้วยตากท่ี
กล้วยตาก สำ�หรบั “กล้วยตากบปุ ผา” พร้อมทง้ั ได้ ถกู สขุ ลกั ษณะ (รูปที่ 5)
ขอให้เปลีย่ นช่อื จากเดิมเปน็ “banana society”
นอกจากนี้คณะผู้ทำ�งานของผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. บศุ รากรณ์ มหาโยธี ยังได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหมข่ อง
กล้วยตาก เช่น กลว้ ยตากชบุ ชอ็ คโกแลต ใหก้ บั “กลว้ ย
ตากบปุ ผา”

64

รูปที่ 5 พาราโบลาโดมและผลติ ภัณฑ์กลว้ ยตากของ “จริ าพร” (บน)
และ พาราโบลาโดม และผลิตภณั ฑก์ ล้วยตากแมต่ ะเพียน (ลา่ ง)

จากความสำ�เรจ็ ของผผู้ ลติ กลว้ ยตากรายใหญ่ ได้จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตรายย่อยเพ่ือดำ�เนินการขอสินเช่ือจาก
ทำ�ให้ผู้ผลิตกล้วยตากรายย่อยขวนขวายจัดหาเครื่องอบ ธนาคารต่างๆ  สำ�หรับลงทุนสร้างเคร่ืองอบแห้งแบบ
แหง้ แบบพาราโบลาโดม ศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ จนั ทรฉ์ าย พาราโบลาโดมตามโครงการของ  พพ.  จนถึงปัจจุบันมี
จึงได้ติดต่อประสานงานกับ  พพ.  เพ่ือจัดสร้างเคร่ือง ผู้ผลิตรายย่อยใช้เครื่องอบแห้งแบบพาราโบลาโดมเพ่ือ
อบแห้งแบบพาราโบลาโดมให้กับผู้ผลิตรายย่อยผ่าน การผลติ กลว้ ยตากในอำ�เภอบางกระทมุ่ ประมาณ  80 ราย
ทางโครงการต่างๆ ของ พพ. โดยผู้ประสงค์ขอรับการ
สนับสนุนเคร่ืองอบแห้งต้องออกค่าใช้จ่ายในการสร้าง
ประมาณ 50-70 % ของค่าก่อสร้างท้ังหมด พรอ้ มทั้ง

65

66

การประเมนิ ผลการพัฒนา

จากผลการดำ�เนินงาน 10 ปี ศาสตราจารย์ ดร. เสรมิ จันทร์ฉาย และผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. บศุ รากรณ์
มหาโยธี ไดท้ ำ�การสำ�รวจผลสมั ฤทธ์ิของการดำ�เนินงานเมอ่ื ปลายปี พ.ศ. 2559 โดยไดท้ ำ�การสำ�รวจผลการดำ�เนนิ
โครงการ พบว่า ในปี พ.ศ. 2559 มีผผู้ ลิตรายใหญ่ทัง้ หมด 5 ราย และผู้ผลติ รายยอ่ ยประมาณ 100 ราย กรณีของ
ผู้ผลิตรายใหญ่ไดเ้ ปลีย่ นการผลิตกล้วยตากจากวิธดี ้ังเดมิ (ตากแดดตามธรรมชาติ) มาเปน็ แบบอตุ สาหกรรม โดยใช้
เคร่ืองอบแห้งแบบพาราโบลาโดมและจดั การผลิตตามหลกั GMP (Good Manufacturing Practice) ทำ�ใหผ้ ลิตภัณฑ์
กลว้ ยตากได้รับรองมาตรฐานจากองค์การอาหารและยา (อ.ย.) ทงั้ 5 ราย จากการปรับปรุงการผลติ ดงั กลา่ วทำ�ให้
ผลิตภัณฑก์ ล้วยตากจากผผู้ ลติ รายใหญไ่ ดว้ างจำ�หนา่ ยในห้างสรรพสินคา้ สนามบนิ และร้านขายของฝากทีท่ ันสมัย
ทำ�ให้มียอดขายและรายไดเ้ พิ่มขน้ึ จากการผลิตแบบด้งั เดิมปีละ 1 เทา่ ตัว นอกจากนีย้ งั ไดส้ ง่ กล้วยตากไปจำ�หน่ายใน
ตา่ งประเทศ โดยมมี ลู คา่ รวมกันประมาณปลี ะ 100 ล้านบาท ในด้านของการจ้างงาน ผผู้ ลิตรายใหญท่ ง้ั 5 ราย มีการ
จา้ งงานเพิ่มจากเดิมรวมกนั ประมาณ 200 อัตรา

85

กรณีของผู้ผลิตรายย่อย  ซ่ึงมีทั้งหมด
ประมาณ 100 ราย ในจำ�นวนน้ีมีประมาณ 80 ราย ที่
เปลี่ยนจากการผลิตกล้วยตากจากการตากแดดตาม
ธรรมชาติมาเป็นการตากโดยใช้เคร่ืองอบแห้งแบบ
พาราโบลาโดม  การตากกล้วยโดยใช้เคร่ืองอบแห้งดัง
กล่าวทำ�ให้กล้วยตากไม่เสียหายจากการเปียกฝนและได้
กล้วยท่สี ะอาด จงึ ขายกลว้ ยตากจากเครอื่ งอบแห้งได้ใน
ราคาทสี่ งู กวา่ กล้วยทตี่ ากแดดตามธรรมชาติ โดยแต่ละ
รายมีผลกำ�ไรจากการผลิตกล้วยตากประมาณเดือนละ
20,000 – 25,000 บาท ทำ�ให้ผู้ผลิตรายย่อยยดึ การทำ�
กล้วยตากเปน็ อาชพี หลักได้
นอกเหนือจากผลทางเศรษฐกิจที่ชุมชนผู้
ผลิตกล้วยตากได้รับโดยตรงแล้ว  การพัฒนาดังกล่าว
ยังส่งผลทางอ้อมอีกหลายประการ  โดยประการแรก
การใชเ้ ครอ่ื งอบแหง้ แบบพาราโบลาโดม ทำ�ใหก้ จิ กรรมการ
ผลิตกล้วยตากดำ�เนินไปได้ทั้งปี  ซึ่งส่งผลให้ชาวสวน
กล้วยสามารถขายกล้วยได้ตลอดท้ังปีในราคาท่ียุติธรรม
โดยแต่เดิมขายกล้วยได้น้อยในช่วงฤดูฝนและราคากล้วย
ตกตํ่า  ประการท่ีสอง  จากกระบวนการผลิตกล้วยท่ีได้
มาตรฐานทำ�ใหผ้ บู้ รโิ ภคไดบ้ รโิ ภคผลติ ภณั ฑท์ ถ่ี กู สขุ อนามยั
และประการสุดท้าย  การพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยตาก
ในชุมชนกล้วยตากบางกระทุ่มช่วยสืบสานอาชีพการ
ทำ�กล้วยตากของชาวบางกระทุ่มที่ทำ�มากว่า  100  ปี
ให้ดำ�เนินตอ่ ไปอยา่ งมนั่ คง

86

87

88

การคาดการณ์ส่ิงท่ีจะตามมาและ
แนวทางการตดิ ตามและธำ�รงรักษาการพฒั นา

ในปัจจุบันกล้วยตากจากชุมชนกล้วยตากบางกระทุ่มร้อยละ  80  อบแห้งด้วยเคร่ืองอบแห้งแบบ
พาราโบลาโดม โดยผลผลิตที่ได้สามารถจำ�หนา่ ยได้ในราคาสงู กวา่ กลว้ ยที่ตากแดดตามธรรมชาติ ทำ�ใหผ้ ูผ้ ลิตที่ใช้วิธี
ตากแดดตามธรรมชาติต้องขวนขวายจัดหาเครอ่ื งอบแห้งแบบพาราโบลาโดม จงึ คาดการณว์ ่าผู้ผลิตกล้วยทัง้ หมดใน
ชุมชนกล้วยตากบางกระทุ่มจะเปลี่ยนวิธีการผลิตกล้วยตากจากการตากแดดตามธรรมชาติมาเป็นการใช้เคร่ืองอบ
แหง้ แบบพาราโบลาโดมท้งั หมดภายใน 5 ปี และผ้ผู ลติ รายย่อยบางรายจะขยายการผลิตเป็นผู้ผลติ รายใหญ่เนือ่ งจาก
กิจการการผลติ กล้วยตากใหผ้ ลตอบแทนทีด่ ี กรณขี องผู้ผลติ รายใหญจ่ ะมีการขยายการสง่ ออกไปต่างประเทศมากขนึ้
ทง้ั น้เี พราะความต้องการผลิตภณั ฑผ์ ลไม้อบแหง้ ในตลาดสากลมีการขยายตวั

รปู ท่ี 6 แผนทแ่ี สดงตำ�แหน่งระบบอบแห้ง แบบพาราโบลาโดม
ในอำ�เภอบางกระทุ่ม จงั หวดั พิษณโุ ลก

107

108

สรปุ

จากปัญหาความเสียหายของกล้วยตากและการผลิตท่ีไม่ถูกสุขลักษณะของการผลิตกล้วยตากแบบ
ดั้งเดิมในชมุ ชนกลว้ ยตากอำ�เภอบางกระทุม่ จังหวดั พิษณโุ ลก นกั วจิ ยั ไดท้ ำ�การแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการเผยแพร่
เทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์และเทคโนโลยีอาหารสมัยใหม่เข้าไปสู่ชุมชนกล้วยตาก  ทำ�ให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงการผลติ กลว้ ยตากแบบดงั้ เดิมมาเป็นการผลติ แบบสมัยใหม่ ซึ่งสง่ ผลใหเ้ กดิ การเพมิ่ รายได้ เกดิ การจา้ ง
งานในชมุ ชนและการสง่ ออก อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยสบื สานการผลติ กลว้ ยตากของชมุ ชนซง่ึ ดำ�เนนิ มากวา่ 100 ปี ใหย้ ง่ั ยนื ตอ่ ไป

127

www.su.ac.th

128


Click to View FlipBook Version