The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - 2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่มแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566ถึง2570

เล่มแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - 2570

Keywords: แผนพัฒนาการศึกษา,พ.ศ.2566 - 2570,สพป.พบ.1

พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้านการศึกษา พระองค์ท่านต้องการสร้างให้คนไทยมีคุณสมบัติ 4 ด้าน 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง - มีความรู้ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง - ยึดมั่นในศาสนา - มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ - มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัว และชุมชนของตน 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม - รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ชอบ/ชั่ว-ดี - ปฏิบัติสิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดีงาม - ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว - ช่วยกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง 3. มีงานท า มีอาชีพ - เลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือ การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็ก และเยาวชนรักงาน สู้งาน ท าจนงานส าเร็จ - ก า รฝึกฝนอบ รมทั้งในหลักสู ต ร แล ะ นอกหลักสูตร ต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียน ท างานเป็น และมีงานท าในที่สุด - ต้องสนับสนุนผู้ส าเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานท า จนสามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครัว 4. เป็นพลเมืองดี - การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าที่ของทุกคน - ครอบครัว สถานศึกษาและ สถานประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ทุกคน มีโอกาสท าหน้าที่พลเมืองดี - การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะท า เพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องท า” เช่น งานอาสาสมัคร งานบ าเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณกุศล ให้ท า ด้วยความมีน้ าใจและเอื้ออาทร”


ค าน า ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ได้จัดท าแผนพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับปรับปรุงส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 โดยได้ด าเนินการเชื่อมโยงตามความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี(พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และ 2567 นโยบายและจุดเน้นส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และ 2567 นโยบายเร่งด่วน (Quick Policy) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ให้ตอบสนองตามนโยบายรัฐบ าล กระทรวงศึกษาธิการ และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนา การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับปรับปรุง เล่มนี้จะเป็นเครื่องมือในการบริหาร จัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด และใช้เป็นกรอบในการด าเนินงานเพื่อขับเคลื่อนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย จุดเน้นของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอันจะเป็นการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน กลุ่มนโยบายและแผน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 มกราคม 2566


สารบัญ สารบัญ หน้า ส่วนที่ 1 บทน า 1 สภาพทั่วไป 1 ข้อมูลทั่วไป ของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 1 อ านาจหน้าที่ ของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 5 สภาพการจัดการศึกษา ของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 6 ส่วนที่ 2 ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของคณะรัฐมนตรี 13 แผนระดับที่ 1 14 แผนระดับที่ 2 15 แผนระดับที่ 3 30 แผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี 48 ผังความเชื่อมโยงของแผนส าคัญต่างๆ 50 ส่วนที่ 3 ผลการจัดการศึกษาของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 51 1. ผลการด าเนินงานของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 51 2. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการศึกษาของส านักงานเขตพื้นที่ 67 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน 67 ตารางสรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ภายใน 68 สถานภาพของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 ผลการประเมินสถานภาพ (SWOT) 68 3. จุดเน้นและแนวทางการพัฒนาการศึกษา ของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 69 ส่วนที่ 4 สาระส าคัญแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 -2570) ฉบับปรับปรุง 87 วิสัยทัศน์พันธกิจ ค่านิยมองค์การ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ 87 87 - กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียน สถานศึกษามีความปลอดภัยจากภัย ทุกรูปแบบ 88 - กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน 90 - กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 92 - กลยุทธ์ที่ 4 การจัดการศึกษาด้านประสิทธ ิภาพ 95 ส่วนที่ 5 การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ 98 แนวทางการบริหารแผนสู่การปฏิบัติ 98 บทบาทของหน่วยงานในสังกัด สพป.เพชรบุรี เขต 1 99 ภาคผนวก 100 คณะผู้จัดท า 106


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 1 ส่วนที่ 1 บทน า 1. สภาพทั่วไป 1.1 ข้อมูลทั่วไปของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 1.1.1 ที่ตั้งและเขตพื้นที่บริการ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 จัดตั้งขึ้นตำมประกำศของกระทรวง ศึกษำธิกำร เมื่อวันที่ 7 กรกฎำคม 2546 เป็นหน่วยงำนอยู่ภำยใต้กำรก ำกับ ดูแลของส ำนักงำนคณะกรรมกำร กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตั้งอยู่เลขที่ 264 ถนนคีรีรัถยำ ต ำบลธงชัย อ ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี รหัสไปรษณีย์ 76000 มีเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งำน 88.07 ตำรำงวำ ประกอบด้วยอำคำรส ำนักงำน 1 หลัง เป็นอำคำรตึก 2 ชั้น มีพื้นที่กำรใช้งำน 1,100 ตำรำงเมตร ชั้นที่ 1 เป็นที่ปฏิบัติงำนของกลุ่มบริหำรงำนกำรเงินและสินทรัพย์ กลุ่มอ ำนวยกำร กลุ่มบริหำรงำนบุคคลและกลุ่มพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ชั้น 2 แบ่งเป็น ห้องผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 และเป็นที่ปฏิบัติงำนของกลุ่มนิเทศ ติดตำมและประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ กลุ่มนโยบำยและแผน กลุ่มกฎหมำยและคดี หน่วยตรวจสอบภำยใน กลุ่มส่งเสริมกำรศึกษำทำงไกล เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร กลุ่มส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ โดยมีหอประชุม จ ำนวน 2 หลัง หลังที่ 1 มีพื้นที่กำรใช้งำน 204.82 ตำรำงเมตร หลังที่ 2 มีพื้นที่กำรใช้งำน 448 ตำรำงเมตร 1.1.2 อาณาเขตติดต่อพื้นที่รับผิดชอบ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 ตั้งอยู่ทำงภำคตะวันตก ของประเทศไทย มีอำณำเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงและประเทศเพื่อนบ้ำนดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับอ ำเภอปำกทอ จังหวัดรำชบุรี และอ ำเภออัมพวำ จังหวัดสมุทรสงครำม ทิศใต ติดกับอ ำเภอบ้ำนลำด อ ำเภอท่ำยำงและอ ำเภอแก่งกระจำน จังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออก ติดกับทะเลอำวไทย ทิศตะวันตก ติดกับสำธำรณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภำพเมียนมำร์ รับผิดชอบการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโรงเรียนในสังกัด จ านวน 90 โรงเรียน ครอบคลุม พื้นที่ 4 อ าเภอ ประกอบด้วยอ าเภอเมืองเพชรบุรี อ าเภอเขาย้อย อ าเภอบ้านแหลม และอ าเภอหนองหญ้าปล้อง


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 2 ตารางสรุปจ านวนนักเรียนแยกรายโรงเรียน ปีการศึกษา 2565 (ณ 10 มิ.ย. 2565) ที่ ชื่อโรงเรียน นร.ชาย นร.หญิง รวม (คน) อ าเภอเมือง 5,247 1 อนุบำลเพชรบุรี 691 743 1,434 2 บ้ำนพี่เลี้ยง (อิ่มอุทิศ) 0 0 0 3 วัดพระรูป (จันทศรีสงเครำะห์) 10 6 16 4 วัดหนองไม้เหลือง (ธรรมโชติประชำธร) 17 29 46 5 วัดถิ่นปุรำ (เดชสมบูรณ์) 22 20 42 6 บ้ำนดอนยำง 28 24 52 7 วัดนำพรม (มนมหำวิริยำคำร) 99 98 197 8 บ้ำนดอนมะขำมช้ำง (ใจรำษฎร์อุปถัมภ์) 24 24 48 9 วัดทองนพคุณ (เจริญรำษฎร์วิทยำคำร) 66 66 132 10 วัดโพธิ์ทัยมณี(ศิริพรรณพิทยำ) 25 27 52 11 วัดบันไดทอง (วิเศษศึกษำ) 34 31 65 12 วัดดอนไก่เตี้ย 1,070 1,092 2,162 13 วัดโพพระใน (รุ่งรังสฤษฏ์) 39 33 72 14 วัดเพรียง (วิเทศรำษฎร์วัฒนำ) 27 28 55 15 บ้ำนบ่อหวำย 15 17 32 16 บ้ำนไร่ดอน 23 27 50 17 วัดโรงเข้(พุฒประชำสรรค์) 48 46 94 18 วัดเวียงคอย(สว่ำงแสงวิทยำ) 23 25 48 19 วัดลำดโพธิ์(รวมรำษฎร์วิทยำคำร) 19 14 33 20 วัดหนองหว้ำ (เสธิยสำธร) 14 27 41 21 บ้ำนบ่อโพง 39 42 81 22 บ้ำนดอนนำลุ่ม 52 38 90 23 บ้ำนโตนดน้อย 27 22 49 24 บ้ำนบ่อขม 30 31 61 25 บ้ำนหนองพลับ (อินทจิตบ ำรุง) 11 13 24 26 บ้ำนดอนยี่กรอก 30 21 51 27 วัดสิงห์(ขจิตพุทธสรศึกษำ) 34 18 52 28 วัดเขมำภิรัติกำรำม(เกษมรำษฎร์บ ำรุง) 26 12 38 29 บ้ำนบำงกุฬำ 26 20 46 30 หำดเจ้ำส ำรำญ (พรหมำนุกูล) 14 12 26 31 วัดบำงทะลุ (สุนทรธรรมำนุสรณ์) 30 28 58


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 3 ที่ ชื่อโรงเรียน นร.ชาย นร.หญิง รวม (คน) อ าเภอเขาย้อย 1,869 32 บ้ำนเขำย้อย 95 86 181 33 วัดท้ำยตลำด (วิวัฒน์เกษนรำประชำนุกูล) 74 49 123 34 วัดยำง (เย็นประชำสรรค์) 69 62 131 35 วัดดอนทรำย (สัมฤทธิ์รำษฎร์นุเครำะห์) 21 22 43 36 วัดเทพประชุมนิมิตร (สำตรรำษฎร์บ ำรุง) 21 22 43 37 วัดโพธิ์(ชื่นศรีผดุง) 16 7 23 38 วัดกุฎิ(ชุ่มประชำรังสรรค์) 74 72 146 39 วัดหนองส้ม 52 40 92 40 บ้ำนสระพัง 6 6 12 41 บ้ำนหนองชุมพล 158 112 270 42 บ้ำนหนองประดู่ 3 6 9 43 ไทยรัฐวิทยำ 13 (บ้ำนพุม่วง) 30 29 59 44 วัดทรงธรรม 10 9 19 45 บ้ำนเนินรัก 93 94 187 46 วัดมณีเลื่อน 49 54 103 47 วัดหนองปรง (บุญมำนุสรณ์) 89 74 163 48 วัดเขำสมอระบัง 35 44 79 49 วัดกุญชรวชิรำรำม (พัฒนำวิเทศประชำสรรค์) 31 17 48 50 วัดห้วยโรง (หนึ่งนฤมิตรพิทยำคำร) 74 64 138 อ าเภอบ้านหนองหญ้าปล้อง 1,328 51 บ้ำนท่ำตะคร้อมิตรภำพที่192(อนุสรณ์แด่พลเอกกฤษณ์) 116 97 213 52 บ้ำนหนองรี 49 39 88 53 บ้ำนสำมเรือน 20 24 44 54 บ้ำนพุพลู 56 60 116 55 บ้ำนยำงน้ ำกลัดใต้ 107 74 181 56 บ้ำนปำกรัตน์ 19 22 41 57 บ้ำนท่ำเสลำ 47 43 90 58 บ้ำนลิ้นช้ำง 25 21 46 59 บ้ำนยำงน้ ำกลัดเหนือ 50 49 99 60 บ้ำนจะโปรง 43 27 70 61 บ้ำนหนองไผ่ 27 19 46 62 บ้ำนไทรงำม 4 5 9 63 บ้ำนอ่ำงศิลำ 22 30 52 64 บ้ำนหนองหญ้ำปล้อง (อุดมวนำ) 108 125 233 .


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 4 ที่ ชื่อโรงเรียน นร.ชาย นร.หญิง รวม อ าเภอบ้านแหลม 3,134 65 บ้ำนท่ำแร้ง (สหรำษฎร์) 106 104 210 66 บ้ำนคลองมอญ 40 29 69 67 วัดไทรทอง (สำครรำษฎร์สงเครำะห์) 101 88 189 68 วัดกุฎิ(นันทวิเทศประชำสรรค์) 57 45 102 69 บ้ำนเหมืองไทร 60 40 100 70 บ้ำนบำงแก้ว(ส ำนักงำนสลำกกินแบ่งสงเครำะห์ 44) 117 111 228 71 วัดรำษฎร์ศรัทธำ 34 37 71 72 วัดบำงขุนไทร (ผดุงวิทยำ) 99 93 192 73 วัดดอนผิงแดด (ผลสิริรำษฎร์รังสรรค์) 54 67 121 74 วัดปำกคลอง (ศุทยำลัยอุทิศ) 105 70 175 75 วัดเขำตะเครำ (ประสพประชำสรรค์) 55 57 112 76 บ้ำนทุ่งเฟื้อ (เอมสะอำดอ ำนวย) 15 18 33 77 วัดบำงล ำภู 35 21 56 78 บ้ำนบำงหอ (โสภณเชำวน์รำษฎร์รังสรรค์) 13 18 31 79 บ้ำนสำมแพรก 22 12 34 80 วัดลัด (บำงตะบูนวิทยำคำร) 25 18 43 81 วัดเกำะแก้ว 55 42 97 82 วัดปำกอ่ำว (ญำณสำครวิทยำคำร) 54 59 113 83 อนุบำลวัดต้นสน(บุญมีโชติวิทยำ) 135 103 238 84 บ้ำนแหลม 267 267 534 85 วัดในกลำง 75 52 127 86 มิตรภำพที่ 34 30 41 71 87 วัดนอกปำกทะเล 27 26 53 88 บ้ำนดอนมะขำม 20 21 41 89 วัดสมุทรโคดม 24 14 38 90 วัดสมุทรธำรำม 31 25 56 รวม 5,962 5,616 11,578


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 5 1.2 อ านาจหน้าที่ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 เป็นหน่วยงำนอยู่ภำยใต้กำรก ำกับ ดูแลของส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตำมพระรำชบัญญัติบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ.2546 และประกำศของกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในเขตพื้นที่กำรศึกษำ พ.ศ.2561 มีบทบำทหน้ำที่ ดังนี้ 1.2.1 จัดท ำนโยบำยแผนพัฒนำและมำตรฐำนกำรศึกษำของเขตพื้นที่กำรศึกษำให้สอดคล้องกับ นโยบำยมำตรฐำนกำรศึกษำ แผนกำรศึกษำ แผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและควำมต้องกำรของท้องถิ่น 1.2.2 วิเครำะห์กำรจัดตั้งงบประมำณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถำนศึกษำและหน่วยงำนในเขตพื้นที่ กำรศึกษำและแจ้งกำรจัดสรรงบประมำณที่ได้รับให้หน่วยงำนต้นสังกัดทรำบ รวมทั้งก ำกับ ตรวจสอบ ติดตำม กำรใช้จ่ำยงบประมำณของหน่วยงำนดังกล่ำว 1.2.3 ประสำน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนำหลักสูตรร่วมกับสถำนศึกษำในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.4 ก ำกับ ดูแล ติดตำมและประเมินผลสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนและในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.5 ศึกษำวิเครำะห์ วิจัยและรวบรวมข้อมูลสำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.6 ประสำนกำรระดมทรัพยำกรด้ำนต่ำง ๆ รวมทั้งทรัพยำกรบุคคล เพื่อส่งเสริมสนับสนุน กำรจัดและพัฒนำกำรศึกษำในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.7 จัดระบบกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ และประเมินผลสถำนศึกษำในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.8 ประสำน ส่งเสริม สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นรวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชำชีพ สถำนบันศำสนำ สถำนประกอบกำรและสถำบันอื่น ที่จัดกำรศึกษำรูปแบบที่หลำกหลำยในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.9 ด ำเนินกำรและประสำน ส่งเสริม สนับสนุนกำรวิจัยและพัฒนำกำรศึกษำในเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1.2.10 ประสำน ส่งเสริมกำรด ำเนินกำรของคณะกรรมกำร คณะอนุกรรมกำรและคณะท ำงำนด้ำนกำรศึกษำ 1.2.11 ประสำนกำรปฏิบัติรำชกำรทั่วไปกับองค์กร หรือหน่วยงำนต่ำง ๆ ทั้งภำครัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.2.12 ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย มีกำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ จ ำนวน 9 กลุ่ม 1 หน่วย ดังนี้ 1) กลุ่มอ ำนวยกำร 2) กลุ่มนโยบำยและแผน 3) กลุ่มส่งเสริมกำรศึกษำทำงไกล เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร 4) กลุ่มบริหำรงำนกำรเงินและสินทรัพย์ 5) กลุ่มบริหำรงำนบุคคล 6) กลุ่มพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ 7) กลุ่มนิเทศ ติดตำม และประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ 8) กลุ่มส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ 9) กลุ่มกฎหมำยและคดี 10) หน่วยตรวจสอบภำยใน


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 6 โครงสร้างข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 1.3 สภาพการจัดการศึกษาส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 1.3.1 ด้านปริมาณ 1) นักเรียน จ ำนวนนักเรียนปีกำรศึกษำ 2565 จ ำนวน 11,578 คน อ าเภอ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวมนักเรียน เมืองเพชรบุรี 692 4,505 50 5,247 เขาย้อย 365 1,324 180 1,869 หนองหญ้าปล้อง 250 974 104 1,328 บ้านแหลม 702 2,190 242 3,134 รวม 2,009 8,993 576 11,578 ที่มา : ข้อมูลสำรสนเทศทำงกำรศึกษำ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 ปีกำรศึกษำ 2565 ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2565


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 7 จ ำนวนโรงเรียนในสังกัด นักเรียน แยกตำมอ ำเภอ ปีกำรศึกษำ 2565 อ าเภอ โรงเรียน นักเรียน ห้องเรียน เมืองเพชรบุรี 31 5,247 315 เขาย้อย 19 1,869 162 บ้านแหลม 26 3,134 123 หนองหญ้าปล้อง 14 1,328 235 รวม 90 11,578 835 ที่มา : ข้อมูลสำรสนเทศทำงกำรศึกษำส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 ปีกำรศึกษำ 2565 ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2565 2) ขนาดโรงเรียน ในปีกำรศึกษำ 2565 โรงเรียนในสังกัดส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 มีโรงเรียนขนำดเล็กจ ำนวนมำกกระจำยอยู่ทุกอ ำเภอ ซึ่งขนำดโรงเรียนจ ำแนก ออกเป็น 7 ขนำด โดยใช้เกณฑ์จ ำนวนโรงเรียนก ำหนดขนำดโรงเรียน ดังนี้ ขนาดโรงเรียน เมืองเพชรบุรี เขาย้อย บ้านแหลม หนองหญ้า ปล้อง รวม จ านวน ร้อยละ ขนาดที่ 1 (มีนักเรียน 1 - 120 คน) 27 11 17 11 66 73.33 ขนาดที่ 2 (มีนักเรียน 121 - 200 คน) 2 7 5 1 15 16.67 ขนาดที่ 3 (มีนักเรียน 201 - 300 คน) - 1 3 2 6 6.67 ขนาดที่ 4 (มีนักเรียน 301 - 499 คน) - - - - - - ขนาดที่ 5 (มีนักเรียน 500 - 1,499 คน) 1 - 1 - 2 2.22 ขนาดที่ 6 (มีนักเรียน 1,500 - 2,499 คน) 1 - - - 1 1.11 ขนาดที่ 7 (มีนักเรียน 2,500 คนขึ้นไป) - - - - - - รวม 31 19 26 14 90 100 ที่มำ : ข้อมูลสำรสนเทศทำงกำรศึกษำ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 ปีกำรศึกษำ 2565 ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2565


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 8 3) บุคลากร ข้อมูลอัตราก าลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติงานในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2565 ที่ ประเภท/ต าแหน่ง ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ช านาญงา น ช านาญกา ร ช าน าญ ก าร พิเศษ รวม 1 ผู้บริหารการศึกษา -ผอ.สพป.เพชรบุรี เขต 1 1 1 -รอง ผอ.สพป.เพชรบุรี เขต 1 0 0 2 บุคลการทางการศึกษา 38 ค(1) -ศึกษำนิเทศก์ 3 6 9 3 บุคลการทางการศึกษา 38 ค(2) -นักจัดกำรงำนทั่วไป 0 1 1 -นักวิชำกำรศึกษำ 3 1 4 -นักประชำสัมพันธ์ 1 1 -นักทรัพยำกรบุคคล 4 2 6 -นักวิชำกำรกำรเงินและบัญชี 2 2 4 -นักวิชำกำรพัสดุ 1 1 -นักวิชำกำรตรวจสอบภำยใน 1 1 2 -นักวิเครำะห์นโยบำยและแผน 3 1 4 -นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ 1 1 -เจ้ำพนักงำนธุรกำร 3 2 5 -เจ้ำพนักงำนกำรเงินและบัญชี 2 2 -นิติกร 1 1 2 -เจ้ำพนักงำนพัสดุ 1 1 4 พนักงานราชการและลูกจ้าง - พนักงำนรำชกำร 4 - ลูกจ้ำงประจ ำ 5 - ลูกจ้ำงชั่วครำว 5 - ลูกจ้ำงเหมำบริกำร 8 รวมทั้งสิ้น 66


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 9 ข้อมูลอัตราก าลังข้าราชการครูและบุคลากรในสถานศึกษา ข้อมูล ณ กันยายน 2565 ต าแหน่ง วิทยฐานะ ระดับ ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา(คน) ต าแหน่ง ชาย หญิง รวม 1.ผู้อ ำนวยกำรโรงเรียน ช ำนำญกำร ค.ศ.2 7 10 17 ช ำนำญกำรพิเศษ ค.ศ.3 25 28 53 เชี่ยวชำญ ค.ศ.4 - - - รวม 32 38 70 2.รองผู้อ ำนวยกำรโรงเรียน ค.ศ.1 1 1 2 ช ำนำญกำร ค.ศ.2 2 - 2 ช ำนำญกำรพิเศษ ค.ศ.3 1 2 3 เชี่ยวชำญ ค.ศ.4 - - - รวม 4 3 7 3.ครู - ค.ศ.1 44 205 249 ช ำนำญกำร ค.ศ.2 17 110 127 ช ำนำญกำรพิเศษ ค.ศ.3 21 161 182 เชี่ยวชำญ ค.ศ.4 - - - รวม 82 476 558 4.ครูผู้ช่วย - ครูผู้ช่วย 22 78 100 5.ลูกจ้ำงประจ ำ - - 27 - 27 6.พนักงำนรำชกำร - - 1 2 3 7.ลูกจ้ำงชั่วครำว - - 36 70 106 รวมทั้งหมด 204 667 871


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 10 1.3.2 ด้านคุณภาพ 1) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) - ตำรำงเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 ระหว่ำงปีกำรศึกษำ 2563 และ ปีกำรศึกษำ 2564 ระหว่ำงส ำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 กับระดับประเทศโดยภำพรวมมีรำยละเอียดดังนี้ ที่มา : รายงานผลการประเมินคุณภาพระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Oกลุ่มสาระวิชา ประเทศ สพฐ. สพป.เพชรบุรี เขต 1 2563 2564 เพิ่ม/ ลด 2563 2564 เพิ่ม/ ลด 2563 2564 เพิ่ม/ลด ภำษำไทย 56.20 50.38 -5.82 54.96 49.54 -5.42 59.73 58.50 -1.23 ภำษำอังกฤษ 43.55 39.22 -4.33 38.87 35.46 -3.41 45.80 47.76 1.96 คณิตศำสตร์ 29.99 36.83 6.84 28.59 35.85 7.26 36.12 47.60 11.48 วิทยำศำสตร์ 38.78 34.31 -4.47 37.64 33.68 -3.96 41.44 38.84 -2.60 รวม/เฉลี่ย 42.13 40.19 -1.95 40.02 38.63 -1.38 45.77 48.18 2.40 หมายเหตุ : จ านวนนักเรียนที่เข้าสอบ ระดับเขต 642 คน ระดับสพฐ. 288,214 คน ระดับประเทศ 433,211 คน


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 11 - ตำรำงเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET)) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2563 และ ปีกำรศึกษำ 2564 ระหว่ำงส ำนักงำนเขตพื้นที ่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 กับระดับประเทศโดยภำพรวมมีรำยละเอียดดังนี้ หมายเหตุ : จ านวนนักเรียนที่เข้าสอบ ระดับเขต 84 คน ระดับสพฐ. 243,410 คน ระดับประเทศ 335,583 คน 2) ผลการผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 - ตำรำงเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษำ ปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2563 และ ปีกำรศึกษำ 2564 มีรำยละเอียดดังนี้ ทักษะ ประเทศ สพฐ. สพป.เพชรบุรี เขต 1 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 เพิ่ม/ลด ด้ำนภำษำไทย 47.46 56.14 8.68 47.76 55.48 7.72 51.14 60.75 9.61 ด้ำนคณิตศำสตร์ 40.47 49.44 8.97 41.33 48.73 7.40 47.29 52.50 5.21 เฉลี่ย/ผลต่าง 43.97 52.79 8.83 44.55 52.11 7.56 49.22 56.63 7.41 หมายเหตุ : จ ำนวนนักเรียนที่เข้ำสอบระดับเขตพื้นที่กำรศึกษำ จ ำนวน 728 คน (ปกติ 713 คน, พิเศษ 15 คน) กลุ่มสาระ วิชา ประเทศ สพฐ. สพป.เพชรบุรี เขต 1 2563 2564 เพิ่ม/ ลด 2563 2564 เพิ่ม/ลด 2563 2564 เพิ่ม/ ลด ภำษำไทย 54.29 51.19 -3.10 55.18 52.13 -3.05 50.53 52.87 2.34 ภำษำอังกฤษ 34.38 31.11 -3.27 34.14 30.79 -3.35 28.97 27.57 -1.40 คณิตศำสตร์ 25.46 24.47 -0.99 25.82 24.75 -1.07 21.26 22.26 1.00 วิทยำศำสตร์ 29.89 31.45 1.56 30.17 31.67 1.50 28.27 30.23 1.96 รวม/เฉลี่ย 36.01 34.56 -1.45 36.33 34.84 -1.49 32.26 33.23 0.98


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 12


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 13 ส่วนที่ 2 ทิศทางการขับเคลื่อนคุณภาพขั้นพื้นฐาน ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบุรี เขต 1 ได้ศึกษำวิเครำะห์บริบทที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย พระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศึกษำของพระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทร มหำวชิรำลงกรณฯ พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว แผนระดับที่ 1 ยุท ธศ ำสต ร์ช ำติ20 ปี(พ .ศ. 2561 - 2580) แผนระดับที่ 2 แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศ ึกษำ นโยบำยรัฐบำล แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) แผนระดับที่ 3 แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 -2579 นโยบำยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษำธิกำร ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 และ พ.ศ. 2567 นโยบำยและจุดเน้นส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 และ พ.ศ. 2567 แผนพัฒนำจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2566 – 2570 ดังนี้ แผนส าคัญ นโยบายส าคัญที่เกี่ยวข้อง 1. พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว ด้านการศึกษา พระองค์ท่านต้องการสร้างให้คนไทยมีคุณสมบัติ4 ด้าน 1.๑ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้ำนเมือง - มีควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อชำติบ้ำนเมือง - ยึดมั่นในศำสนำ - มั่นคงในสถำบันพระมหำกษัตริย์ - มีควำมเอื้ออำทรต่อครอบครัว และชุมชนของตน ๑.2 มีพื้นฐำนชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม - รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ชอบ/ชั่ว-ดี - ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดีงำม - ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว - ช่วยกันสร้ำงคนดีให้แก่บ้ำนเมือง ๑.3 มีงำนท ำ - มีอำชีพ - เลี้ยงดูลูกหลำนในครอบครัว หรือกำรฝึกฝนอบรมในสถำนศึกษำต้องมุ่งให้เด็กและเยำวชนรักงำน สู้งำน ท ำจนงำนส ำเร็จ - กำรฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ต้องมีจุดมุ่งหมำยให้ผู้เรียนท ำงำนเป็น และมีงำนท ำในที่สุด - ต้องสนับสนุนผู้ส ำเร็จหลักสูตรมีอำชีพ มีงำนท ำ จนสำมำรถเลี้ยงตัวเองและครอบครัว ๑.4 เป็นพลเมืองดี - กำรเป็นพลเมืองดี เป็นหน้ำที่ของทุกคน - ครอบครัว สถำนศึกษำ และสถำนประกอบกำร ต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกำสท ำหน้ำที่เป็นพลเมืองดี - กำรเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะท ำเพื่อบ้ำนเมืองได้ก็ต้องท ำ” เช่น งำนอำสำสมัคร งำนบ ำเพ็ญประโยชน์ งำนสำธำรณกุศล ให้ท ำด้วยควำมมีน้ ำใจและเอื้ออำทร


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 14 แผนระดับที่ 1 2. ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) มีวิสัยทัศน์ยุทธศำสตร์และเป้ำหมำยในกำรพัฒนำ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำ ของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจ ำชำติว่ำ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศำสตร์ด้ำนควำมมั่นคง 2. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 3. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ 4. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 5. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ เป้าหมาย 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มีเป้าหมายดังนี้ 1.๑ ประชำชนอยู่ดีกินดี และมีควำมสุข 1.๒ บ้ำนเมืองมีควำมมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ 1.๓ กองทัพ หน่วยงำนด้ำนควำมมั่นคง ภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำชน มีควำมพร้อม ในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมมั่นคง 1.๔ ประเทศไทยมีบทบำทด้ำนควำมมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับกำรยอมรับโดยประชำคมระหว่ำงประเทศ 1.๕ กำรบริหำรจัดกำรควำมมั่นคงมีผลส ำเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่ำงมีประสิทธิภำพ 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายดังนี้ ๒.๑ ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนำแล้ว เศรษฐกิจเติบโตอย่ำงมีเสถียรภำพและยั่งยืน ๒.๒ ประเทศไทยมีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันสูงขึ้น 3. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายดังนี้ 3.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภำพ พร้อมส ำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ 3.๒ สังคมไทยมีสภำพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อกำรพัฒนำคนตลอดช่วงชีวิต 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายดังนี้ 4.๑ สร้ำงควำมเป็นธรรม และลดควำมเหลื่อมล้ ำในทุกมิติ 4.๒ กระจำยศูนย์กลำงควำมเจริญทำงเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกำสให้ทุกภำคส่วนเข้ำมำเป็นก ำลัง ของกำรพัฒนำประเทศในทุกระดับ 4.๓ เพิ่ มขีดควำมสำมำรถของชุมชนท้ องถิ่นในกำรพัฒนำ กำรพึ่งตนเองและกำรจัดกำรตนเอง เพื่อสร้ำงสังคมคุณภำพ 5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายดังนี้ 5.๑ อนุรักษ์และรักษำทรัพยำกรธรรมชำติสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้อย่ำงยั่งยืน มีสมดุล 5.๒ ฟื้นฟูและสร้ำงใหม่ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบทำงลบ จำกกำรพัฒนำสังคมเศรษฐกิจของประเทศ 5.๓ ใช้ประโยชน์และสร้ำงกำรเติบโต บนฐำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ ่งแวดล้อมให้สมดุล ภำยในขีดควำมสำมำรถของระบบนิเวศ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 15 5.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อก ำหนดอนำคตประเทศด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม บนหลักของกำรมีส่วนร่วม และธรรมำภิบำล 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายดังนี้ 6.1 ภำครัฐมีวัฒนธรรมกำรท ำงำนที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง ควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำงสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 6.๒ ภำครัฐมีขนำดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง 6.๓ ภำครัฐมีควำมโปร่งใส ปลอดกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ 6.๔ กระบวนกำรยุติธรรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ แผนระดับที่ 2 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติเป็นส่วนส ำคัญในกำรถ่ำยทอดเป้ำหมำยและประเด็นยุทธศำสตร์ ของยุทธศำสตร์ชำติลงสู่แผนระดับต่ำง ๆ ต่อไป ซึ่งได้ค ำนึงถึงประเด็นร่วมหรือประเด็นตัดข้ำมยุทธศำสตร์และ กำรประสำนเชื่อมโยงเป้ำหมำยของแต่ละแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติให้มีควำมสอดคล้องไปในทิศทำง เดียวกัน โดยแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติจะประกอบด้วย สถำนกำรณ์และแนวโน้มที่เกี่ยวข้อง ของแผนแม่บท เป้ำหมำยและตัวชี้วัดในกำรด ำเนินกำรซึ่งแบ่งช่วงเวลำออกเป็น ๔ ช่วง ช่วงละ ๕ ปี รวมทั้งก ำหนด แนวทำงกำรพัฒนำ และแผนงำน/โครงกำรที่ส ำคัญของแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ เพื ่อเป็นกรอบ ในกำรด ำเนินกำรของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องให้บรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศที่ก ำหนดไว้ในยุทธศำสตร์ชำติ ว่ำ “ป ร ะเทศช ำติมั่นคง ป ร ะช ำชนมีค ว ำมสุข เศ รษ ฐกิจพัฒน ำอย่ ำงต่อเนื่อง สังคมเป็น ธ ร รม ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภำพของประเทศในหลำกหลำยมิติ พัฒนำคนในทุกมิติและ ในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง มีคุณภำพ สร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม สร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภำครัฐของประชำชนเพื่อประชำชนและประโยชน์ส่วนรวม”แผนแม่บท ภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ มีจ ำนวนรวม ๒๓ ฉบับ ประกอบด้วย (๑) ควำมมั ่นคง (๒) กำรต ่ำงประเทศ (๓) กำรเกษตร (๔) อุตสำหกรรรมและบริกำรแห่งอนำคต (๕) กำรท่องเที่ยว (๖) พื้นที่และเมืองน่ำอยู่อัจฉ ริยะ (๗) โครงสร้ำงพื้นฐำน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล (๘) ผู้ประกอบกำรและวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมยุคใหม่ (๙) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (๑๐) กำรปรับเปลี ่ยนค่ำนิยม และวัฒนธรรม (๑๑) ศักยภำพคนตลอดช่วงชีวิต (๑๒) กำรพัฒนำกำรเรียนรู้(๑๓) กำรเสริมสร้ำงให้คนไทยมีสุขภำวะที่ดี(๑๔) ศักยภำพกำรกีฬำ (๑๕) พลังทำงสังคม (๑๖) เศรษฐกิจฐำนรำก (๑๗) ควำมเสมอภำคและหลักประกันทำงสังคม (๑๘)กำรเติบโตอย่ำงยั่งยืน (๑๙) กำรบริหำรจัดกำรน้ ำทั้งระบบ (๒๐) กำรบริกำรประชำชนและประสิทธิภำพภำครัฐ (๒๑) กำรต่อต้ำน กำรทุจริตและประพฤติมิชอบ (๒๒) กฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม และ (๒๓) กำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรม แผนแม ่บทภ ำยใต้ย ุท ธศ ำสต ร์ช ำติจะเป็นกลไกส ำคัญในก ำรขับเคลื ่อนย ุท ธศ ำสต ร์ช ำติ ให้บรรลุตำมเป้ำหมำยที่วำงไว้ในปี ๒๕๘๐ ซึ่งประเทศและประชำชนทุกกลุ่มวัยจะได้รับประโยชน์ดังนี้ 1. วัยครรภ์มำรดำถึงปฐมวัย เด็กและมำรดำทุกคนจะได้รับกำรดูแลตั้งแต ่เริ ่มตั้งครรภ์ ที่ถูกต้องตำมหลักวิชำกำร โภชนำกำร และสมวัย ผ่ำนระบบบริกำรสำธำรณะที่มีกระจำยครอบคลุมทั่วทุกภูมิภำค อย่ำงทั่วถึงด้วยบริกำรและเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ที่ทันสมัย และมีคุณภำพ เด็กจะเกิดมำท่ำมกลำง สภำพแวดล้อมทำงสังคมที่ปลอดภัย สงบสุข เติบโตในสภำพแวดล้อมธรรมชำติที่ดี มีทรัพยำกรธรรมชำติที่จ ำเป็น ต่อกำรเติบโตได้รับกำรเลี้ยงดูจำกทั้งพ่อและแม่ของเด็ก ที่จะมีเวลำให้กับลูกของตนมำกขึ้น พร้อมทั้ง มีสิ ่งอ ำนวยควำมสะดวกต ่ำง ๆ ทั้งเทคโนโลยีและนวัตกรรมกำรเลี้ยงดูและศูนย์เด็กเล็กที ่พ่อแม ่ทุกคน สำมำรถเข้ำถึง มีคุณภำพและเอื้อต่อกำรเลี้ยงดูเด็กให้เติบโตได้อย่ำงดี มีทักษะ สุขภำพกำยและสุขภำพใจที่ดีพร้อม มีพัฒนำกำรที่สมวัย


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 16 2. วัยประถม ถึง มัธยมต้น ซึ่งเป็นช่วงกำรศึกษำภำคบังคับ จะได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพ มีหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำสมรรถนะหลักที่จ ำเป็นต่อผู้เรียน มีดิจิทัล แพลตฟอร์มเพื่อกำรเรียนรู้แห่งชำติที่สำมำรถขยำยควำมรู้และวิธีกำรเรียนไปสู่โรงเรียน นักเรียน และครูที่ครอบคลุม ทั่วประเทศ รวมทั้ง ผู้เรียนในพื้นที่ห่ำงไกลและขำดแคลนทุนทรัพย์จะได้รับโอกำสในกำรศึกษำที่เท่ำเทียมและ ทั่วถึงในทุก ๆ พื้นที่ เพื่อให้นักเรียนได้รับกำรปูพื้นฐำนควำมพร้อมทั้งกำย ใจ และปัญญำ ให้พร้อมรองรับ กำรพัฒนำของช่วงวัยต่อไป และได้รับกำรปลูกฝังวัฒนธรรมกำรใช้ชีวิตในสังคมที่ดี ให้เป็นคนดีมีจิตสำธำรณะ มีควำมรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีวินัย พร้อมเติบโตเป็นคนที่มีคุณภำพของประเทศต่อไป 3. วัยรุ่น นักศึกษำ จะได้รับกำรเรียนรู้ให้มีทักษะและองค์ควำมรู้ที่จ ำเป็นต่อกำรเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ ๒๑ อย่ำงมีคุณภำพ ได้รับกำรพัฒนำวินัย คุณธรรม จริยธรรม ตระหนักถึงควำมส ำคัญ ของกำรมีสุขภำวะที่ดี ได้รับควำมรู้และกำรพัฒนำสมรรถนะที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรภำคกำรผลิต ของประเทศ สร้ำงผู้ประกอบกำร เพื่อพัฒนำประเทศไทยสู่ประเทศพัฒนำแล้วด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี แห่งอนำคตผ่ำนสถำบันกำรศึกษำยุคใหม่ท ำหน้ำที่ให้ควำมรู้ ส่งเสริม สนับสนุน ควำมรู้ในทำงวิชำกำร ที ่สำมำรถใช้องค์ควำมรู้ทำงวิชำกำรในกำรวิจัยและสร้ำงสรรค์นวัตกรรมในด้ำนวิทยำศำสตร์ สังคมศำสตร์ มนุษยศำสตร์และใส่ใจศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ควำมเป็นไทที่สอดคล้องกับ กำรพัฒนำประเทศสู่กำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศที่ทัดเทียมกับนำนำประเทศทั่วโลก 4. วัยท ำงำน จะได้รับกำรพัฒนำศักยภำพที่จ ำเป็นต่อกำรท ำงำนและกำรใช้ชีวิตอย่ำงต่อเนื่อง ให้เป็นคนไทยที่มีทักษะสูง มีองค์ควำมรู้ฐำนสมรรถนะที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำดงำนในทุกสำยอำชีพ ทั้งในภำครัฐและเอกชน รวมทั้งจะได้รับกำรสนับสนุนให้มีช่องทำงกำรหำรำยได้ที่หลำกหลำยขึ้น เพื่อสร้ำงควำมมั่นคง ทำงรำยได้ อำทิ ธุรกิจสตำร์ทอัพที่ก ำลังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ซึ่งจะสำมำรถเป็นช่องทำงธุรกิจ ที่ขยำยวงกว้ำงไปยังต่ำงประเทศ มีภูมิคุ้มกันต่อกำรเปลี่ยนแปลงในมิติต่ำง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนำคต ขณะเดียวกัน จะได้รับประโยชน์จำกกำรกระจำยควำมเจริญที่จะไปสู่ทุกภูมิภำคของประเทศในอนำคต ส่งผลให้ประชำกรวัย ท ำงำนสำมำรถท ำงำนได้ในภูมิล ำเนำของตนเอง มีโอกำสได้อยู่ใกล้ชิดกับครอบครัว ท ำให้ครอบครัวมีควำมอยู่ดี มีสุขเพิ ่มม ำกขึ้น โดยที ่แต ่ล ะพื้นที ่/ภูมิภ ำคจ ะได้รับ ก ำ รพัฒ น ำให้สอดคล้องกับศักยภ ำพทั้งใน ภ ำคอุตส ำหกร รม บ ริก ำ รและท ่องเที ่ย ว และภ ำคเกษต ร มีโค รงส ร้ำงพื้นฐ ำนที ่เกี ่ยวข้องที ่เอื้อ และอ ำนวยควำมสะดวกต่อกำรใช้ชีวิตและกำรท ำงำน 5. วัยสูงอำยุ จะได้รับกำรดูแลทั้งด้ำนสุขภำพ กำรด ำรงชีวิตที่เหมำะสมกับแต่ละช่วงวัยของผู้สูงอำยุ ทั้งผู้สูงอำยุวัยต้นอำยุ ผู้สูงอำยุวัยกลำงอำยุ และผู้สูงอำยุวัยปลำย มีอุปกรณ์ที่ได้รับกำรพัฒนำให้มีควำมทันสมัย มีกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ เพื่ออ ำนวยควำมสะดวกแก่ผู้สูงอำยุให้สำมำรถด ำเนินชีวิต ได้อย่ำงมีคุณภำพ สำมำรถช่วยเหลือตนเองได้ได้รับกำรบริกำรสำธำรณะที่มีประสิทธิภำพและคุณภำพ อยู่ในสภำพแวดล้อมที่เป็นมิตรและเอื้ออ ำนวยต่อกำรด ำเนินชีวิต ส่งเสริมและสนับสุนนให้มีส่วนร่วมทำงสังคม มีสุขภำพกำยและใจที่ดี และเป็นแรงพลังในกำรช่วยขับเคลื่อนและพัฒนำประเทศ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติทั้ง ๒๓ ฉบับเป็นกำรก ำหนดประเด็นในลักษณะที่มีควำมบูรณำ กำรและเชื ่อมโยงระหว ่ำงยุทธศำสตร์ชำติด้ำนที ่เกี ่ยวข้อง และประเด็นกำรพัฒนำจะไม ่มีควำมซ้ ำซ้อนกัน ระหว่ำงแผนแม่บทฯ เพื่อให้ส่วนรำชกำรสำมำรถน ำแผนแม่บทฯ ไปใช้ในทำงปฏิบัติได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและ ป้องกันกำรเกิดควำมสับสน โดยแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติเป็นแผนระดับที่ ๒ ที่มีควำมส ำคัญในกำรเป็นแนวทำงกำรพัฒนำ และขับเคลื่อนประเทศเพื่อให้บรรลุตำมเป้ำหมำยของยุทธศำสตร์และถ่ำยทอดไปสู่แนวทำงในกำรปฏิบัติในแผนระดับที่ ๓ ของหน่วยงำน ตำมมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๔ ธันวำคม ๒๕๖๐ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติทั้ง ๒๓ ฉบับ จึงมีกำรก ำหนดองค์ประกอบของแผนตำมหลักกำรควำมสัมพันธ์เชิงเหตุผล ที่ต้องมีกำรระบุแนวทำงกำรพัฒนำ และกำรด ำเนินแผนงำน/โครงกำรต่ำง ๆ ที่ต้องสำมำรถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของเป้ำหมำยของยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงเป็นรูปธรรม


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 17 3.1 โครงสร้างของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติทั้ง ๒๓ ฉบับมีองค์ประกอบหลัก ๒ ส่วน ได้แก่ 3.1.1 ประเด็นแผนแม่บท ประกอบด้วย เป้ำหมำย ตัวชี้วัด และค่ำเป้ำหมำยในระดับประเด็น เพื่อใช้ติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนในระดับผลลัพธ์ขั้นกลำง 3.1.2 แผนย่อยของแผนแม่บทฯ ประกอบด้วย เป้ำหมำย ตัวชี้วัด และค่ำเป้ำหมำยในระดับ เพื่อใช้ติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนในระดับผลลัพธ์ขั้นต้น 3.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติทั้ง ๒๓ ฉบับนี้ มีส่วนที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ดังนี้ 3.2.1 ประเด็นความมั่นคง แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ประเด็นควำมมั่นคง ถือเป็นกรอบแนวทำงกำรด ำเนินกำรหลัก ที่จะน ำไปสู่จุดหมำยปลำยทำงในภำพรวมที่เป็นรูปธรรมชัดเจนในระยะ ๒๐ ปี ตำมที่ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมมั่นคง ได้ก ำหนดเอำไว้ ซึ่งก็คือ “ประเทศชำติมั่นคง ประชำชนมีควำมสุข” โดยมีเป้ำหมำยส ำคัญ ประกอบด้วย (๑) ประชำชนอยู่ ดี กินดีและมีควำมสุข (๒) บ้ำนเมืองมีควำมมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ (๓)กองทัพ หน่วยงำนด้ำนควำมมั่นคง ภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำชน มีควำมพร้อมในกำรป้องกันและ แก้ไขปัญหำควำมมั่นคง (๔) ประเทศไทยมีบทบำท ด้ำนควำมมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับกำรยอมรับ โดยประชำคมระหว่ำงประเทศ และ(๕) กำรบริหำรจัดกำรควำมมั่นคง มีผลส ำเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยดังกล่ำวข้ำงต้น จึงได้ก ำหนดแผนย่อย แนวทำง กำรพัฒนำ เป้ำหมำยและตัวชี้วัด ตลอดถึงแผนงำน โครงกำร และกิจกรรมส ำคัญ ที่จะต้องด ำเนินกำรให้บังเกิดผล เป็นรูปธรรม ในห้วงระยะเวลำ ๕ - ๑๐ - ๑๕ - ๒๐ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ประกอบด้วย ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ด ำเนินกำร“ปรับสภำพแวดล้อม พร้อมแก้ไขปัญหำ” ให้ลดระดับลงอย่ำงมีนัยส ำคัญส ำหรับในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐ จะด ำเนินกำรให้ “ปัญหำเก่ำหมดไป ปัญหำใหม่ไม่เกิด” เอื้อต่อกำรบริหำรประเทศมำกยิ่งขึ้น เพื่อเป็นฐำน น ำไปสู่เป้ำหมำยในช่วงปี พ.ศ.๒๕๗๑ - ๒๕๗๕ ที่ก ำหนดไว้ว่ำ “ประเทศชำติพัฒนำ ปวงประชำร่วมผลักดัน” จนกระทั่ง สำมำรถบรรลุเป้ำหมำยสุดท้ำย ในห้วงปีพ.ศ.๒๕๗๖ – ๒๕๘๐ ที่ว่ำ “ประเทศชำติมั่นคง ประชำชนมีควำมสุข” เป้าหมาย ๑. ประเทศชาติมีความมั่นคงในทุกมิติ และทุกระดับเพิ่มขึ้น ๒. ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุขดีขึ้น ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย โดยสำระส ำคัญประกอบไปด้วยแผนย่อย จ ำนวนทั้งสิ้น ๕ แผนย่อย ได้แก่ 1) การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร้ำงควำมสงบให้เกิดขึ้นในประเทศชำติบ้ำนเมือง เอื้อต่อกำรบริหำรและพัฒนำประเทศตำมยุทธศำสตร์ชำติและนโยบำยที่ก ำหนด สังคมมีควำมเข้มแข็งสำมัคคี ปรองดอง ประชำชนอยู่ดี กินดี และมีควำมสุข โดยมีแนวคิดในกำรด ำเนินกำรที่ส ำคัญ คือ กำรสร้ำงควำมมั่นคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สร้ำงควำมรัก ควำมสำมัคคี ควำมส ำนึกจงรักภักดี และควำมภำคภูมิใจในชำติ ให้เกิดขึ้นกับประชำชนทุกหมู่เหล่ำ ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมกำรปกครองในระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ ทรงเป็นประมุขที่มีเสถียรภำพและธรรมำภิบำล เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชำติเหนือกว่ำประโยชน์ส่วนตน ตลอดถึงกำรพัฒนำปรับปรุงกลไกกำรบริหำรจัดกำรที่มีประสิทธิภำพอย่ำงเป็นรูปธรรม


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 18 2) การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง เพื่อเร่งรัดด ำเนินกำรแก้ไข ปัญหำด้ำนควำมมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบันอย่ำงจริงจังให้หมดไปในที่สุด (ภำยใน ๑๐ ปี) พร้อมทั้งพัฒนำกลไก เฝ้ำระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหำด้ำนควำมมั่นคงที่อำจจะเกิดขึ้นใหม่อย่ำงเป็นรูปธรรม รวมถึงพิทักษ์ รักษำไว้ซึ่งสถำบันพระมหำกษัตริย์ เอกรำช อธิปไตย บูรณภำพแห่งอำณำเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชำติ ควำมมั่นคงของรัฐ และควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน และกำรพัฒนำประเทศ ตำมที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย โดยมีแนวคิดในกำรด ำเนินกำรที่ส ำคัญคือกำรวิเครำะห์และระบุ สำเหตุที่แท้จริงของปัญหำในแต่ละเรื่องให้ชัดเจน วำงแผนบูรณำกำรในกำรแก้ไขปัญหำตำมล ำดับควำมเร่งด่วนของ ปัญหำ มีกำรติดตำมตรวจสอบที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนพัฒนำกลไกในกำรเฝ้ำระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหำ ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและอำจจะเกิดขึ้นใหม่ให้ชัดเจนและมีประสิทธิภำพ 3) การพัฒนาศักยภาพของประเทศ ให้พร้อมเผชิญอุปสรรคที่กระทบต่อควำมมั่นคงของชำติ เพื่อยกระดับขีดควำมสำมำรถของกองทัพและหน่วยงำนด้ำนควำมมั่นคงทั้งระบบของประเทศ ให้มีควำมพร้อม ในกำรป้องกันและรักษำอธิปไตยของประเทศ สำมำรถติดตำม แจ้งเตือน ป้องกัน แก้ไขปัญหำ และรับมือกับอุปสรรค รวมทั้งปัญหำที่อำจกระทบต่อควำมมั่นคงในทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับควำมรุนแรง ตลอดถึงสำมำรถ พิทักษ์รักษำไว้ซึ่งสถำบันพระมหำกษัตริย์ เอกรำช อธิปไตย บูรณภำพแห่งอำณำเขตและเขตที่ประเทศไทย มีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชำติ ควำมมั่นคงของรัฐ และควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน และกำรพัฒนำประเทศ ได้ตำมที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยอย่ำงมีประสิทธิภำพ ตำมบทบำทหน้ำที่ที่ก ำหนด โดยมีแนวคิดในกำรด ำเนินกำรที่ส ำคัญคือพัฒนำระบบงำนด้ำนกำรข่ำวกรอง ให้มีประสิทธิภำพ สำมำรถติดตำม แจ้งเตือน ระงับยับยั้ง ป้องกันปัญหำและอุปสรรคได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ก่อนจะเกิดเหตุกำรณ์หรือเหตุกำรณ์จะลุกลำมต่อไป ในขณะเดียวกัน จะต้องมีแผนในกำรพัฒนำศักยภำพกองทัพ และหน่วยงำนด้ำนควำมมั่นคง ทั้งคน เครื่องมือ/ยุทโธปกรณ์ แผนปฏิบัติกำรตลอดจนกำรฝึกและระบบกำรบริหำรจัดกำร ให้มีควำมพร้อมอย่ำงเพียงพอและเป็นรูปธรรมในกำรเผชิญกับอุปสรรคต่ำง ๆ ที่อำจเกิดขึ้น เช่น กำรป้องกันประเทศ ภัยจำกกำรก่อกำรร้ำย อำชญำกรรมข้ำมชำติตลอดจนสำธำรณภัยและภัยพิบัติต่ำง ๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ พร้อมทั้ง จัดท ำแนวทำงในกำรบริหำรจัดกำร และ/หรือแผนปฏิบัติกำร ในกำรเผชิญกับอุปสรรคแต ่ละมิติให้เป็น รูปธรรมและมีประสิทธิภำพด้วย 4) การบูรณาการความร่วมมือ ด้านความมั่นคงกับอาเซียน และนานาชาติ รวมทั้งองค์กร ภาครัฐและมิใช่ภาครัฐ เพื่อส่งเสริมควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศในทุกระดับเพื่อเตรียมควำมพร้อมของไทย ในกำรรับมือต่อควำมท้ำทำยด้ำนควำมมั่นคงในอนำคต โดยส่งเสริมควำมมั่นคงแบบองค์รวม รวมถึงควำมมั่นคง ของโครงสร้ำงพื้นฐำนและของมนุษย์ควบคู่กับควำมมั่นคงทำงทหำร และนอกเหนือจำกกำรเสริมสร้ำง ขีดควำมสำมำรถของประเทศไทยในกำรรับมืออุปสรรคจำกภำยนอกแล้ว ยังจะต้องด ำเนินกำรเชิงรุก ในด้ำนกำรเสริมสร้ำงควำมมั่นคงและควำมปลอดภัยในภูมิภำคไปพร้อมกันด้วย เพื่อมุ่งลดควำมเสี่ยงหรือ ป้องกันปัญหำที่อำจส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในอนำคตได้ 5) การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีกลไก ในกำรแก้ไข ปัญหำ ตลอดจนขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมมั่นคงที่เป็นรูปธรรม โดยมีแนวคิดในกำรด ำเนินกำร ที่ส ำคัญคือกำรปรับโครงสร้ำง บทบำท อ ำนำจหน้ำที่ และระบบกำรบริหำรจัดกำรของส ำนักงำนสภำควำมมั่นคง แห่งชำติกองอ ำนวยกำรรักษำควำมมั ่นคงภำยในรำชอำณำจักร (กอ.รมน.) และศูนย์อ ำนวยกำรรักษำ ผลประโยชน์ของชำติทำงทะเล (ศรชล.) ให้มีประสิทธิภำพมำกขึ้น


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 19 3.2.2 ประเด็นการต่างประเทศ 3.2.3 ประเด็นการเกษตร 3.2.4 ประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 3.2.5 ประเด็นการท่องเที่ยว 3.2.6 ประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ 3.2.7 ประเด็นโครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล 3.2.8 ประเด็นผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ 3.2.9 ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3.2.10 ประเด็นการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม ยุทธศำสตร์ชำติให้ควำมส ำคัญกับกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ เนื่องจำกเป็นปัจจัยพื้นฐำนในกำรพัฒนำ ด้ำนต่ำง ๆ ของประเทศในระยะยำว โดยกำรจะพัฒนำประชำกรที่ดีและสมบูรณ์นั้น นอกจำกกำรยกระดับ ในด้ำนสุขภำวะและด้ำนทักษะกำรศึกษำแล้ว จะต้องพัฒนำด้ำนค่ำนิยมและวัฒนธรรมที่ดีของประชำชนทุกกลุ่มวัย ควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยของยุทธศำสตร์ชำติ ในกำรพัฒนำคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภำพ โดยในช่วงที่ผ่ำนมำประชำกรไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหำด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและ ไม่ตระหนักถึงควำมส ำคัญของกำรมีวินัย ควำมซื่อสัตย์สุจริต และกำรมีจิตสำธำรณะดังปรำกฏในผลกำรส ำรวจด้ำน คุณธรรม จริยธรรมต่ำง ๆ อำทิกำรส ำรวจโดยศูนย์คุณธรรม (องค์กรมหำชน) เมื่อปี ๒๕๖๑ พบว่ำ ปัญหำควำม ซื่อสัตย์สุจริตทุจริตคอรัปชั่น เป็นปัญหำที่มีควำมรุนแรงมำกที่สุด (ระดับควำมรุนแรง ๔.๑๓ จำกคะแนนเต็ม ๕.๐๐)และ จ ำเป็นต้องได้รับกำรแก้ไขปัญหำมำกที ่สุดรองลงมำคือปัญหำจิตส ำนึกสำธำรณะเห็นแก่ประโยชน์ส ่วนตัว มำกกว่ำส่วนรวม ซึ่งอำจสะท้อนกำรเปลี่ยนไปของวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่มีค่ำนิยมยึดตนเองเป็นหลักมำกกว่ำ กำรค ำนึงถึงสังคมส่วนรวม เป้าหมาย คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและมีความรักและภูมิใจในความเป็นไทย คนไทยน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด ารงชีวิต สังคมไทยมีความสุขและเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ดัชนีคุณธรรม ๕ ประการ (ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิตสาธารณะ การเป็นอยู่อย่างพอเพียง การกระท าอย่างรับผิดชอบ ความเป็นธรรมทางสังคม)


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 20 ดังนั้น จึงจ ำเป็นต้องก ำหนดให้มีแผนแม ่บท ด้ำนกำรป รับเปลี ่ยนค ่ำนิยมและวัฒนธรรม เพื่อปลูกฝังค่ำนิยมวัฒนธรรมที่พึงประสงค์ของประชำชนไทยในช่วงระยะเวลำ ๒๐ ปีข้ำงหน้ำ โดยเฉพำะกำรมีวินัยควำม ซื่อสัตย์สุจริต กำรมีจิตอำสำ จิตสำธำรณะและควำมตระหนักถึงหน้ำที่ต่อประโยชน์ส่วนรวม รวมทั้งกำร ส่งเสริมให้ ประชำชนยึดมั่นสถำบันหลักที่เป็นศูนย์รวมจิตใจให้เกิดควำมรัก ควำมสำมัคคี ควำมภำคภูมิใจในควำมเป็นไทยที่ มีอัตลักษณ์และควำมโดดเด่นจนเป็นที่ประจักษ์แก่สำยตำชำวโลก ทั้งในด้ำนควำมมีน้ ำใจ ควำมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ควำมมีไมตรีและควำมเป็นมิตร โดยมุ่งเน้นให้สถำบันทำงสังคมร่วมปลูกฝังค่ำนิยม วัฒนธรรมที่พึงประสงค์ ซึ่งบูรณำกำรร่วมระหว่ำงภำคีต่ำง ๆ อำทิ ครอบครัว ชุมชน ศำสนำ กำรศึกษำ สื่อ ภำคเอกชน และภำคประชำสังคม ในกำรหล่อหลอมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม ในลักษณะที่เป็น ‘วิถี’ กำรด ำเนินชีวิต โดยวำงรำกฐำนกำรพัฒนำคน ให้มีควำมสมบูรณ์ เริ่มตั้งแต่กำรพัฒนำคนให้มีสุขภำพกำยและใจที่ดี บนพื้นฐำนของกำรมีส่วนร่วมของสถำบันสังคม และวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง ทั้งครอบครัว ชุมชน ศำสนำ กำรศึกษำ สื่อ และภำคเอกชน โดยแผนแม่บทฯ ประกอบด้วย ๓ แผนย่อย ดังนี้ 1) การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและการเสริมสร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองที่ดี ผ่ำนกำรเลี้ยงดูในครอบครัว กำรบูรณำกำรเรื่องควำมซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม ในกำรจัดกำรเรียน กำรสอน กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งของสถำบันทำงศำสนำ กำรปลูกฝังค่ำนิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐำน กำรส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสำธำรณะ จิตอำสำและรับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมทั้ง กำรสร้ำงเสริมผู้น ำกำรเปลี่ยนแปลง และต้นแบบที่ดีทั้งระดับบุคคลและองค์กร 2) การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงค์จากภาคธุรกิจ โดยกำรเสริมสร้ำงและพัฒนำ กลไก เพื่อให้ภำคธุรกิจ ส่งเสริมสนับสนุนและสร้ำงค่ำนิยมและวัฒนธรรมที่ดี และกำรยกระดับกำรบริหำรจัดกำร รวมถึงมำตรกำรของภำครัฐเพื่อให้ภำคธุรกิจร่วมรับผิดชอบในกำรปรับเปลี่ยนค่ำนิยมและวัฒนธรรม 3) การใช้สื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม โดยกำรพัฒนำสื่อ สร้ำงสรรค์และเสริมสร้ำงค่ำนิยมที่ดีให้กับเยำวชน และประชำชนทั่วไป พัฒนำสื่อเผยแพร่ เพื่อสร้ำงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม และจัดสรรเวลำและเปิดพื้นที่ให้สื่อสร้ำงสรรค์ส ำหรับเด็ก เยำวชน และ ประชำชน ในกำรปลูกจิตส ำนึกและสร้ำงเสริมค่ำนิยมที่ดี 3.2.11 ประเด็นศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ยุทธศำสตร์ชำติได้ก ำหนดเป้ำหมำยกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำให้ประเทศเจริญก้ำวหน้ำไปในอนำคต ซึ่งทรัพยำกรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนส ำคัญในกำรยกระดับกำรพัฒนำประเทศในทุกมิติไปสู่เป้ำหมำย กำรเป็นประเทศที่พัฒนำแล้วที่ขับเคลื่อนโดยภูมิปัญญ ำและนวัตกรรมในอีก ๒๐ ปีข้ำงหน้ำ อีกทั้ง กำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงประชำกรที่มีสัดส่วนประชำกรวัยแรงงำนและวัยเด็กที่ลดลงและประชำกรสูงอำยุ ที่เพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง จะเป็นปัจจัยเสี่ยงส ำคัญที่จะท ำให้กำรพัฒนำประเทศในมิติต่ำง ๆ มีควำมท้ำทำยเพิ่มมำกขึ้น งในส่วนของเสถียรภำพทำงกำรเงินของประเทศในกำรจัดสวัสดิกำรเพื่อดูแลผู้สูงอำยุที่เพิ่มสูงขึ้น กำรลงทุนและกำรออม กำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจของประเทศ ควำมมั่นคงทำงสังคม กำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงยั่งยืน ซึ่งจะเป็นประเด็นท้ำทำยต่อกำรขับเคลื่อนประเทศไปสู่กำรเป็นประเทศพัฒนำแล้ว โดยปัจจุบัน โครงสร้ำง ประชำกรไทยก ำลังเปลี่ยนแปลงเข้ำสู่สังคมสูงวัย และจะเปลี่ยนแปลงอย่ำงสมบูรณ์ในช่วงปี๒๕๖๔ ซึ่งท ำให้ ประชำกรวัยแรงงำนจะมีจ ำนวนสูงสุดและเริ่มลดลงอย่ำงต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อศักยภำพกำรเติบโต ทำงเศรษฐกิจของประเทศในระยะยำว นอกจำกนี้ อัตรำกำรเจริญพันธุ์รวมของประชำกรไทย ในปี ๒๕๖๑ อยู่ที่ ๑.๕๘ ซึ่งต่ ำกว่ำระดับทดแทน นอกจำกนี้ กลุ่มวัยต่ำง ๆ ยังคงมีปัญหำและควำมท้ำทำยในแต่ละกลุ่ม อำทิ โภชนำกำร ในกลุ่มเด็กปฐมวัย ควำมสำมำรถทำงเชำว์ปัญญำ และควำมฉลำดทำงอำรมณ์ของกลุ่มวัยรุ่น ผลิตภำพแรงงำนต่ ำ ในกลุ่มวัยแรงงำน และปัญหำสุขภำพของกลุ่มผู้สูงอำยุ เป็นต้น


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 21 เป้าหมาย คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกายสติปัญญา และคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ รักการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ดัชนีการพัฒนามนุษย์(Human Development Index) ดังนั้น จึงจ ำเป็นต้องมีกำรวำงรำกฐำนกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ของประเทศอย่ำงเป็นระบบ โดยจ ำเป็นต้องมุ่งเน้นกำรสร้ำงสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพมนุษย์ สร้ำงควำมอยู่ดีมีสุข ของครอบครัวไทย ซึ่งเป็นหน่วยที่ย่อยที่สุดเพื่อให้สำมำรถเป็นพลังในกำรขับเคลื่อนช่วยเหลือสังคม พัฒนำและ ยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยำกรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภำพ พร้อมขับเคลื่อนกำรพัฒนำ ประเทศไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงเต็มศักยภำพ ซึ่ง“คนไทยในอนำคตจะต้องมีควำมพร้อมทั้งกำย ใจ สติปัญญำ มีพัฒนำกำรที่ดีรอบด้ำนและมีสุขภำวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสำธำรณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอำรี มีวินัย รักษำศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชำติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จ ำเป็นในโลกอนำคต สำมำรถใช้ภำษำไทยได้ดี มีทักษะสื่อสำรภำษำอังกฤษและภำษำที่ ๓ รวมทั้งอนุรักษ์ภำษำท้องถิ่น มีนิสัยรักกำรเรียนรู้ และกำรพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่กำรเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนักพัฒนำเทคโนโลยีระดับสูง และนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบกำร เกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมีสัมมำชีพตำมควำมถนัดของตนเอง” แผนแม่บท ประเด็น กำรพัฒนำศักยภำพคนตลอดช่วงชีวิต ได้ก ำหนดแผนย่อยไว้ ๕ แผนย่อย เพื่อพัฒนำและยกระดับ ทรัพยำกรมนุษย์ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เต็มศักยภำพและเหมำะสม ดังนี้ 1) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ พัฒนำ ทรัพยำกรมนุษย์ของประเทศ โดยจ ำเป็นต้องมุ่งเน้นกำรพัฒนำและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็น ทรัพยำกรมนุษย์ที่ดีเก่ง และมีคุณภำพ พร้อมขับเคลื่อนกำรพัฒนำประเทศไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงเต็มศักยภำพ ซึ่งจ ำเป็นต้องมีกำรเสริมสร้ำงสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ อย่ำงเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน สังคม และกำรมีระบบและกลไกรองรับกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ที่มีประสิทธิภำพ 2) การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย โดยจัดให้มีกำรเตรียมควำมพร้อม ให้แก่พ ่อ – แม ่ ก ่อนกำรตั้งครรภ์พร้อมทั้งส ่งเสริมอนำมัยแม ่และเด็กตั้งแต ่เริ่มตั้งครรภ์ ส ่งเสริมและ สนับสนุนให้โรงพยำบำลทุกระดับ ด ำเนินงำนตำมมำตรฐำนงำนอนำมัยแม่และเด็กสู่มำตรฐำนโรงพยำบำลและ บริกำรสุขภำพ ส่งเสริมและสนับสนุนกำรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสำรอำหำรที่จ ำเป็นต่อสมองเด็ก กำรกระตุ้น พัฒนำกำรสมองและกำรพัฒนำเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนำกำรที่สมวัยทุกด้ำน ๓) แผนย่อยการพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังควำมเป็นคนดีมีวินัย พัฒนำทักษะควำมสำมำรถที่สอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเฉพำะทักษะด้ำนกำรคิดวิเครำะห์สังเครำะห์ ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำที่ซับซ้อน มีภูมิคุ้มกันต่อปัญหำหรืออำชญำกรรมต่ำง ๆ มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ มีควำมสำมำรถในกำรท ำงำนร่วมกับผู้อื ่นมีควำมยืดหยุ ่นทำงควำมคิด รวมถึงทักษะด้ำนภำษำ ศิลปะ และควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีและได้รับกำรพัฒนำเต็มตำมศักยภำพ สอดคล้องกับควำมสำมำรถ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 22 ควำมถนัดและควำมสนใจ รวมถึงกำรวำงพื้นฐำนกำรเรียนรู้เพื่อกำรวำงแผนชีวิตและวำงแผนทำงกำรเงิน ที่เหมำะสมในแต่ละช่วงวัยและน ำไปปฏิบัติได้ตลอดจนกำรพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ที่เชื่อมต่อกับโลกกำรท ำงำน รวมถึงทักษะอำชีพที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของประเทศ มีทักษะชีวิต สำมำรถอยู่ร่วมและท ำงำนกับผู้อื่นได้ ภำยใต้สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม ซึ่งหำกมีกำรออกแบบกระบวนกำรเรียนรู้และมีหลักสูตรกำรศึกษำที่เอื้อ ต่อทักษะชีวิต มีกำรเสริมสร้ำงประสบกำรณ์ชีวิต ทักษะชีวิต และทักษะอำชีพในหลักสูตร และสร้ำงกำรมีงำนท ำ ของวัยเรียน/วัยรุ่น จะช่วยให้กำรพัฒนำเด็กและเยำวชนบังเกิดผลสัมฤทธิ์ 4) การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน ด้วยกำรยกระดับศักยภำพทักษะและ สมรรถนะของคนในช่วงวัยท ำงำนให้สอดคล้องกับควำมสำมำรถเฉพำะบุคคลและควำมต้องกำรของตลำดแรงงำน เพื่อสร้ำงควำมเข้มแข็งของเศรษฐกิจและผลิตภำพเพิ่มขึ้นให้กับประเทศ เสริมสร้ำงควำมอยำกรู้และยกระดับตนเอง สร้ำงวัฒนธรรมกำรท ำงำนที่พึงประสงค์ และควำมรู้ควำมเข้ำใจและทักษะทำงกำรเงินเพื่อเสริมสร้ำงควำมมั่นคงและ หลักประกันของตนเองและครอบครัว ส่งเสริมและสนับสนุนกำรพัฒนำควำมรู้แรงงำนฝีมือให้เป็นผู้ประกอบกำรใหม่ และสำมำรถพัฒนำต่อยอดควำมรู้ในกำรสร้ำงสรรค์งำนใหม่ ๆ และสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่ดีให้กับวัยท ำงำน ผ่ำนระบบกำรคุ้มครองทำงสังคมและกำรส่งเสริมกำรออม 5) การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุโดยส่งเสริมกำรมีงำนท ำของผู้สูงอำยุให้พึ่งพำตนเองได้ทำง เศรษฐกิจ และร่วมเป็นพลังส ำคัญต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ชุมชนและประเทศ ส่งเสริมและพัฒนำระบบกำรออม พื่อสร้ำงหลักประกันควำมมั่นคงในชีวิตหลังเกษียณ และหลักประกันทำงสังคมที่สอดคล้องกับควำมจ ำเป็นพื้นฐำน ในกำรด ำรงชีวิต และส่งเสริมสนับสนุนระบบกำรส่งเสริมสุขภำพดูแลผู้สูงอำยุ พร้อมทั้งจัดสภำพแวดล้อมให้เป็นมิตร กับผู้สูงอำยุ 3.2.12 ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ยุทธศำสตร์ชำติให้ควำมส ำคัญกับกำรพัฒนำศักยภำพและคุณภำพของประชำกรไทยทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภำพ ซึ่งกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ได้ให้ควำมส ำคัญกับกำรพัฒนำทั้งสอดคล้อง กับศักยภำพ ควำมสนใจ ควำมถนัด และกำรตระหนักถึงพหุปัญญำของมนุษย์ที่หลำกหลำย อำทิ ภำษำ ตรรกะ และคณิตศำสตร์ ด้ำนทัศนะและมิติ ดนตรี กีฬำและกำรเคลื่อนไหวของร่ำงกำย กำรจัดกำรตนเอง มนุษยสัมพันธ์ รวมถึงผู้มีควำมสำมำรถอันโดดเด่นด้ำนใดด้ำนหนึ่งหรือหลำยด้ำน ซึ่งจ ำเป็นต้องมีกำรพัฒนำระบบและปัจจัย ส่งเสริมต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องไปพร้อมกัน ทั้งในส่วนของระบบกำรเรียนกำรสอน และกำรพัฒนำทักษะฝีมือ รวมทั้ง กำรให้ควำมส ำคัญกับกำรส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยสำมำรถยกระดับเป็นเจ้ำของ เทคโนโลยีและนวัตกรรมก้ำวทันโลก ซึ่งกำรศึกษำและกำรเรียนรู้เป็นเครื่องมือส ำคัญในกำรพัฒนำศักยภำพ ของคนให้มีทักษะควำมรู้ ทักษะอำชีพบนฐำนพหุปัญญำ มีสมรรถนะที่มีคุณภำพสูง รู้เท่ำทันกำรเปลี่ยนแปลง ดังนั้น แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ประเด็นกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ ได้ก ำหนดประเด็น ยุทธศำสตร์ที่เน้นทั้งกำรแก้ไขปัญหำในปัจจุบัน และกำรเสริมสร้ำงและยกระดับกำรพัฒนำกำรศึกษำและ กำรเรียนรู้ทั้งกำรศึกษำในระบบ นอกระบบ และกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยกำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มีกำรออกแบบระบบกำรเรียนรู้ใหม่ กำรเปลี่ยนบทบำทครู กำรเพิ่มประสิทธิภำพระบบบริหำรจัดกำรศึกษำ และกำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนำผู้เรียน ให้สำมำรถก ำกับกำรเรียนรู้ที่เหมำะสมกับตนเองได้อย่ำงต่อเนื่องแม้จะออกจำกระบบกำรศึกษำแล้ว ควบคู่กับ กำรส่งเสริมกำรพัฒน ำคนไทยตำมพห ุปัญญ ำให้เต็มตำมศักยภ ำพ รวมถึงกำรส ร้ำงเสริมศักยภ ำพ ผู้มีควำมสำมำรถพิเศษให้สำมำรถต่อยอดกำรประกอบอำชีพได้อย่ำงมั่นคง โดยประกอบด้วย ๒ แผนย่อย ดังนี้


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 23 1) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยกำรปรับเปลี่ยนระบบกำรเรียนรู้ส ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ โดยพัฒนำกระบวนกำรเรียนรู้ในทุกระดับชั้น ตั้งแต่ปฐมวัย จนถึงอุดมศึกษำ ที่ใช้ฐำนควำมรู้และระบบคิดในลักษณะสหวิทยำกำร พัฒนำกระบวนกำรเรียนรู้ของผู้เรียน ทุกระดับกำรศึกษำ รวมถึงจัดกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อพัฒนำทักษะส ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ พัฒนำระบบกำร เรียนรู้เชิงบูรณำกำรที่เน้นกำรลงมือปฏิบัติ มีกำรสะท้อนควำมคิด/ทบทวนไตร่ตรอง พัฒนำระบบกำรเรียนรู้ที่ให้ ผู้เรียนสำมำรถก ำกับกำรเรียนรู้ของตนได้ เพื่อให้สำมำรถน ำองค์ควำมรู้ไปใช้สร้ำงรำยได้ รวมถึงมีทักษะด้ำน วิชำชีพและทักษะชีวิต เปลี่ยนโฉมบทบำท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยวำงแผนกำรผลิต พัฒนำและปรับบทบำท “ครู คณำจำรย์ยุคใหม่” ให้เป็น “ผู้อ ำนวยกำรกำรเรียนรู้” ปรับระบบกำรผลิตและพัฒนำครูตั้งแต่กำรดึงดูด คัดสรร ผู้มีควำมสำมำรถสูงให้เข้ำมำเป็นครู ส่งเสริมสนับสนุนระบบกำรพัฒนำศักยภำพและ สมรรถนะครูอย่ำงต่อเนื่อง ครอบคลุมทั้งเงินเดือน สำยอำชีพและระบบสนับสนุนอื่น ๆ กำรเพิ่มประสิทธิภำพ ระบบบริหำรจัดกำรศึกษำในทุกระดับ ทุกประเภท โดยปฏิรูปโครงสร้ำงองค์กรด้ำนกำรศึกษำให้มีประสิทธิภำพ จัดให้มีมำตรฐำนขั้นต่ ำของโรงเรียน ในทุกระดับ เพื่อผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนที่สูงขึ้น ปรับปรุงโครงสร้ำงกำรจัดกำรศึกษำให้มีประสิทธิภำพและ เพิ่มคุณภำพกำรศึกษำ ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมจำกภำคเอกชนในกำรจัดกำรศึกษำ พัฒนำระบบประกันคุณภำพ กำรศึกษำ โดยแยกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำออกจำกกำรประเมินคุณภำพและกำรรับรองคุณภำพและกำรก ำกับ ดูแลคุณภำพกำรศึกษำ ปฏิรูประบบกำรสอบที่น ำไปสู่กำรวัดผลในเชิงทักษะที่จ ำเป็นส ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ มำกกว่ำกำรวัดระดับควำมรู้ รวมทั้งส่งเสริมกำรวิจัยและใช้เทคโนโลยีในกำรสร้ำงและจัดกำรควำมรู้ กำรเรียนกำรสอน และกำรจัดกำรศึกษำเพื่อพัฒนำทักษะอำชีพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ กำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยจัดให้มีระบบกำรศึกษำและระบบฝึกอบรมบนฐำนสมรรถนะที่มีคุณภำพสูงและยืดหยุ่น มีมำตรกำรจูงใจและ ส่งเสริมสนับสนุนให้คนเข้ำสู่กำรใฝ่เรียนรู้ พัฒนำตนเอง รวมถึงกำรยกระดับทักษะวิชำชีพ พัฒนำระบบกำรเรียนรู้ ชุมชนให้เข้ำถึงได้ทุกที่ ทุกเวลำ โดยควำมร่วมมือจำกภำครัฐ ภำคเอกชนและภำคประชำสังคม พัฒนำระบบ เครือข่ำยเทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแฟลตฟอร์มเพื่อกำรศึกษำในทุกระดับทุกประเภทกำรศึกษำอย่ำงทั่วถึงและ มีประสิทธิภำพ พัฒนำโปรแกรมประยุกต์หรือสื่อกำรเรียนรู้ดิจิทัลที่มีคุณภำพที่นักเรียน นักศึกษำและประชำชน สำมำรถเข้ำถึงและใช้ประโยชน์ในกำรเรียนรู้และพัฒนำตนเองผ่ำนเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ รวมถึงกำรสร้ำง ระบบกำรศึกษำ เพื่อเป็นเลิศทำงวิชำกำรระดับนำนำชำติ โดยส่งเสริมและพัฒนำศักยภำพสถำบันกำรศึกษำ ที่มีควำมเชี่ยวชำญ และมีควำมโดดเด่นเฉพำะสำขำสู่ระดับนำนำชำติ สร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือทำงวิชำกำรและ แลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษำและบุคลำกรในระดับนำนำชำติ รวมถึงกำรพัฒนำศูนย์วิจัยเฉพำะทำง ศูนย์ฝึกอบรม และทดสอบในระดับภูมิภำค จัดให้มีกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ชำติไทยและประวัติศำสตร์ท้องถิ่น จัดให้มีกำรเรียนรู้ ประวัติศำสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนำกำรของประเทศเพื่อนบ้ำนในระบบกำรศึกษำ และ ส ำหรับประชำชน ส่งเสริมสนับสนุนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเด็ก เยำวชนและนักเรียนกับประเทศเพื่อนบ้ำน ในภูมิภำคเอเชียอำคเนย์ 2) การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ด้วยกำรพัฒนำและส่งเสริมพหุปัญญำ ผ่ำนครอบครัว ระบบสถำนศึกษำ สภำพแวดล้อม รวมทั้งสื่อ โดยพัฒนำระบบบริหำรจัดกำร กลไกกำรคัดกรอง และกำรส่งต่อเพื่อส่งเสริมกำรพัฒนำคนไทยตำมพหุปัญญำให้เต็มตำมศักยภำพ ส่งเสริมสนับสนุนครอบครัว ในกำรเสริมสร้ำงควำมสำมำรถพิเศษตำมควำมถนัดและศักยภำพ ทั้งด้ำนกีฬำ ภำษำและวรรณกรรม สุนทรียะศิลป์ ส่งเสริมสนับสนุนระบบสถำนศึกษำและสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรสร้ำงและพัฒนำเด็กและเยำวชน ที่มีควำมสำมำรถพิเศษบนฐำนพหุปัญญำ ส่งเสริมสนับสนุนมำตรกำรจูงใจแก่ภำคเอกชนและสื่อ ในกำรมีส่วนร่วม และผลักดันให้ผู้มีควำมสำมำรถพิเศษ มีบทบำทเด่นในระดับนำนำชำติ กำรสร้ำงเส้นทำงอำชีพ สภำพแวดล้อม กำรท ำงำน และระบบสนับสนุนที่เหมำะสมส ำหรับผู้มีควำมสำมำรถพิเศษ โดยจัดให้มีโครงสร้ำงพื้นฐำน และ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 24 ระบบสนับสนุนเพื่อผู้มีควำมสำมำรถพิเศษได้สร้ำงควำมเข้มแข็งและต่อยอดได้ จัดให้มีกลไกกำรท ำงำน ในลักษณะกำรรวมตัวของกลุ่มผู้มีควำมสำมำรถพิเศษในหลำกสำขำวิชำเพื่อรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยี ชั้นแนวหน้ำเพื่อพัฒนำต่อยอดงำนวิจัยเพื่อตอบโจทย์กำรพัฒนำประเทศ และสร้ำงควำมร่วมมือและเชื่อมต่อ สถำบันวิจัยชั้นน ำทั่วโลก เพื่อสร้ำงควำมเข้มแข็งให้นักวิจัยควำมสำมำรถสูงของไทยให้มีศักยภำพสูงยิ่งขึ้น 3.2.13 ประเด็นกำรเสริมสร้ำงให้คนไทยมีสุขภำวะที่ดี 3.2.14 ประเด็นศักยภำพกำรกีฬำ 3.2.15 ประเด็นพลังทำงสังคม 3.2.16 ประเด็นเศรษฐกิจฐำนรำก 3.2.17 ประเด็นควำมเสมอภำคและหลักประกันทำงสังคม 3.2.18 ประเด็นกำรเติบโตอย่ำงยั่งยืน 3.2.19 ประเด็นกำรบริหำรจัดกำรน้ ำทั้งระบบ 3.2.20 ประเด็นกำรบริกำรประชำชนและประสิทธิภำพภำครัฐ 3.2.๒๑ ประเด็นกำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ 3.2.๒๒ ประเด็นกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม และ 3.2.๒๓ ประเด็นกำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรม 4. แผนปฏิรูปประเทศด้านการศ ึกษา 4.1 วัตถุประสงค์ของการปฏิรูปการศึกษา มีดังนี้ 4.1.๑ ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา (enhance quality of education) ครอบคลุม 4.1.2 ลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา (reduce disparity in education) 4.1.3 มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (leverage excellence and competitiveness) หมำยถึง กำรสร้ำงสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีศักยภำพสูง มีควำมเป็นผู้น ำ ริเริ่มสร้ำงสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ และกำรผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชั้นแนวหน้ำให้สำมำรถต่อยอดงำนวิจัย ที่สำมำรถตอบโจทย์กำรพัฒนำประเทศ กำรสร้ำงควำมร่วมมือและเชื่อมต่อกับสถำบันวิจัยอื่นๆ ทั่วโลก สอดคล้องกับทิศทำงกำรขับเคลื่อนทำงเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ อีกทั้งสถำบันกำรศึกษำ ของไทยและระบบกำรศึกษำไทยต้องได้รับกำรยอมรับว่ำเทียบเคียงได้กับประเทศชั้นน ำอื่นๆ ๔.1.4 ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัว ในการรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษาและสร้างเสริมธรรมาภิบาล (improve Efficiency, agility and good governance) โดยเฉพำะกำรส่งเสริมและสร้ำงสมดุลของควำมคุ้มค่ำ ควำมโปร่งใส ควำมรับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งนี้ ระบบกำรศึกษำของประเทศที่มีธรรมำภิบำลจะเอื้อต่อกำรบรรลุต่อวัตถุประสงค์ข้อ ๑ - ๓ ข้ำงต้นอย่ำงครอบคลุมและสมดุล (balanced and inclusive achievement) 4.2 แผนงานเพื่อการปฏิรูปการศึกษา คณะกรรมกำรอิสระเพื่อกำรปฏิรูปกำรศึกษำ (กอปศ.) ได้ก ำหนดแผนงำนเพื่อกำรปฏิรูปกำรศึกษำ ๗ เรื่อง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของกำรปฏิรูปกำรศึกษำข้ำงต้น


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 25 4.3 แผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษา ดังนี้ 4.3.๑. ด้ำนกำรเมือง 4.3.๒. ด้ำนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน 4.3.๓ ด้ำนกฎหมำย 4.3.4 ด้ำนเศรษฐกิจ 4.3.๕ ด้ำนทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อม 4.3.๖ ด้ำนสำธำรณสุข 4.3.7 ด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ 4.3.8 ด้ำนสังคม 4.3.9 ด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ 4.3.10 ด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม 4.3.11 ด้ำนพลังงำน 4.4 ความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บท จำกสภำวกำรณ์และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนำคต ประเทศไทยจ ำเป็นต้องได้รับกำรพัฒนำ อย่ำงเร่งด่วน เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันด้ำนกำรศึกษำของประเทศไทยให้ทัดเทียมกับนำนำประเทศ ในกำรจัดท ำแผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ จึงได้ด ำเนินกำรให้มีควำมสอดคล้องกับแผนยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑3 (พ.ศ. ๒๕๖6 – ๒๕70) แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ดังรำยละเอียดต่อไปนี้ 4.4.๑ ควำมสอดคล้องของกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำกับแผนยุทธศำสตร์ชำติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) 4.4.2 ควำมสอดคล้องของกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม แห่งชำติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) 4.4.3 ควำมสอดคล้องของกำรปฏิรูปด้ำนกำรศึกษำกับแผนกำรศึกษำแห่งชำติ (พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๗๙) 4.5 เป้าหมายรวมและตัวชี้วัดของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ ได้ก ำหนดเป้ำหมำยรวมและตัวชี้วัดของกำรพัฒนำ กำรศึกษำในแต่ละเรื่อง ดังนี้ เรื่องที่ ๑ : กำรปฏิรูประบบกำรศึกษำและกำรเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระรำชบัญญัติ กำรศึกษำแห่งชำติฉบับใหม่และกฎหมำยล ำดับรอง เรื่องที่ 2 : กำรปฏิรูปกำรพัฒนำเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน เรื่องที่ 3 : กำรปฏิรูปเพื่อลดควำมเหลื่อมล้ ำทำงกำรศึกษำ เรื่องที่ 4 : กำรปฏิรูปกลไกและระบบกำรผลิต คัดกรอง และพัฒนำผู้ประกอบวิชำชีพครูและอำจำรย์ เรื่องที่ 5 : กำรปฏิรูปกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อตอบสนองกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ เรื่องที่ 6 : กำรปรับโครงสร้ำงของหน่วยงำนในระบบกำรศึกษำ เพื่อบรรลุเป้ำหมำยในกำรปรับปรุง กำรจัดกำรเรียนกำรสอนและยกระดับคุณภำพของกำรจัดกำรศึกษำ เรื่องที่ 7 : กำรปฏิรูปกำรศึกษำและกำรเรียนรู้โดยกำรพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล (Digitalization for Educational and Learning Reform)


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 26 5. นโยบายรัฐบาล ค ำแถลงนโยบำยของคณะรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภำ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กรกฎำคม ๒๕๖๒ ประเทศไทยมีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องผ่ำนวิสัยทัศน์และกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำของผู้น ำประเทศในอดีต และในวันนี้วิสัยทัศน์ในกำรขับเคลื่อนประเทศของรัฐบำลชุดนี้คือ“มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนำแล้ว ในศตวรรษที่ ๒๑” โดยรัฐบำลได้ก ำหนดนโยบำยในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ดังนี้ 5.1 นโยบายหลัก ๑๒ ด้าน 5.1.๑ กำรปกป้องและเชิดชูสถำบันพระมหำกษัตริย์ 5.๑.2 กำรสร้ำงควำมมั่นคงและควำมปลอดภัยของประเทศ และควำมสงบสุขของประเทศ 5.๑.3 กำรท ำนุบ ำรุงศำสนำ ศิลปะและวัฒนธรรม ๑) ปลูกฝังค่ำนิยมและวัฒนธรรมที่ดีทั้งด้ำนคุณธรรม จริยธรรม กตัญญูควำมซื่อสัตย์ กำรมีวินัย เคำรพกฎหมำย มีจิตสำธำรณะและกำรมีส่วนร่วมท ำประโยชน์ให้ประเทศ และเป็นพลเมืองที่ดี โดยส่งเสริมให้สถำบันกำรศึกษำ ภำคประชำสังคมและชุมชนเป็นฐำนในกำรบ่มเพำะ ส่งเสริมให้ภำคเอกชน ด ำเนินธุรกิจอย่ำงมีธรรมำภิบำล ให้สื่อมีบทบำทกระตุ้นและสร้ำงควำมตระหนักในค่ำนิยมที่ดีรวมถึงผลิตสื่อ ที่มีคุณภำพและมีควำมรับผิดชอบและเปิดพื้นที่สำธำรณะให้ประชำชนได้แสดงออกอย่ำงสร้ำงสรรค์ 5.๑.4 กำรสร้ำงบทบำทของไทยในเวทีโลก 5.๑.5 กำรพัฒนำเศรษฐกิจและควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของไทย 5.๑.6 กำรพัฒนำพื้นที่เศรษฐกิจและกำรกระจำยควำมเจริญสู่ภูมิภำค 5.๑.7 กำรพัฒนำสร้ำงควำมเข้มแข็งจำกฐำนรำก 5.๑.8 กำรปฏิรูปกระบวนกำรเรียนรู้และกำรพัฒนำศักยภำพของคนไทยทุกช่วงวัย ๑) ส่งเสริมกำรพัฒนำเด็กปฐมวัย ๑.๑) จัดให้มีระบบพัฒนำเด็กแรกเกิดอย่ำงต่อเนื่องจนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกำสพัฒนำ ตำมศักยภำพ เพื่อสร้ำงคนไทยที่มีพัฒนำกำรเต็มตำมศักยภำพผ่ำนครอบครัวที่อบอุ่นในทุกรูปแบบครอบครัว เพื่อส่งต่อกำรพัฒนำเด็กไทยให้มีคุณภำพสู่กำรพัฒนำในระยะถัดไปบนฐำนกำรให้ควำมช่วยเหลือ ที่ค ำนึงถึง ศักยภำพของครอบครัวและพื้นที่ เตรียมควำมพร้อมกำรเป็นพ่อแม่ ควำมรู้เรื่องโภชนำกำรและสุขภำพกำรอบรม เลี้ยงดูกำรส่งเสริมพัฒนำกำรเด็กปฐมวัยผ่ำนกำรให้บริกำรสำธำรณะที่เกี่ยวข้องโดยเฉพำะกำรยกระดับคุณภำพ สถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยทั่วประเทศให้ได้มำตรฐำนและพัฒนำศักยภำพของบุคลำกรทำงกำรศึกษำและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ให้สำมำรถจัดกำรศึกษำได้อย่ำงมีคุณภำพ ๑.๒) ส ่งเสริมกำรพัฒนำเด็กปฐมวัย โดยค ำนึงถึงพห ุปัญญำที ่หลำกหลำยของเด็ก แต่ละคนให้ได้รับกำรส่งเสริมและพัฒนำอย่ำงเต็มตำมศักยภำพ ผ่ำนกำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ที่เชื่อมโยง กับระบบโรงเรียนปกติที่เป็นระบบและมีทิศทำงที่ชัดเจน ๒) พัฒนำบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ๒.๑) ปรับรูปแบบกำรเรียนรู้และกำรสอนเพื่อพัฒนำทักษะและอำชีพของคนทุกช่วงวัยส ำหรับ ศตวรรษที่ ๒๑ ๒.๒) จัดกำรศึกษำเชิงบูรณำกำรกับกำรท ำงำนเพื่อพัฒนำสมรรถนะของผู้เรียน ๓) พัฒนำอำชีวะ พัฒนำคุณภำพวิชำชีพ และพัฒนำแรงงำนรองรับอุตสำหกรรม ๔.๐


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 27 ๔) ส่งเสริมกำรเรียนรู้และพัฒนำทักษะทุกช่วงวัย ๔.๑) มุ่งเน้นกำรพัฒนำโรงเรียนควบคู่กับกำรพัฒนำครู ๔.๒) พัฒนำแพลตฟอร์มกำรเรียนรู้ผ่ำนระบบดิจิทัล ๔.๓) ลดควำมเหลื่อมล้ ำทำงกำรศึกษำ ๔.๔) พัฒนำทักษะอำชีพทุกช่วงวัย ๔.5) จัดท ำระบบปริญญำชุมชนและกำรจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น 5.๑.9 กำรพัฒนำระบบสำธำรณสุขและหลักประกันทำงสังคม 5.1.10 กำรฟื้นฟูทรัพยำกรธรรมชำติและกำรรักษำสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้ำงกำรเติบโตอย่ำงยั่งยืน 5.1.11 กำรปฏิรูปกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ 5.1.12 กำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนกำรยุติธรรม 6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) 1. หมุดหมายที่ 12 ไทยมีก ำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง ตอบโจทย์กำรพัฒนำ แห่งอนำคต (หลัก) กลยุทธ์การพัฒนา กลยุทธ์ที่ 1 คนไทยทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ กลยุทธ์ย่อยที่ 1.1 พัฒนำเด็กช่วงตั้งครรภ์ถึงปฐมวัยให้มีพัฒนำกำรรอบด้ำน มีอุปนิสัยที่ดีโดย 1) กำรเตรียมควำมพร้อมพ่อแม่ผู้ปกครองและสร้ำงกลไกประสำนควำมร่วมมือ เพื่อดูแลหญิง ตั้งครรภ์ให้ได้รับบริกำรที่มีคุณภำพ และดูแลเด็กให้มีพัฒนำกำรสมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ – 6 ปี 2) กำรพัฒนำครูและผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้มีควำมรู้และทักษะกำรดูแลที่เพียงพอ มีจิตวิทยำกำร พัฒนำกำรของเด็กปฐมวัย สำมำรถท ำงำนร่วมกับพ่อแม่ผู้ปกครองในกำรส่งเสริมพัฒนำกำรด้ำนกำรเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัยให้มีพัฒนำกำรสมวัยตำมหลักกำรพัฒนำสมองและกระบวนกำรเรียนรู้แก่เด็ก ควบคู่กับกำรพัฒนำกำร ด้ำนร่ำงกำย สำธำรณสุข และโภชนำกำรเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนำกำรที่ดีอย่ำงรอบด้ำนก่อนเข้ำสู่วัยเรียน 3) กำรยกระดับสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยให้ได้มำตรฐำน และจัดสรรทรัพยำกรที่เพียงพอส ำหรับ กำรด ำเนินงำน เพื่อให้เป็นกลไกกำรพัฒนำเด็กปฐมวัยรำยพื้นที่ที่มีคุณภำพ 4) กำรสร้ำงสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้และกำรดูแลปกป้องเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนำกำร ที่ดีรอบด้ำน สติปัญญำสมวัย โดยกำรมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภำคประชำ สังคมและภำคเอกชน รวมถึงพัฒนำระบบสำรสนเทศเด็กรำยบุคคลเพื่อกำรส่งต่อไปยังสถำนศึกษำและกำรพัฒนำ ที่ต่อเนื่อง กลยุทธ์ย่อยที่ 1.2 พัฒนำผู้อยู่ในช่วงวัยกำรศึกษำระดับพื้นฐำนให้มีควำมตระหนักรู้ในตนเอง มีทักษะดิจิทัลและมีสมรรรถนะที่จ ำเป็นต่อกำรเรียนรู้ กำรด ำรงชีวิตและกำรท ำงำน โดย 1) กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้แนวใหม่ และขับเคลื่อนสู่กำรปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถ จัดกำรตนเอง มีควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร สำมำรถรวมพลังท ำงำนเป็นทีม มีกำรคิดขั้นสูงด้วยกำรจัดกำรเรียนรู้ เชิงรุก และขับเคลื่อนสู่กำรปฏิบัติโดยน ำร่องกับสถำนศึกษำที่มีควำมพร้อม และมีมหำวิทยำลัยในพื้นที่สนับสนุน ควำมรู้และควำมเชี่ยวชำญในด้ำนต่ำง ๆ 2) กำรยกระดับกำรอำชีวศึกษำ โดยกำรพัฒนำหลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอำชีพ ผู้ประกอบกำร และสถำบันอุดมศึกษำสำยปฏิบัติกำร เพื่อให้ผู้เรียนมีสมรรถนะตำมควำมต้องกำรของตลำดแรงงำน มีงำนท ำและมีรำยได้ตำมสมรรถนะ และเป็นผู้ประกอบกำรใหม่ได้


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 28 3) กำรยกระดับกำรผลิตและพัฒนำครูทั้งในด้ำนปริมำณและคุณภำพ โดยวำงแผนจ ำนวน ควำมต้องกำรครูในแต่ละสำขำ พัฒนำหลักสูตรกำรผลิตครูที่มีกำรเตรียมควำมพร้อมด้ำนวิชำกำรและด้ำนทักษะ กำรจัดกำรเรียนรู้ กำรใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมผ่ำนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่ำง ๆ พัฒนำระบบกำรคัดกรอง ที่สะท้อนสมรรถนะวิชำชีพครู ปรับบทบำทของครูจำก “ผู้สอน” เป็น “โค้ช” ที่อ ำนวยกำรเรียนรู้โดยยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลำง และมุ่งสู่กำรยกระดับครูสู่วิชำชีพชั้นสูง 4) กำรปรับปรุงระบบวัดและประเมินผู้เรียนให้มีควำมหลำกหลำยตำมสภำพจริง ตลอดจนมี กำรประเมินกำรเรียนรู้เพื่อปรับปรุงและพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้ที่เหมำะสมกับผู้เรียนเป็นรำยบุคคล ที่เชื่อมโยง สู่กำรท ำงำนในอนำคต 5) กำรพัฒนำระบบสนับสนุนกำรเรียนรู้ (1) กำรแก้ไขภำวะกำรถดถอยของควำมรู้ในวัยเรียนโดย สถำนศึกษำพัฒนำแนวปฏิบัติและระบบสนับสนุนที่เหมำะสม รวมทั้งส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนรู้แบบผสมผสำน และกำรเรียนรู้ที่บ้ำนในสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน (2) กำรพัฒนำระบบแนะแนวให้มีประสิทธิภำพ โดยพัฒนำครูและ ผู้ประกอบอำชีพแนะแนวให้สำมำรถร่วมวำงแผนเส้นทำงกำรเรียนรู้ กำรประกอบอำชีพ และกำรด ำเนินชีวิตของ ผู้เรียนได้ตำมควำมสนใจ ควำมถนัด (3) พัฒนำสถำนศึกษำและสร้ำงสังคมที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้อย่ำงปลอดภัยทั้งใน สังคมจริง และสังคมเสมือน โดยพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนทำงกำยภำพที่เหมำะสมกับกำรเรียนรู้ สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจแก่ครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และผู้เรียน ถึงแนวทำงกำรอยู่ร่วมกันในสังคมอย่ำงสงบสุขบนหลักของ กำรเคำรพควำมหลำกหลำยทั้งทำงควำมคิด มุมมองของคนระหว่ำงรุ่น และอัตลักษณ์ส่วนบุคคล เพื่อกำรวำง อนำคตในกำรพัฒนำประเทศร่วมกัน กำรส่งเสริมกำรเรียนรู้วิชำชีวิตในโรงเรียน ให้หลีกเลี่ยงยำเสพติดกำรพนัน และมีแนวปฏิบัติในกำรคุ้มครองสวัสดิภำพของผู้เรียน โดยเฉพำะจำกกำรถูกกระท ำโดยวิธีรุนแรงทั้งทำงกำย ทำงวำจำ และกำรกลั่นแกล้งในรูปแบบต่ำง ๆ (4) กำรปรับปรุงระบบกำรจัดสรรงบประมำณและทรัพยำกร ทำงกำรศึกษำ ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนเป็นส ำคัญ และอยู่บนหลักควำมเสมอภำคและเป็นธรรม รวมถึง กำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนทำงเทคโนโลยีและดิจิทัลให้มีควำมครอบคลุมในทุกพื้นที่ (5) กำรกระจำยอ ำนำจ ไปสู่สถำนศึกษำและเพิ่มบทบำทของภำคเอกชน และภำคประชำสังคมในกำรสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ โดยปรับปรุงกฎหมำย ระเบียบ ที่เอื้อให้สถำนศึกษำมีควำมเป็นอิสระในกำรบริหำร ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำ ด้ำนวิชำกำร ด้ำนงบประมำณ และด้ำนบุคลำกร รวมทั้งขับเคลื่อนกำรสร้ำงนวัตกรรมทำงกำรศึกษำตำมบริบท ของโรงเรียนและพื้นที่ ตลอดจนส่งเสริมบทบำทของภำคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภำคประชำสังคม ในกำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรร่วมลงทุนเพื่อกำรศึกษำ (6) กำรส่งเสริมผู้มีควำมสำมำรถพิเศษโดยพัฒนำระบบ เสำะหำและกลไกกำรบริหำรจัดกำรและส่งเสริมผู้มีควำมสำมำรถพิเศษตำมแนวคิดพหุปัญญำอย่ำงเป็นระบบ อำทิ กำรสนับสนุนทุนกำรศึกษำต่อ ฝึกประสบกำรณ์ท ำงำนวิจัยในองค์กรชั้นน ำ ตลอดจนส่งเสริมกำรท ำงำนที่ใช้ ควำมสำมำรถพิเศษอย่ำงเต็มศักยภำพ (7) ผู้มีควำมต้องกำรพิเศษได้รับโอกำสและเข้ำถึงกำรศึกษำและแหล่ง เรียนรู้ที่หลำกหลำย โดยสถำนศึกษำจัดกำรศึกษำที่หลำกหลำยและเหมำะสมเฉพำะกลุ่มให้เป็นทำงเลือก แก่ผู้เรียนเพื่อยุติกำรออกกลำงคัน และพัฒนำกลไกสนับสนุนรวมถึงกำรปรับกฎระเบียบให้เอื้อต่อภำคเอกชน ภำคประชำสังคม และองค์กำรที่ไม่แสวงหำก ำไรในกำรดูแลกลุ่มผู้มีควำมต้องกำรพิเศษ อำทิ กำรวำงแนวทำง ให้เอกชนสำมำรถจัดตั้งสถำนฝึกอบรมหรือมีส่วนร่วมรับผิดชอบในกำรพัฒนำผู้ต้องค ำพิพำกษำ 6) กำรเสริมสร้ำงคุณธรรม จริยธรรมและเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รวมถึงกำรรักษำขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ค่ำนิยมไทยให้สอดคล้อง เหมำะสมกับบริบทในปัจจุบัน เพื่อให้เป็นพื้นฐำนของสังคมไทย และเป็น “ซอฟต์พำวเวอร์” ในกำรสื่อสำรภำพลักษณ์ของประเทศไทยและน ำเสนอควำมเป็นไทยสู่สำกล


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 29 กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต กลยุทธ์ย่อยที่ 3.1 พัฒนำระบบนิเวศเพื่อกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต โดย 1) ส่งเสริมให้ภำคส่วนต่ำง ๆ สร้ำงและพัฒนำเมืองเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ และพื้นที่สร้ำงสรรค์ ที่หลำกหลำย ทั้งพื้นที่กำยภำพ และพื้นที่เสมือนจริง โดยก ำหนดมำตรกำรจูงใจที่เหมำะสมเพื่อให้ สถำบันกำรศึกษำหน่วยงำนรำชกำรส่วนท้องถิ่น องค์กรพัฒนำเอกชน ภำคประชำสังคม ภำคเอกชนโดยเฉพำะ ผู้ประกอบกำรสตำร์ทอัพสร้ำงพัฒนำแหล่งเรียนรู้ และพื้นที่สร้ำงสรรค์ที่มีคุณภำพ มีสำระที่ทันสมัย สอดคล้องกับ ควำมต้องกำรของผู้เรียนทุกกลุ่ม ครอบคลุมทุกพื้นที่ เข้ำถึงได้ง่ำยทั้งพื้นที่กำยภำพ และพื้นที่เสมือนจริง เพื่อสร้ำงโอกำสในกำรเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในกำรพัฒนำและแสดงศักยภำพอย่ำงสร้ำงสรรค์ อันเป็นปัจจัย ส ำคัญในกำรสร้ำงค่ำนิยมและพฤติกรรมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต 2) สร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้ำงหลัง โดยกำรสร้ำงสื่อที่ใช้ภำษำถิ่นเพื่อให้ประชำชนที่ไม่ได้ใช้ ภำษำไทยกลำงเป็นภำษำหลักเข้ำถึงได้ สื่อทำงเลือกส ำหรับผู้พิกำรทำงสำยตำและผู้พิกำรทำงกำรได้ยิน รวมถึง สนับสนุนกลุ่มประชำกรที่มีข้อจ ำกัดทำงเศรษฐกิจให้เข้ำถึงสื่อในรำคำที่เข้ำถึงได้ 3) กำรพัฒนำระบบธนำคำรหน่วยกิตของประเทศให้เกิดขึ้นอย่ำงเป็นรูปธรรม ที่สำมำรถเชื่อมโยง กำรเรียนรู้ในทุกระดับและประเภททั้งในระบบสำยสำมัญ สำยอำชีพ กำรศึกษำนอกระบบและตำมอัธยำศัยตั้งแต่ มัธยมศึกษำ อำชีวศึกษำ และอุดมศึกษำ และนอกระบบ เพื่อสร้ำงควำมคล่องตัว และเปิดทำงเลือกในกำรเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนทุกระดับ 4) ก ำหนดมำตรกำรจูงใจ ให้ประชำชนพัฒนำตนเองด้วยกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยจัดให้มีแหล่งเงินทุนเพื่อกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต อำทิ กำรพัฒนำเครดิตกำรฝึกอบรมส ำหรับคนทุกกลุ่ม กำรจัดสรรสิทธิพิเศษในกำรเข้ำรับบริกำรฝึกอบรม กำรเข้ำชมแหล่งเรียนรู้ต่ำง ๆ ส่งเสริมให้เอกชนที่ผลิตนวัตกรรม ทำงกำรศึกษำ จัดท ำกิจกรรมควำมรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร โดยก ำหนดเงื่อนไขกำรให้ใช้ผลิตภัณฑ์โดยไม่มีค่ำใช้จ่ำย 2. หมุดหมายที่ 9 ไทยมีควำมยำกจนข้ำมรุ่นลดลง และมีควำมคุ้มครองทำงสังคมที่เพียงพอ เหมำะสม กลยุทธ์การพัฒนา กลยุทธ์ที่ 2 กำรสร้ำงโอกำสที่เสมอภำคแก่เด็กจำกครัวเรือนยำกจนข้ำมรุ่น กลยุทธ์ย่อยที่ 2.2 ส่งเสริมโอกำสทำงกำรศึกษำและกำรพัฒนำทักษะอำชีพที่มีคุณภำพ จัดสรร เงินอุดหนุนและทรัพยำกรที่จ ำเป็นแก่เด็กจำกครัวเรือนยำกจนข้ำมรุ่น เพื่อแบ่งเบำภำระค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรศึกษำ ในโรงเรียนและกำรเรียนรู้ภำยนอกห้องเรียน ทั้งแหล่งเรียนรู้บนพื้นที่กำยภำพและพื้นที่เสมือนจริงหรือออนไลน์ พร้อมทั้งพัฒนำระบบกำรเฝ้ำระวังและติดตำมช่วยเหลือเด็กยำกจนให้กลับเข้ำสู่ระบบกำรศึกษำหรือกำรพัฒนำ ทักษะอำชีพตำมควำมเหมำะสม 3. หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภำครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภำพ และตอบโจทย์ประชำชน กลยุทธ์การพัฒนา กลยุทธ์ที่ 1 กำรพัฒนำคุณภำพกำรให้บริกำรภำครัฐที่ตอบโจทย์ สะดวก และประหยัด กลยุทธ์ที่ 2 กำรปรับเปลี่ยนกำรบริหำรจัดกำรและโครงสร้ำงของภำครัฐให้ยืดหยุ่น เชื่อมโยง เปิดกว้ำงและมีประสิทธิภำพเพื่อรองรับกำรเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อกำรพัฒนำประเทศ กลยุทธ์ที่ 3 กำรปรับเปลี่ยนภำครัฐเป็นรัฐบำลดิจิทัลที่ใช้ข้อมูลในกำรบริหำรจัดกำรเพื่อ กำรพัฒนำประเทศ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 30 แผนระดับที่ 3 7. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 - 2579 มีวิสัยทัศน์วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย ดังนี้ วิสัยทัศน์ (Vision) ไว้ดังนี้ “คนไทยทุกคนได้รับกำรศึกษำและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ำงมีคุณภำพ ด ำรงชีวิตอย่ำงเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และกำรเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนำระบบและกระบวนกำรจัดกำรศึกษำที่มีคุณภำพและมีประสิทธิภำพ 2. เพื่อพัฒนำคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติและยุทธศำสตร์ชำติ 3. เพื่อพัฒนำสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสำมัคคี และร่วมมือผนึกก ำลังมุ่งสู่กำรพัฒนำประเทศอย่ำงยั่งยืน ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อน ำประเทศไทยก้ำวข้ำมกับดักประเทศที่มีรำยได้ปำนกลำง และควำมเหลื่อมล้ ำภำยในประเทศลดลง เป้าหมายด้านผู้เรียนและด้านการจัดการศึกษา ๑. เป้าหมายด้านผู้เรียน เป้ำหมำยด้ำนผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนำผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะ และทักษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วยทักษะและคุณลักษณะต่อไปนี้ ๑.1 3Rs ได้แก่ ก ำรอ่ ำน ออก (Reading) ก ำรเขียนได้(Writing) และก ำรคิดเลขเป็น (Arithmetics) ๑.2 8Cs ได้แก่ ทักษะด้ำนกำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณและทักษะในกำรแก้ปัญหำ (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้ำนกำรสร้ำงสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้ ำนควำมเข้ ำใจต่ ำงวัฒ น ธรรมต่ ำงกระบ วนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษ ะ ด้ำนควำมร่วมมือกำรท ำงำนเป็นทีม และภำวะผู้น ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้ำน กำรสื่อสำรสำรสนเทศและกำรรู้เท่ำทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะ ด้ำนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอำชีพ และ ทักษะกำรเรียนรู้(Career and Learning Skills) และควำมมีเมตตำกรุณำมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม Compassion) ๒. เป้าหมายของการจัดการศึกษา เป้ำหมำยของกำรจัดกำรศึกษำ (Aspirations) 5 ประกำร ซึ่งมีตัวชี้วัดเพื่อกำรบรรลุเป้ำหมำย 53 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย เป้ำหมำยและตัวชี้วัดที่ส ำคัญ ดังนี้ ๒.1 ประชำกรทุกคนเข้ำถึงกำรศึกษำที่มีคุณภำพและมีมำตรฐำนอย่ำงทั่วถึง (Access) 2.๒ ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้ำหมำยได้รับบริกำรกำรศึกษำที่มีคุณภำพตำมมำตรฐำน อย่ำงเท่ำเทียม (Equity) ๒.3 ระบบก ำรศึกษ ำที่มีคุณภ ำพ สำม ำรถพัฒ น ำผู้เรียนให้บ รรลุขีดควำมสำมำรถ เต็มตำมศักยภำพ (Quality) ๒.4 ระบบกำรบริหำรจัดกำรศึกษำที่มีประสิทธิภำพ เพื่อกำรลงทุนทำงกำรศึกษำที่คุ้มค่ำ และบรรลุเป้ำหมำย (Efficiency) ๒.5 ระบบกำรศึกษำที่สนองตอบและก้ำวทันกำรเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบท ที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) 8. นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 31 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 เร่งสร้ำงควำมปลอดภัยในสถำนศึกษำเพื่อเพิ่มควำมเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันจำกภัยคุกคำมในชีวิตรูปแบบ ใหม่ และภัยอื่นๆ โดยมีกำรด ำเนินกำรตำมแผนและมำตรกำรด้ำนควำมปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลำกร ในรูปแบบต่ำงๆ อย่ำงเข้มข้น รวมทั้งด ำเนินกำรศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย ติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินกำร และ แสวงหำสถำนศึกษำที่ด ำเนินกำรได้ดีเยี่ยม (Best Practice) เพื่อปรับปรุง พัฒนำและขยำยผลต่อไป 1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติพฤติกรรม และองค์ควำมรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณำกำรอยู่ในกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อสร้ำงโอกำสในกำรเรียนรู้และสร้ำงภูมิคุ้มกันควบคู่กับกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและสร้ำงสรรค์ พร้อมทั้งหำแนวทำงวิธีกำรปกป้องคุ้มครองต่อสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ 1.3 เสริมสร้ำงกำรรับรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้ำนสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกำรปรับตัวรองรับกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศที่จะเกิดขึ้นในอนำคต 1.4 เร่งพัฒนำบทบำทและภำรกิจของหน่วยงำนด้ำนควำมปลอดภัยที่มีอยู่ในทุกหน่วยงำน ในสังกัด กระทรวงศึกษำธิกำรให้ด ำเนินกำรอย่ำงคล่องตัวและมีประสิทธิภำพ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถำนศึกษำน ำหลักสูตรฐำนสมรรถนะไปสู่กำรปฏิบัติอย่ำงเต็มรูปแบบ เพื่อสร้ำง สมรรถนะที่ส ำคัญจ ำเป็นส ำหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 จัดกำรเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ค้นพบพรสวรรค์ ควำมสนใจ ควำมถนัดในอำชีพของตนเอง ด้วยกำรเรียนรู้ จำกกำรลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในห้องเรียน สถำนประกอบกำร รวมทั้งกำรเรียนรู้ผ่ำนแพลตฟอร์ม และห้องดิจิทัลให้ค ำปรึกษำแนะน ำ 2.3 พัฒนำและบูรณำกำรกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้และกำรวัดประเมินผลฐำนสมรรถนะสู่กำรปฏิบัติในชั้นเรียน เพื่อสร้ำงควำมฉลำดรู้ด้ำนกำรอ่ำน วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สร้ำงตรรกะควำมคิดแบบเป็นเหตุเป็นผล ให้นักเรียนไทยสำมำรถแข่งขันได้กับนำนำชำติ 2.4 พัฒนำทักษะดิจิทัลและภำษำคอมพิวเตอร์ (Coding) ส ำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับกำรปลี่ยนแปลง สู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.5 พัฒนำรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนประวัติศำสตร์ หน้ำที่พลเมืองและศีลธรรมให้มีควำมทันสมัย น่ำสนใจ เหมำะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ของท้องถิ่น และกำรเสริมสร้ำงวิถีชีวิต ของควำมเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง 2.6 จั ดกำรเรียนรู้ตำมควำมสนใจรำยบุ คคลของผู้เรียนผ่ ำนดิ จิทั ลแพลตฟอร์มที่ หลำกหลำยและแพลตฟอร์ม กำรเรียนรู้อัจฉริยะที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ สื่อกำรสอนคุณภำพสูงรวมทั้งมีกำรประเมินและพัฒนำผู้เรียน 2.7 ส่งเสริมกำรให้ควำมรู้และทักษะด้ำนกำรเงินและกำรออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน โดยบูรณำ กำรกำรท ำงำนร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงกำรคลัง กองทุนกำรออมแห่งชำติ (กอช.) ธนำคำร กรุงศรีอยุธยำ ธนำคำรออมสิน สหกรณ์ ฯ ผ่ำนกระบวนกำรเรียนรู้ โครงกำร และกิจกรรมต่ำง ๆ และกำรเผยแพร่ สื่อแอนิเมชันรอบรู้เรื่องเงิน รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดกำรลงทุนเชิงพำณิชย์เพื่อให้เกิดผลตอบแทนที่สูงขึ้น 2.8 ปรับโฉมศูนย์วิทยำศำสตร์และศูนย์กำรเรียนรู้ ให้มีรูปลักษณ์ที่ทันสมัย สวยงำม ร่มรื่น จูงใจ ให้เข้ำไปใช้ บริกำร โดยมีมุมค้นหำควำมรู้ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย มุมจัดกิจกรรมเชิงสร้ำงสรรค์ คิดวิเครำะห์ของผู้เรียนหรือกลุ่มผู้เรียน และกำรร่วมกิจกรรมกับครอบครัว หรือจัดเป็นฐำนกำรเรียนรู้ด้ำนต่ำงๆ ที่ผู้เรียนและประชำชนสำมำรถมำลงทะเบียน เข้ำร่วมกิจกรรม และได้รับเอกสำรรับรองกำรเข้ำร่วมกิจกรรม เพื่อน ำไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วย กำรเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ รวมทั้งมีบริเวณพักผ่อนที่มีบริกำรลักษณะบ้ำนสวนกำแฟเพื่อกำรเรียนรู้ เป็นต้น


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 32 2.9 ส่งเสริมสนับสนุนสถำนศึกษำให้มีกำรน ำผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำแห่งชำติไปใช้ในกำรวำงแผน กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนกำรสอน 2.10 พัฒนำระบบกำรประเมินคุณภำพสถำนศึกษำที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.1 พัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศของนักเรียนเป็นรำยบุคคล เพื่อใช้เป็นฐำนข้อมูลในกำรส่งต่อไป ยังสถำนศึกษำในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพำะระดับกำรศึกษำภำคบังคับ เพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออก กลำงคัน 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอำยุตั้งแต่ 3ปีขึ้นไปทุกคน เข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ เพื่อรับกำรพัฒนำอย่ำงรอบด้ำน มีคุณภำพ ตำมศักยภำพ ตำมวัยและต่อเนื่องอย่ำงเป็นระบบ โดยบูรณำกำรร่วมงำนกับทุกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 3.3 พัฒนำข้อมูลและทำงเลือกที่หลำกหลำยให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้ำหมำยพิเศษ และกลุ่มเปรำะบำง รวมทั้งกลุ่ม NEETs ในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำ กำรเรียนรู้ และกำรฝึกอำชีพ อย่ำงเท่ำเทียม 3.4 พัฒนำระบบสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนโดยครอบครัว (Home School) และกำรเรียนรู้ ที่บ้ำนเป็นหลัก (Home–based Learning) 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 พัฒนำหลักสูตรอำชีวศึกษำ และหลักสูตรวิชำชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มีกำรบูรณำ กำรวิชำสำมัญและวิชำชีพในชุดวิชำชีพเดียวกัน เชื่อมโยงกำรจัดกำรอำชีวศึกษำทั้งในระบบ นอกระบบและ ระบบทวิภำคี รวมทั้งกำรจัดกำรเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยกำรเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกับสถำนประกอบกำรในกำรจัดกำรอำชีวศึกษำอย่ำงเข้มข้นเพื่อกำรมีงำนท ำ 4.2 ขับเคลื่อนกำรผลิตและพัฒนำก ำลังคนตำมกรอบคุณวุฒิแห่งชำติ และยกระดับสมรรถนะก ำลังคนตำมกรอบ คุณวุฒิอ้ำงอิงอำเซียน และมำตรฐำนสำกล รวมทั้งขับเคลื่อนควำมเป็นเลิศทำงกำรอำชีวศึกษำ (Excellent Center) โดยควำมร่วมมือกับภำคเอกชนและสถำนประกอบกำรในกำรผลิตก ำลังคนที่ตอบโจทย์กำรพัฒนำประเทศ 4.3 พัฒนำสมรรถนะอำชีพที่สอดคล้องกับควำมถนัด ควำมสนใจ โดยกำร Re-skill Up-skill และ New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้ำหมำยมีกำรศึกษำในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้ำงช่องทำงอำชีพในรูปแบบหลำกหลำยให้ครอบคลุม ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้ำหมำย รวมทั้งผู้สูงอำยุ โดยมีกำรบูรณำกำรควำมร่วมมือระหว่ำงหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 4.4 ส่งเสริมกำรพัฒนำแบบทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติด้ำนอำชีวศึกษำ (V-NET) ตำมสมรรถนะที่จ ำเป็น ในกำรเข้ำสู่อำชีพ และกำรน ำผลกำรทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้ำท ำงำน ศึกษำต่อ ขอรับประกำศนียบัตรมำตรฐำน สมรรถนะกำรใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) กำรขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะภำษำอังกฤษ (English Competency) 4.5 จัดตั้งศูนย์ให้ค ำปรึกษำกำรจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภำยใต้ศูนย์พัฒนำอำชีพและกำรเป็นผู้ประกอบกำร และพัฒนำศูนย์บ่มเพำะผู้ประกอบกำรอำชีวศึกษำ เพื่อกำรส่งเสริม และพัฒนำผู้ประกอบกำรด้ำนอำชีพ ทั้งผู้เรียนอำชีวศึกษำและประชำชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถำนประกอบกำร ทั้งภำครัฐ และเอกชนที่สอดคล้องกับกำรประกอบอำชีพในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่ 4.6 เพิ่มบทบำทกำรอำชีวศึกษำในกำรสร้ำงและพัฒนำผู้ประกอบกำรและก ำลังแรงงำนในภำคเกษตร โดยเฉพำะกลุ่มเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุ่มยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart Farmer) ที่สำมำรถรองรับกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ 4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนกำรผลิตและพัฒนำก ำลังคนทุกช่วงวัยเพื่อกำรมีงำนท ำ โดยบูรณำกำร ควำมร่วมมือในกำรจัดกำรศึกษำร่วมกับหน่วยงำน องค์กรทั้งภำครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถำบันสังคมอื่น


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 33 4.8 พัฒนำหลักสูตรอำชีพส ำหรับกลุ่มเป้ำหมำยผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชำชนที่สอดคล้องมำตรฐำน อำชีพ เพื่อกำรเข้ำสู่กำรรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชำชีพตำมกรอบคุณวุฒิแห่งชำติ รวมทั้งสำมำรถ น ำผลกำรเรียนรู้และมวลประสบกำรณ์เทียบโอนเข้ำสู่กำรสะสมหน่วยกำรเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ 5. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 5.1 ส่งเสริมสนับสนุนกำรด ำเนินกำรตำมหลักเกณฑ์กำรประเมินวิทยฐำนะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบกำรประเมินต ำแหน่งและวิทยฐำนะของข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 ส่งเสริมสนับสนุนกำรด ำเนินกำร พัฒนำสมรรถนะทำงด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัลตำมกรอบระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) ส ำหรับครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และระดับอำชีวศึกษำ 5.3 พัฒนำครูให้มีควำมพร้อมด้ำนวิชำกำรและทักษะกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่ำน แพลตฟอร์มออนไลน์ต่ำง ๆ รวมทั้งให้เป็นผู้วำงแผนเส้นทำงกำรเรียนรู้ กำรประกอบอำชีพ และกำรด ำเนินชีวิต ของผู้เรียนได้ตำมควำมสนใจและควำมถนัดของแต่ละบุคคล 5.4 พัฒนำขีดควำมสำมำรถของข้ำรำชกำรพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษำธิกำร ให้มีสมรรถนะที่สอดคล้อง และเหมำะสมกับกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมและกำรเปลี่ยนแปลงของโลกอนำคต 5.5 เร่งรัดกำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำหนี้สินครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำทั้งระบบ ควบคู่กับกำรให้ควำมรู้ ด้ำนกำรวำงแผนและกำรสร้ำงวินัยด้ำนกำรเงินและกำรออม 6. การพัฒนาระบบราชการ และการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล 6.1 ขับเคลื่อนกำรพัฒนำระบบรำชกำร 4.0 ด้วยนวัตกรรม และกำรน ำเทคโนโลยีดิจิทัล มำเป็นกลไกหลัก ในกำรด ำเนินงำน (Digitalize Process) กำรเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) กำรส่งเสริม ควำมร่วมมือ บูรณำกำรกับภำคส่วนต่ำง ๆ ทั้งภำยในและภำยนอก 6.2 ปรับปรุงประสิทธิภำพของเครือข่ำยเทคโนโลยีสำรสนเทศให้สำมำรถใช้งำนเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เชื่อมโยงหน่วยงำนภำครัฐได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อรองรับระบบรำชกำร 4.0 สำมำรถตอบสนอง ควำมต้องกำรของประชำชนได้ในทุกเวลำ ทุกสถำนที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทำง 6.3 ปรับปรุงระบบกำรจัดสรรงบประมำณและทรัพยำกรทำงกำรศึกษำ โดยยึดหลักควำมจ ำเป็นและใช้พื้นที่ เป็นฐำน ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนเป็นส ำคัญ 6.4 น ำเทคโนโลยีดิจิทัลมำใช้ในระบบกำรคัดเลือกข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำในต ำแหน่งและ สำยงำนต่ำง ๆ 6.5 ส่งเสริมสนับสนุนกำรด ำเนินงำนของส่วนรำชกำรให้เป็นไปตำมกลไกกำรประเมินคุณธรรมและ ควำมโปร่งใสในกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนภำครัฐ 7. การขับเคลื่อนกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแห่งชาติ เร่งรัดกำรด ำเนินกำรจัดท ำกฎหมำยล ำดับรองและแผนกำรศึกษำแห่งชำติเพื่อรองรับพระรำชบัญญัติกำรศึกษำ แห่งชำติควบคู่กับกำรสร้ำงกำรรับรู้ให้กับประชำชนได้รับทรำบอย่ำงทั่วถึง 9. นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ กระทรวงศึกษ ำธิกำรได้ออกป ระกำศกระทรวงศึกษ ำธิกำร เรื่อง นโยบำยและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษำธิกำร ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2567 ดังนั้น ส ำนักงำนคณะกรรมกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน จึงได้ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำรดังกล่ำวให้ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ พิจำรณำน ำไปประกอบกำรขับเคลื่อน กำรจัดกำรศึกษำ ดังนี้


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 34 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ____________________________ อำศัยอ ำนำจตำมควำมในมำตรำ 6 และมำตรำ ๑๒ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร จึงประกำศนโยบำยและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษำธิกำร ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ดังนี้ หลักการตามนโยบาย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2๕๖๗ กระทรวงศึกษำธิกำรด ำเนินกำรภำรกิจหลักตำมยุทธศำสตร์ชำติ ร่ำง แผนแม่บทภำยใต้ ยุทธศำสตร์ชำติ(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๕๐) ฉบับปรับปรุง ในฐำนะหน่วยงำนเจ้ำภำพขับเคลื่อน ประเด็น ๑๑ กำรพัฒนำศักยภำพคนตลอดช่วงชีวิต ในแผนย่อยที่ ๓.๓ กำรพัฒนำช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ประเด็น ๑๒ กำรพัฒนำ กำรเรียนรู้ และประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๓(พ.ศ. ๒๕๖๖–๒๕๗๐) โดยเฉพำะหมุดหมำยที่ ๑๒ ไทยมีก ำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง ตอบโจทย์กำรพัฒนำแห่งอนำคต แผนกำรศึกษำแห่งชำติพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมทั้งนโยบำยและแผนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับกำรพัฒนำ ในทุกมิติ จึงได้ก ำหนดหลักกำรส ำคัญ ไว้ดังนี้ 1. สร้ำงภูมิคุ้มกันให้กับผู้เรียนและประชำชน โดยให้ทุกหน่วยงำนน ำรูปแบบกำรท ำงำน ที่บูรณำกำรกำรท ำงำนร่วมกัน และปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมโปร่งใส ควำมรับผิดชอบ ควำมเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน เพื่อสำนต่อควำมร่วมมือที่เข้มแข็ง และสร้ำงหลักประกันว่ำทุกคนจะต้องมีกำรศึกษำที่มีคุณภำพ อย่ำงครอบคลุมทุกพื้นที่ ๒. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงำนทุกคนด ำเนินกำรตำมภำรกิจด้วยควำมรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร ประชำชนและประเทศชำติโดยให้ควำมส ำคัญกับกำรประสำนควำมร่วมมือจำกทุกภำคส่วน ผ่ำนกลไกกำรรับฟัง ควำมคิดเห็นมำประกอบกำรด ำเนินงำนที่เป็นประโยชน์ต่อกำรยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ ๓. ด ำเนินกำรตำมนโยบำยของกระทรวงศึกษำธิกำร เพื่อมุ่งเน้นผลให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง ของภำคกำรศึกษำที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและประชำชน โดยมุ่งเป้ำหมำยกำรพัฒนำกำรศึกษำ เพื่อร่วมกัน “พลิกโฉมกำรศึกษำสู่ยุคดิจิทัล” (Transforming Education to Fit in the Digital Era) ทั้งนี้ เพื่อพัฒนำผู้เรียนไปสู่เป้ำหมำยของกำรเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยค ำนึงถึงชำติ ศำสนำ ศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม กีฬำ ควำมปลอดภัย ควำมมีโอกำสและควำมเสมอภำค ทำงกำรศึกษำ รวมทั้งมีสมรรถนะที่ส ำคัญจ ำเป็นส ำหรับโลกยุคใหม่ นโยบายและจุดเน้นประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ๑. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 สร้ำงควำมปลอดภัยในสถำนศึกษำเพื่อเพิ่มควำมเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันภัย คุกคำม ในชีวิตทุกรูปแบบ โดยมีกำรด ำเนินกำรตำมแผนและมำตรกำรด้ำนควำมปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลำกร ในรูปแบบต่ำง ๆ อย่ำงเข้มข้น /๑.๒ ปลูกฝัง


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 35 - 2 - ๑.๒ ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ควำมรู้ในกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์และไซบอร์อย่ำงสร้ำงสรรค์ 1.3 ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้ำนสิ่งแวดล้อม สร้ำงควำมตระหนักรู้ และจิตส ำนึกในกำรอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกำรปรับตัวต่อกำรเปลี่ยนแปลง สภำพภูมิอำกำศ ๑.๔ พัฒนำบทบำทและภำรกิจด้ำนควำมปลอดภัยของทุกหน่วยงำนในสังกัด กระทรวงศึกษำธิกำร โดยบูรณำกำรควำมร่วมมือกับทุกภำคส่วน ๒. การยกระดับคุณภาพการศึกษา ๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุนให้สถำนศึกษำจัดกำรเรียนรู้สู่สมรรถนะตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ไปสู่กำรปฏิบัติอย่ำงเต็มรูปแบบ เพื่อสร้ำงสมรรถนะที่จ ำเป็น ในโลกยุคใหม่ให้กับผู้เรียน ๒.๒ จัดกำรเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพหุปัญญำให้กับผู้เรียน โดยเน้นกำรเรียนรู้จำกกำรปฏิบัติจริง ในรูปแบบ Active Learning, STEM Education, Coding ฯลฯ และกระบวนกำรส่งต่อในระดับที่สูงขึ้น ๒.๓ พัฒนำกระบวนกำรเรียนรู้และกำรวัดผล ประเมินผลฐำนสมรรถนะ เพื่อเป็นฐำนในกำรพัฒนำ ทักษะและสมรรถนะที่จ ำเป็นแห่งอนำคต ๒.๔ ส่งเสริมกระบวนกำรเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนำผู้เรียนเพื่อพัฒนำทักษะและสมรรถนะ ด้ำน Soft Power ให้กับผู้เรียน ๒.๕ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้เรียนรู้ตำมควำมสนใจผ่ำนดิจิทัลแพลตฟอร์มที่หลำกหลำย ๒.๖ ส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และกำรฟื้นฟูภำวะถดถอย ทำงกำรเรียนรู้ (Learning Loss) ๒.๗ พัฒนำรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนประวัติศำสตร์ หน้ำที่พลเมืองและศีลธรรม ให้มีควำมทันสมัย น่ำสนใจ เหมำะสมกับวัยและบริบทของพื้นที่ ๒.8 ส่งเสริมกำรให้ควำมรู้และทักษะด้ำนกำรเงินและกำรออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน โดยบูรณำกำรกำรท ำงำนร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ๒.9 ส่งเสริมสนับสนุนสถำนศึกษำให้น ำผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำแห่งชำติไปใช้ในกำรวำงแผน ๒.๑๐ พัฒนำระบบกำรประเมินคุณภำพสถำนศึกษำที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน ๓. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย ๓.1 พัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศของนักเรียนเป็นรำยบุคคล เพื่อใช้เป็นฐำนข้อมูล ในกำรติดตำมและส่งต่อไปยังสถำนศึกษำในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งแก้ปัญหำเด็กตกหล่นและออกลำงคัน ๓.๒ ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอำยุตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไปทุกคน เข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ เพื่อรับกำรพัฒนำอย่ำงรอบด้ำน มีคุณภำพ ตำมศักยภำพ ตำมวัย ต่อเนื่องอย่ำงเป็นระบบและเป็นไปตำม มำตรฐำน โดยบูรณำกำรร่วมกันกับทุกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 3.3 พัฒนำข้อมูลและทำงเลือกที่หลำกหลำยให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้ำหมำยพิเศษ และกลุ่มเปรำะบำง รวมทั้งกลุ่มเยำวชนอำยุ ๑๕-๒๔ ปีที่ไม่ได้อยู่ในระบบกำรศึกษำ กำรท ำงำน หรือกำรฝึกอบรม (Not in Education, Employment or Training : NEETs) ๓.๔ พัฒนำระบบสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนโดยครอบครัว (Home School) และกำรเรียนรู้ที่บ้ำนเป็นหลัก (Home-based Learning) รวมทั้งกำรศึกษำทำงเลือกอื่น ๆ /๓.๕ พัฒนำระบบ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 36 - 3 - ๓.๕ พัฒนำระบบธนำคำรหน่วยกิต (Credit Bank) ในหน่วยงำนที่จัดกำรศึกษำและให้มีหน่วยงำนกลำง ในกำรขับเคลื่อนระบบธนำคำรหน่วยกิตในภำพรวม และกำรเชื่อมโยงทั้งระหว่ำงรูปแบบประเภทและระดับกำรศึกษำ ๔. การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ๔.๑ พัฒนำหลักสูตรอำชีวศึกษำ และหลักสูตรวิชำชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มีกำรบูรณำกำรวิชำสำมัญและวิชำชีพในชุดวิชำชีพเดียวกัน เชื่อมโยงกำรจัดกำรอำชีวศึกษำทั้งในระบบ นอกระบบ และระบบทวิภำคีรวมทั้งกำรจัดกำรเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยกำรเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกับสถำนประกอบกำรในกำรจัดกำรอำชีวศึกษำอย่ำงเข้มข้นเพื่อกำรมีงำนท ำ ๔.๒ ขับเคลื่อนกำรผลิตและพัฒนำก ำลังคนตำมกรอบคุณวุฒิแห่งชำติและยกระดับ สมรรถนะก ำลังคนตำมกรอบคุณวุฒิอ้ำงอิงอำเซียน และมำตรฐำนสำกล รวมรวมทั้งขับเคลื่อนควำมเป็นเลิศทำงกำร อำชีวศึกษำ (Excellent Center) โดยควำมร่วมมือกับภำคเอกชนและสถำนประกอบกำรในกำรผลิต ก ำลังคนที่ตอบโจทย์การพัฒนำประเทศ ๔.๓ พัฒนำสมรรถนะอำชีพที่สอดคล้องกับควำมถนัด ควำมสนใจ โดยกำร Re-skill Up-skill และ New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้ำหมำยมีกำรศึกษำในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้ำงช่องทำงอำชีพในรูปแบบ หลำกหลำยให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้ำหมำย รวมทั้งผู้สูงอำยุ โดยมีกำรบูรณำกำรควำมร่วมมือระหว่ำง หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ๔.๔ ส่งเสริมกำรพัฒนำระบบกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติด้ำนอำชีวศึกษำ (V-NET) ตำมสมรรถนะที่จ ำเป็นในกำรเข้ำสู่อำชีพ และกำรน ำผลกำรทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้ำท ำงำน ศึกษำต่อ ขอรับประกำศนียบัตรมำตรฐำนสมรรถนะกำรใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) กำรขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะ ภำษำอังกฤษ (English Competency) ๔.๕ จัดตั้งศูนย์ให้ค ำปรึกษำกำรจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์Start Up) ภำยใต้ศูนย์พัฒนำอำชีพและ กำรเป็นผู้ประกอบกำร และพัฒนำศูนย์บ่มเพำะผู้ประกอบกำรอำชีวศึกษำ เพื่อกำรส่งเสริม และพัฒนำ ผู้ประกอบกำร ด้ำนอำชีพทั้งผู้เรียนอำชีวศึกษำและประชำชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถำน ประกอบกำรทั้งภำครัฐ และเอกชนที่สอดคล้องกับกำรประกอบอำชีพในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่ ๔.๖ เพิ่มบทบำทกำรอำชีวศึกษำในกำรสร้ำงและพัฒนำผู้ประกอบกำรและก ำลังแรงงำน ในภำคเกษตร โดยเฉพำะกลุ่มเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุ่มยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart Farmer) ที่สำมำรถรองรับกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ ๔.๗ พัฒนำหลักสูตรอำชีพส ำหรับกลุ่มเป้ำหมำยผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชำชนที่สอดคล้อง มำตรฐำนอำชีพเพื่อกำรเข้ำสู่กำรรับรองสมรรถนะ และได้รับคุณวุฒิวิชำชีพตำมกรอบคุณวุฒิแห่งชำติ ๕. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากร ๕.๑ ส่งเสริมสนับสนุนกำรด ำเนินกำรประเมินวิทยฐำนะ โดยใช้ระบบกำรประเมินต ำแหน่ง และวิทยฐำนะของข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ (Digital Performance Appraisal : DPA) ๕.๒ ส่งเสริมสนับสนุนกำรด ำเนินกำร พัฒนำสมรรถนะทำงด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัลตำมกรอบระดับสมรรถนะ ดิจิทัล(Digital Competency) ส ำหรับครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและระดับำชีวศึกษำ ๕.๓ พัฒนำครูให้มีควำมพร้อมด้ำนวิชำกำรและทักษะกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมผ่ำนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่ำง ๆ รวมทั้งให้เป็นผู้วำงแผนเส้นทำงกำรเรียนรู้ กำรประกอบ อำชีพ และกำรด ำเนินชีวิตของผู้เรียนได้ตำมควำมสนใจและควำมถนัดของแต่ละบุคคล /๕.๔ ส่งเสริมสนับสนุน ...


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 37 - 4 - ๕.๔ ส่งเสริมสนับสนุนกำรวัดสมรรถนะครูด้ำนกำรวัดและประเมินผล เพื่อน ำผลไปใช้ ในกำรยกระดับกำรเรียนกำรสอน กำรวัดผลและประเมินผลในชั้นเรียน ๕.๕ พัฒนำขีดควำมสำมำรถของครู และบุคลำกรให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องและเหมำะสม กับกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมและกำรเปลี่ยนแปลงของโลกอนำคต ๕.๖ ส่งเสริมสนับสนุนกำรทดสอบสมรรถนะครู และบุคลำกรด้ำนภำษำอังกฤษเพื่อกำรสื่อสำรในกำรท ำงำน ๕.๗ เร่งรัดกำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำหนี้สินครูและบุคลำกรทั้งระบบ ควบคู่กับกำรให้ควำมรู้ ด้ำนกำรวำงแผนและกำรสร้ำงวินัยด้ำนกำรเงินและกำรออม 6. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล ๖.๑ ขับเคลื่อนกำรพัฒนำระบบรำชกำร ด้วยนวัตกรรม และกำรน ำเทคโนโลยีดิจิทัล มำเป็นกลไกหลักในกำรด ำเนินงำน (Digitalize Process) กำรเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) กำรส่งเสริมควำมร่วมมือ บูรณำกำรกับภำคส่วนต่ำง ๆ ทั้งภำยในและภำยนอก ๖.๒ พัฒนำประสิทธิภำพของเครือข่ำยเทคโนโลยีสำรสนเทศให้สำมำรถใช้งำนเครือข่ำย สื่อสำรข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงำนภำครัฐได้อย่ำงมีระสิทธิภำพ ๖.๓ พัฒนำระบบกำรจัดสรรงบประมำณและทรัพยำกรทำงกำรศึกษำ โดยยึดหลักควำมจ ำเป็น และใช้พื้นที่เป็นฐำน ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนเป็นส ำคัญ ๖.๔ เสริมสร้ำงคุณธรรม มำตรฐำนทำงจริยธรรมและปลุกจิตส ำนึกต่อต้ำนกำรทุจริตและ ประพฤติมิชอบ โดยยึดหลักธรรมำภิบำล ๗. การขับเคลื่อนกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแห่งชาติ ด ำเนินกำรจัดท ำกฎหมำยล ำดับรอง เพื่อรองรับพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติควบคู่กับ กำรสร้ำงกำรรับรู้ให้กับประชำชนได้รับทรำบอย่ำงทั่วถึง แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ๑. ให้ส่วนรำชกำร หน่วยงำนในสังกัดกระทรวงศึกษำธิกำร น ำนโยบำยและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษำธิกำร ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ข้ำงต้น เป็นกรอบแนวทำงในกำรจัดกำรศึกษำ โดยด ำเนินกำรจัดท ำแผนและงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๗ พร้อมน้อมน ำ ศำสตร์พระรำชำสู่กำรปฏิบัติ ๒. ให้มีคณะกรรมกำรติดตำม ประเมินผล และรำยงำนกำรขับเคลื่อนนโยบำยกำรจัดกำรศึกษำ ของกระทรวงศึกษำธิกำร สู่กำรปฏิบัติระดับพื้นที่ ท ำหน้ำที่ตรวจรำชกำร ติดตำม ประเมินผลในระดับ นโยบำย และจัดท ำรำยงำนเสนอต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร และคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบและ ประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ทรำบตำมล ำดับ ๓. กรณีมีปัญหำในเชิงพื้นที่หรือข้อขัดข้องในกำรปฏิบัติงำน ให้ศึกษำ วิเครำะห์ข้อมูล และด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำในระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภำคีเครือข่ำยในกำรแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรำยงำน ต่อคณะกรรมกำรติดตำมฯ ตำมข้อ ๒ ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร และรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร ตำมล ำดับ /๔. ส ำหรับภำรกิจ...


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 38 - 5 - ๔. ส ำหรับภำรกิจของส่วนรำชกำรหลักและหน่วยงำนที่ปฏิบัติในลักษณะงำนในเชิงหน้ำที่ (Function) งำนในเชิงยุทธศำสตร์ (Agenda) และงำนในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ด ำเนินกำรอยู่ก่อนแล้ว หำกมีควำมสอดคล้องกับหลักกำรนโยบำยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษำธิกำร ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ข้ำงต้น ให้ถือเป็นหน้ำที่ของส่วนรำชกำรหลักและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต้องเร่งรัด ก ำกับ ติดตำม ตรวจสอบให้กำรด ำเนินกำรเกิดผลส ำเร็จ และมีประสิทธิภำพอย่ำงเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลำคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ประกำศ ณ วันที่ ๒9 ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (นำงสำวตรีนุช เทียนทอง) รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 39 .กระทรวงศึกษาธิการพร้อมยกระดับพัฒนาเด็กไทย ในการก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ภายใต้นโยบาย 4 H 9. นโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ด้านความปลอดภัย 1.1 พัฒนำสถำนศึกษำให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสร้ำงระบบและกลไก ในกำรดูแลควำมปลอดภัยอย่ำงเข้มข้น ให้กับผู้เรียน ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ จำกโรคภัยต่ำง ๆ ภัยพิบัติ และภัยคุกคำมทุกรูปแบบ 1.2 ส่งเสริมกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรมีสุขภำวะที่ดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.3 สร้ำงภูมิคุ้มกัน กำรรู้เท่ำทันสื่อและเทคโนโลยื ในกำรด ำเนินชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวิต วิถีปกติต่อไป (Next Normal) 2. ด้านโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยที่มีอำยุ 3 - 6 ปีทุกคน เข้ำสู่ระบบกำรศึกษำสร้ำงสภำพแวดล้อม ที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้และกำรดูแลปกป้อง เพื่อให้มีพัฒนำกำรครบทุกด้ำน โดยกำรมีส่วนร่วมของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 2.2 จัดกำรศึกษำให้ผู้เรียนในระดับกำรศึกษำชั้นพื้นฐำน ได้เข้ำถึงโอกำส ควำมเสมอภำค และได้รับ กำรพัฒนำให้มีสมรรถนะส ำหรับกำรศึกษำต่อ และกำรประกอบอำชีพนอนำคตให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรของ ตลำดงำนและกำรพัฒนำประเทศ 2.3 จัดกำรศึกษำให้ผู้เรียนที่มีควำมสำมำรถพิเศษ ได้รับโอกำสในกำรพัฒนำเต็มตำมศักยภำพ 2.4 ส่งเสริมเด็กพิกำรและผู้ด้อยโอกำส ให้ได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพและจัดหำทำงเลือกในกำรเข้ำถึง กำรเรียนรู้ กำรฝึกอำชีพ เพื่อให้มีทักษะในกำรด ำเนินชีวิต สำมำรถพึ่งตนเองได้ 2.5 พัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศของนักเรียนระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนเป็นรำยบุคคลเพื่อใช้เป็น ฐำนข้อมูลในกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ โดยเฉพำะกำรดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดออกจำกระบบกำรศึกษำ และช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลำงคันให้กลับเข้ำสู่ระบบ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 40 3. ด้านคุณภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุน สถำนศึกษำที่มีควำมพร้อม ให้น ำหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นฟื้นฐำน ที่เน้นสมรรถนะไปใช้ตำมศักยภำพชองสถำนศึกษำให้สำมำรถออกแบบหลักสูตรที่เหมำะสมกับควำมต้องกำรและบริบท 3.2 พัฒนำผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมำะสมตำมช่วงวัย สำมำรถจัดกำรตนเอง มีกำรคิดขั้นสูงมีควำมสำมำรถ ในกำรสื่อสำร สำมำรถจัดระบบและกระบวนกำรท ำงำนของตนเองและร่วมกับผู้อื่นโดยใช้กำรรวมพลังท ำงำนเป็นทีม เป็นพลเมืองที่ดี มีศีลธรรม และอยู่ร่วมกับธรรมชำติและวิทยำกำรอย่ำงยั่งยืนรวมทั้งมีควำมจงรักภักดีต่อสถำบันหลัก ของชำติ ยึดมั่นกำรปกครองในระบอบประชำธิปไตยอันมีระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3.3 จัดกำรศึกษำให้ผู้เรียนมีทักษะที่จ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 น ำไปสู่กำรมีอำชีพ มีงำนท ำ และส่งเสริม ควำมเป็นเลิศของผู้เรียนให้เต็มตำมศักยภำพ เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 3.4 ส่งเสริม และพัฒนำระบบกำรวัดและประเมินผลคุณภำพผู้เรียน ให้ควบคู่กำรเรียนรู้น ำไปสู่ กำรพัฒนำกำรเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรำยบุคคล รวมทั้งส่งเสริมกำรน ำระบบธนำคำรหน่วยกิต มำใช้ในกำรเทียบโอนผลกำรเรียนรู้และประสบกำรณ์ต่ำง ๆ ของผู้เรียนในสถำนศึกษำ 3.5 พัฒนำ ส่งเสริม ผู้บริหำรกำรศึกษำ ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำรวมทั้งบุคลำกร สังกัดส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ให้มีสมรรถนะตำมมำตรฐำนต ำแหน่งและมำตรฐำนวิชำชีพ 4. ด้านประสิทธิภาพ 4.1 เพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ โดยกำรกระจำยอ ำนำจและใช้พื้นที่เป็นฐำนที่มุ่งเน้น กำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนเป็นส ำคัญ ตำมหลักธรรมำภิบำล 4.2 น ำเทคโนโลยีดิจิทัลและกำรจัดกำรฐำนข้อมูล มำใช้เพิ่มประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ ชั้นพื้นฐำน และกำรเรียนรู้ของผู้เรียน 4.3 ส่งเสริม สนับสนุน กำรพัฒนำโรงเรียนคุณภำพ ใช้พื้นที่เป็นฐำน ใช้นวัตกรรมในกำรชับเคลื่อน บริหำรจัดกำรโดยใช้ทรัพยำกรร่วมกัน และแสวงหำกำรมีส่วนร่วมของหน่วยงำนที่ เกี่ยวข้องทุกระดับเพื่อให้ ประสบผลส ำเร็จอย่ำงเป็นรูปธรรม 4.4 ส่งเสริม สนับสนุน กำรจัดกำรศึกษำที่มีคุณภำพในโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์เฉพำะโรงเรียนที่ตั้ง ในพื้นที่ลักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมกำรศึกษำ 4.5 เพิ่มประสิทธิภำพกำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ และปรับกระบวนกำรนิเทศติดตำม และประเมินผลกำรศึกษำชั้นพื้นฐำนให้สอดรับกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal และชีวิตวิถีปกติต่อไป (Next Normal)


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 41 10. นโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ๑. ด้านความปลอดภัย ๑.๑ พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนทำงกำยภำพของสถำนศึกษำให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย อบอุ่น มีควำมสุข เอื้อต่อ กำรเรียนรู้ และส่งเสริม สนับสนุน พัฒนำผู้เรียน ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้มีควำมรู้ ทักษะ ในกำรป้องกัน ดูแล ด ำเนินชีวิตได้อย่ำงปลอดภัย จำกโรคภัย ภัยพิบัติ อุบัติภัย และภัยคุกคำมทุกรูปแบบ สำมำรถปรับตัว ต่อโรคอุบัติ ใหม่ และโรคอุบัติซ้ ำ ๑.๒ พัฒนำระบบและกลไกในกำรดูแลควำมปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ และ สถำนศึกษำ รวมถึงกำรใช้ Big Data และแอปพลิเคชันในกำรเฝ้ำระวังเชิงรุก ด้วยระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย กระทรวงศึกษำธิกำร (MOE Safety Platform) พร้อมทั้งจัดท ำแผนบริหำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย และ แผน บริหำรควำมพร้อมต่อสภำวะวิกฤต (Business Continuity Plan: BCP) ๑.๓ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และชุมชน มีคุณลักษณะและพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ ด้ำนสิ่งแวดล้อม สร้ำงควำมตระหนักรู้ และจิตส ำนึกในกำรอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยำกรธรรมชำติ และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งกำรปรับตัวรับมือต่อผลกระทบจำกภัยธรรมชำติและกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ ๒. ด้านโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยที่มีอำยุ ๓ ปีขึ้นไปทุกคน เข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ เพื่อให้เด็ก มีพัฒนำกำรที่ดีอย่ำงรอบด้ำน พร้อมที่จะเรียนรู้และสร้ำงรำกฐำนชีวิตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยกำรมีส่วนร่วม ของครอบครัว ชุมชน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ๒.๒ ส่งเสริม สนับสนุน ประชำกรวัยเรียนที่มีอำยุถึงเกณฑ์กำรศึกษำภำคบังคับทุกคน ให้ได้รับโอกำส ทำงกำรศึกษำที่มีคุณภำพ พัฒนำระบบป้องกัน เฝ้ำระวัง และดูแลช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเปรำะบำง เด็กตกหล่น เด็กออกกลำงคัน เด็กชำยขอบ เด็กพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดำรและพื้นที่เกำะ ตำมควำมต้องกำรจ ำเป็น รำยบุคคล เพื่อไม่ให้หลุดจำกระบบกำรศึกษำ โดยบูรณำกำรควำมร่วมมือกับบุคคลและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ๒.๓ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนที่จบกำรศึกษำภำคบังคับ และผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบกำรศึกษำ กำรท ำงำน หรือกำรฝึกอบรม (Not in Education, Employment or Training : NEETS) ให้ได้รับโอกำสในกำรศึกษำต่อ และ กำรประกอบอำชีพในอนำคต ให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรรำยบุคคลหรือรำยกลุ่ม โดยพัฒนำทำงเลือก ในกำรเข้ำถึง กำรเรียนรู้ในรูปแบบที่หลำกหลำย และร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งเสริม สนับสนุน กำรเทียบโอนผลกำรเรียน กำรเทียบโอนควำมรู้และประสบกำรณ์ และกำรเทียบระดับกำรศึกษำ รวมทั้งกำรพัฒนำ ระบบธนำคำรหน่วยกิต (Credit Bank) ๒.๔ ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กที่มีควำมสำมำรถพิเศษ เด็กพิกำรและเด็กด้อยโอกำส ได้รับโอกำส เข้ำถึง กำรศึกษำ แหล่งเรียนรู้ และกำรฝึกอำชีพ ที่หลำกหลำยเหมำะสมตำมศักยภำพ เพื่อให้มีทักษะในกำรด ำเนินชีวิต สำมำรถพึ่งตนเองได้ โดยจัดกำรศึกษำรูปแบบทำงเลือกที่เหมำะสมเฉพำะกลุ่ม ๒.๕ ส่งเสริม สนับสนุน กำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนในศูนย์กำรเรียน โดยบุคคล ครอบครัว (Home School) องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชำชีพ และสถำนประกอบกำร ๒.๖ ส่งเสริม สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำรูปแบบทวิศึกษำให้ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย ได้พัฒนำควำมรู้และทักษะทำงวิชำชีพ เพื่อเป็นพื้นฐำนส ำคัญในกำรประกอบอำชีพในอนำคต


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 42 ๓. ด้านคุณภาพการศึกษา ๓.๑ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนำเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนำกำรที่ดีรอบด้ำนให้เหมำะสมกับวัย รวมทั้งพัฒนำ ครูให้มีควำมรู้และทักษะกำรดูแลที่เพียงพอ มีจิตวิทยำพัฒนำกำรของเด็กปฐมวัย และสร้ำงกลไก ประสำน ควำมร่วมมือกับผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรส่งเสริมพัฒนำกำร ด้ำนกำรเรียนรู้ ของเด็กปฐมวัย ๓.๒ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนำผู้เรียนในระดับปฐมวัย และระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ให้มีคุณธรรม จริยธรรม เคำรพรักในสถำบันหลักของชำติ ยึดมั่นกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย อันมี พระมหำกษัตริย์ทรงเป็น ประมุข เห็นคุณค่ำประวัติศำสตร์ และรักษำขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ค่ำนิยมไทย รวมถึงเป็นพลเมือง ที่เข้มแข็ง รู้สิทธิ และหน้ำที่อย่ำงมีควำมรับผิดชอบ ด ำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อให้เป็น พื้นฐำนของสังคมไทย และเป็น “ซอฟต์พำวเวอร์” ในกำรสื่อสำรภำพลักษณ์ของประเทศไทย และน ำเสนอควำมเป็น ไทยสู่สำกล ๓.๓ ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำให้ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะที่จ ำเป็นต่อกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เต็ม ตำมศักยภำพของผู้เรียนรำยบุคคล เหมำะสมตำมช่วงวัย น ำไปสู่กำรมีงำนท ำ มีอำชีพ และส่งเสริมควำมเป็นเลิศ ของผู้มีควำมสำมำรถพิเศษอย่ำงเต็มศักยภำพ เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ๓.๔ ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถำนศึกษำจัดกำรเรียนรู้สู่สมรรถนะของผู้เรียน ตำมหลักสูตร แกนกลำง กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และตำมแนวคิดพหุปัญญำ ด้วยกำรจัดกำร เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) พัฒนำระบบกำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำ รวมทั้งส่งเสริม กำรวัดและประเมินผล เพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) ด้วยวิธีกำรที่หลำกหลำย ยืดหยุ่น ตำมสภำพจริง ตอบสนองต่อควำมถนัดและควำมสนใจของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมกำรเรียนรู้เป็นรำยบุคคล (Personalized Learning) ที่เชื่อมโยงสู่กำรท ำงำนในอนำคต ๓.๕ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ เป็นบุคคลแห่งกำรเรียนรู้ ทันต่อกำร เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มีควำมรู้ สมรรถนะ ด้ำนวิชำกำร ด้ำนทักษะกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ผ่ำนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่ำง ๆ พัฒนำผู้บริหำรให้มี “ภำวะผู้น ำกำรเปลี่ยนแปลง” ปรับบทบำทของครูจำก “ผู้สอน” เป็น “โค้ช” ที่อ ำนวยกำรเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง มุ่งกำรยกระดับครู สู่วิชำชีพชั้นสูง มีจรรยำบรรณและมำตรฐำนวิชำชีพ รวมทั้งมีจิตวิญญำณควำมเป็นครู ๔. ด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ๔.๑ พัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรและกำรมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำ โดยส่งเสริมบทบำทของ ภำคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภำคประชำสังคม ในกำรจัดกำรศึกษำและกำรร่วมลงทุนเพื่อกำรศึกษำ เน้นกำรกระจำยอ ำนำจสู่สถำนศึกษำในโรงเรียนคุณภำพ โรงเรียนที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ โรงเรียนในพื้นที่ นวัตกรรมกำรศึกษำ โดยปรับปรุงกฎหมำย ระเบียบ ระบบกำรจัดสรรงบประมำณและทรัพยำกรทำงกำรศึกษำ ที่เอื้อให้สถำนศึกษำมีควำมเป็นอิสระในกำรบริหำรด้ำนกำรจัดกำรศึกษำ ด้ำนวิชำกำร ด้ำนงบประมำณ ด้ำนบุคลำกร และด้ำนบริหำรทั่วไป


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 43 ๔.๒ พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนทำงเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีควำมครอบคลุมในทุกพื้นที่ พัฒนำ แพลตฟอร์ม และ น ำระบบข้อมูลสำรสนเทศมำเป็นกลไกหลักในกำรด ำเนินงำน (Digitalize Process) กำรเชื่อมโยง และแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) ให้เป็นไปตำมพระรำชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยบูรณำกำรกับภำคส่วนต่ำง ๆ รวมทั้งขับเคลื่อนกำรสร้ำงนวัตกรรมทำงกำรศึกษำตำมบริบทของสถำนศึกษำ และพื้นที่ เพื่อให้กำรบริหำรจัดกำร กำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรบริกำรมีประสิทธิภำพ สอดคล้องกับสภำพสังคม รองรับภำวะวิกฤตและเหตุจ ำเป็น ในอนำคต ๔.๓ ส่งเสริม พัฒนำ แนวปฏิบัติและระบบสนับสนุน ให้สถำนศึกษำสำมำรถจัดกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน และกำรเรียนรู้ที่บ้ำนเป็นหลัก (Home based Learning) ในสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน เพื่อแก้ไข ภำวะถดถอยทำงกำร เรียนรู้ของผู้เรียน (Learning Loss) เป็นรำยบุคคล ๔.๔ ส่งเสริมประสิทธิภำพระบบกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ และพัฒนำระบบกำรนิเทศ ติดตำม และ ประเมินผล ของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อน ำผลไปใช้ในกำรวำงแผน ปรับปรุง พัฒนำกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ และกำรจัดกำรเรียนรู้ ๔.๕ ส่งเสริม สนับสนุนให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่กำรศึกษำ มีควำมเข้มแข็ง โดยยึดหลักกำรกระจำยอ ำนำจ และ กำรมีส่วนร่วมของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ด ำเนินกำรเป็นไปตำมหลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ยึดถือระบบ คุณธรรม ควำมโปร่งใส และควำมเสมอภำคระหว่ำงบุคคล เพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำกำรศึกษำเป็นส ำคัญ ๔.๖ เสริมสร้ำงกำรบริหำรจัดกำรตำมหลักธรรมำภิบำลภำครัฐ ให้กับหน่วยงำนทุกระดับ 11. จุดเน้นของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ 1. เร่งแก้ปัญหำกลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด – 19 โดยเพิ่ม โอกำสในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำ ฟื้นฟูภำวะถดถอยทำงกำรเรียนรู้ (Learning Loss Recovery)ให้กับผู้เรียน ทุกระดับ รวมทั้งลดควำมเครียดและสุขภำพจิตของผู้เรียน 2. เสริมสร้ำงระบบและในกำรดูแลควำมปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัยระทรวง ศึกษำธิกำร (MOE Safety Platform) 3. ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอำยุ 3-6 ปี และผู้เรียนระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนเข้ำถึงโอกำสทำงกำรศึกษำ และป้องกันกำรหลุดออกจำกระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลำงคันและเด็กพิกำรที่คันพบจำกกำร ปักหมุดบ้ำนเด็กพิกำรให้กลับเข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ 4.พัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำที่เน้นสมรรถนะและกำรจัดท ำกรอบหลักสูตร รวมทั้งจัดกระบวนกำรเรียนรู้ ทำงประวัติศำสตร์ หน้ำที่พลเมืองและศีลธรรม ให้เหมำะสมตำมวัยของผู้เรียน 5.จัดกำรอบรมครูโดยใช้พื้นที่เป็นฐำน ควบคู่กับกำรให้ควำมรู้ด้ำนกำรวำงแผนและกำรสร้ำงวินัย ด้ำนกำรเงินและกำรออม เพื่อแก้ไขปัญหำหนี้สินครู 6. ส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนรู้ ผ่ำนกระบวนกำรเรียนกำรสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับ กิจกรรมกำรเรียนรู้ผ่ำนกำรปฏิบัติที่ หลำกหลำยรูปแบบ (Active Learning) มีกำรวัดและประเมินผลในชั้นเรียน เพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ 7. ยกระดับคุณภำพของนักเรียนประจ ำพักนอน ส ำหรับโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่สูงห่ำงไกลและถิ่นทุรกันดำร 8. มุ่งเน้นกำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อกำรเรียนรู้ทุกระดับ 9. เพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ โดยกำรกระจำยอ ำนำจและใช้พื้นที่เป็นฐำนเพื่อสร้ำง ควำมเข้มแข็ง โดยกำรจัดสรรกรอบวงเงินงบประมำณ (Block Grant) ตำมหลักธรรมำภิบำล ให้กับส ำนักงำน เขตพื้นที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำ


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 44 จุดเน้นการขับเคลื่อนนโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมอบในที่ประชุมผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 8/2565 ผ่านการประชุม Video Conference วันที่ 5 ตุลาคม 2565 ที่มำ: รำยงำนกำรประชุมผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำทั่วประเทศ ครั้งที่ 8/2565 http://www.bopp.go.th/?p=1045 จุดเน้นที่ 1 การบริหารจัดการเขตพื้นที่ มุ่งเน้นในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้สถำนศึกษำ หำกสถำนศึกษำมีควำมปลอดภัย สร้ำงโอกำส สร้ำงคุณภำพ ให้เด็กไทยทุกคนอย่ำงเท่ำเทียมกันและบริหำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ เหล่ำนี้คือ ควำมส ำเร็จของแต่ละเขตพื้นที่ กำรศึกษำ แต่ปัจจุบันเห็นได้ว่ำ ปัญหำเด็กและปัญหำโรงเรียนสำมำรถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลำ จึงขอน ำมำเป็น ตัวชี้วัดของผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ โดยเขตพื้นที่กำรศึกษำ ต้องสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับ โรงเรียนให้ได้ ด้วยกำรส่งเสริม สนับสนุน และก ำกับดูแล จุดเน้นที่ 2 การบริหารจัดการสถานศึกษา แบ่งโรงเรียนเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. โรงเรียนขนำดเล็กจะสร้ำงควำมเข้มแข็งได้อย่ำงไร 2. โรงเรียนคุณภำพประจ ำต ำบล อ ำเภอ จังหวัด หรือเรียกว่ำ โรงเรียนดีคุณภำพชุมชน โรงเรียนดีสี่มุมเมือง จะท ำอย่ำงไร 3. โรงเรียนในโครงกำรพระรำชด ำริ จะดูแล ส่งเสริม สนับสนุน และก ำกับดูแลอย่ำงไร 4. โรงเรียนที่เข้ำร่วมโครงกำรอื่น อำทิ CONNEXT ED พื้นที่นวัตกรรม จะด ำเนินกำร อย่ำงไร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง จังหวัดที่เป็นพื้นที่ในเขตนวัตกรรมมีหลำยเขตพื้นที่ หลำยจังหวัดที่ไม่ได้วิเครำะห์และปล่อยโรงเรียนทุกโรงเรียนมีสภำพ เหมือนกัน กำรบริหำรเหมือนกัน เมื่อไม่มีจุดเน้น จึงท ำให้เกิดปัญหำในจุดเน้นที่ 2 ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำสำมำรถจ ำแนกโรงเรียนได้ มำกกว่ำ 4 ประเภทโรงเรียนดังกล่ำว ขึ้นอยู่กับแต่ละส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ จุดเน้นที่ 3 การดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถำนกำรณ์หลังโควิด-19 ได้สะท้อนให้ต้องตื่นตัวในเรื่องกำรจัดกำรศึกษำมำกกว่ำปกติ แต่ก่อนกำรศึกษำ เกิดจำกคนที่ขำดโอกำสและเรียกร้องหำโอกำสจึงมำศึกษำ แต่ปัจจุบันกำรศึกษำถูกก ำหนดด้วยกรอบนโยบำย ว่ำ กำรศึกษำคือ เครื่องมือเดียวในกำรเปลี่ยนคน ท ำให้ทุกคนเข้ำมำรับกำรศึกษำ ฉะนั้น ควำมยำกล ำบำกในกำร ดูแลนักเรียน จึงแตกต่ำงจำกอดีตมำก จุดเน้นนี้ ฝำกให้ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำคิดว่ำ โรงเรียน ปัจจุบันไม่ใช่แหล่งเรียนรู้เหมือนอดีต แต่โรงเรียนกลำยเป็นบ้ำนหลังที่ 2 ของเด็ก เพรำะปัจจัยทำงด้ำนครอบครัว ไม่ได้เข้มแข็งเหมือนในอดีต จึงต้องกำรให้ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำสื่อสำรกับครูว่ำ วันนี้กำรเป็น ครูไม่ได้มีหน้ำที่สอนอย่ำงเดียว ต้องเปลี่ยนครูให้เป็นพ่อแม่ เป็นผู้ให้ควำมรักควำมอบอุ่น เพรำะสังคมวันนี้พึ่งครู พึ่งโรงเรียน จึงก ำหนดจุดเน้น 3 เรื่อง ดังนี้ 1. ชีวิต ควำมเป็นอยู่ (กินอิ่ม นอนอุ่น เรียนอย่ำงมีควำมสุข) 2. กำรจัดกำรเรียนรู้ (เน้นเรื่อง กำรคิดเป็น ท ำเป็น แก้ปัญหำเป็น) 3. ทักษะชีวิต ทักษะอำชีพ ทักษะวิชำกำร


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 45 จุดเน้นที่ 4 การดูแลครูและบุคลากร 1. กำรจัดสรรอัตรำก ำลัง ท ำอย่ำงไรที่จะจัดสรรโอกำส สร้ำงอัตรำก ำลังอย่ำงเป็นธรรม 2. กำรเกลี่ยอัตรำก ำลัง โรงเรียนที่มีอัตรำก ำลังเกินเกณฑ์ไปโรงเรียนที่ขำดอย่ำงไร ด้วยเทคนิควิธีกำรอย่ำงไร เพรำะคนคือ เครื่องมือส ำคัญที่ผลักดันน ำไปสู่ควำมส ำเร็จ 3. กำรบรรจุและแต่งตั้ง เมื่อมี อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ กำรจัดสรรอัตรำก ำลัง กำรเกลี่ยอัตรำก ำลัง กำรบรรจุแต่งตั้ง ต้องท ำให้รวดเร็ว 4. กำรมีและเลื่อนวิทยฐำนะ ปีนี้เป็นปีท้ำทำยท ำหรับ เกณฑ์ PA หลำยเขตให้ควำมส ำคัญ หลำยท่ำนพยำยำม ออกแบบค ำว่ำ PA กับกำรประเมิน ซึ่งเกณฑ์PA สำมำรถลดกระดำษจริงหรือไม่ และกำรประเมินครูให้ประเมิน จำกสภำพจริงหรือไม่ จึงต้องกำรให้เขตพื้นที่ไปจ ำลองโรงเรียนว่ำ เมื่อโรงเรียนได้รับเกณฑ์ PA กำรประเมินครู ประเมินตำมสภำพจริงหรือไม่ จึงขอฝำกผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำว่ำถ้ำโรงเรียนใดยังไม่พร้อม ครูยังไม่พร้อม อย่ำเพิ่งประเมิน ขณะนี้ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนร่วมกับ ก.ค.ศ. จะมีวิทยำกร ให้กับทำงส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ เขตละ 10 คน และจัดให้มีกำรอบรมในเดือนตุลำคม 2565 นี้ซึ่งจะท ำให้ เกิดควำมชัดเจนยิ่งขึ้น 5. ควำมก้ำวหน้ำและควำมมั่นคง มีครูอัตรำจ้ำง ครูที่บรรจุใหม่ ต้องกำรให้ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำดูแลและต่อยอดให้ครูดังกล่ำวด้วย 6. สวัสดิกำรและหนี้สินครู เรื่องสวัสดิกำรเป็นนโยบำยที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรต้องกำรให้ทุก โรงเรียน ทุกเขตพื้นที่ ดูแลใส่ใจ ท ำสถำนีแก้หนี้ครูให้เห็นเป็นรูปธรรม 7. ควำมรับผิดชอบของบุคลำกรต่องำนในหน้ำที่ โรงเรียนจะดีหรือไม่ ผู้บริหำรมีควำมรับผิดชอบ มุ่งมั่น ทุ่มเท หรือไม่เขตพื้นที่จะมีคุณภำพหรือไม่ขึ้นอยู่กับผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำเอำจริงเอำจังกับกำรท ำงำนหรือไม่ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมีพื้นที่ที่ต้องด ำเนินกำร มีครู เด็ก โรงเรียน พื้นที่เป็นฐำน หำกส ำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำใดดูแลพื้นที่ของตนเองไม่เรียบร้อย ไม่พัฒนำ และ มีแต่ปัญหำ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ นั้น ต้องรับผิดชอบในพื้นที่ของตนเอง จุดเน้นที่ 5 การแสวงหาการมีส่วนร่วม จุดเน้นนี้ต้องกำรให้เขตพื้นที่กำรศึกษำและโรงเรียนผลักดันร่วมกัน แสวงหำกำรมี ส่วนร่วม โรงเรียน และส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำเป็นของทุกภำคส่วน โดยเฉพำะโรงเรียนต้องแสวงหำ กำรมีส่วนร่วม ต้องท ำให้ทุกคนเป็น ส่วนหนึ่งของโรงเรียน ศิษย์เก่ำต้องมีควำมภำคภูมิใจที่ได้เรียนที่โรงเรียน ที่เขำจบกำรศึกษำ ชุมชนผู้ปกครองต้องมี ควำมพึงพอใจที่ได้ส่งบุตรหลำนมำเรียนในโรงเรียน และไม่ยอมส่งบุตรหลำนไปเรียนโรงเรียนในเมือง เพรำะเชื่อมั่นว่ำ โรงเรียน ใกล้บ้ำนมีคุณภำพ หน่วยงำนภำคเอกชนต้องกำรเข้ำมำมีส่วนร่วมเพรำะเห็นว่ำโรงเรียนท ำเพื่อเด็ก ท ำเพื่อชุมชน หน่วยงำน ภำครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่จ ำเป็นต้องจัดกำรศึกษำแข่งกัน แต่มีโอกำสมำสนับสนุนและท ำงำนร่วมกัน ที่ได้กล่ำว มำทั้งหมดขอให้ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำเดิม ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำใหม่ หรือผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำที่โยกย้ำย หรืออยู่ที่เดิม ได้ไปออกแบบกำรท ำงำนและส ำรวจโรงเรียน ในพื้นที่ว่ำมีลักษณะเป็นอย่ำงไร จะดูแลช่วยเหลือ ต่อยอด พัฒนำอย่ำงไร ให้มีคุณภำพใกล้เคียงกัน โดยยึดหลักกำรพื้นที่ เป็นฐำนนวัตกรรมขับเคลื่อน พร้อมทั้งน ำไปวำงแผนปฏิบัติกำรในปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 ต่อไป


แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับปรับปรุง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 46 12. จุดเน้นของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖7 ๑. เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม องค์ควำมรู้ และทักษะกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่ำงสร้ำงสรรค์ และปลอดภัย รวมทั้งรู้เท่ำทันภัยคุกคำมทำงไซเบอร์ ๒. เร่งรัดกำรด ำเนินงำนเชิงรุกของหน่วยงำนในสังกัด เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหำด้ำนสุขภำพและ ควำมปลอดภัย ทั้งด้ำนร่ำงกำยและจิตใจของผู้เรียน ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ด้วยระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบ มำตรฐำนควำมปลอดภัย กระทรวงศึกษำธิกำร (MOE Safety Platform) โดยบูรณำกำรควำมร่วมมือกับ หน่วยงำน ที่เกี่ยวข้อง ในกำรด ำเนินงำนอย่ำงทันท่วงที ๓. ค้นหำ ติดตำม ป้องกัน เฝ้ำระวัง และดูแลช่วยเหลือ เด็กตกหล่น เด็กออกกลำงคัน เด็กกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเปรำะบำง เด็กพิกำรและเด็กด้อยโอกำส ให้ได้รับกำรศึกษำจนจบกำรศึกษำภำคบังคับ ด้วยรูปแบบในกำร เข้ำถึงกำรเรียนรู้ ที่หลำกหลำย ๔. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนที่จบกำรศึกษำภำคบังคับ และผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบกำรศึกษำ กำรท ำงำน หรือ กำรฝึกอบรม (Not in Education, Employment or Training : NEETs) ให้ได้รับโอกำสในกำรศึกษำต่อ อย่ำงมีคุณภำพ หรือฝึกทักษะอำชีพที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้เรียนรำยบุคคล หรือรำยกลุ่ม ๕. พัฒนำหลักสูตรที่เน้นสมรรถนะ ควบคู่กับกำรวิจัยและติดตำมผลกำรใช้หลักสูตร รวมทั้งปรับปรุง หลักสูตรและ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนประวัติศำสตร์ หน้ำที่พลเมืองและศีลธรรม ที่เหมำะสมกับผู้เรียน เพื่อให้เห็นคุณค่ำ ประวัติศำสตร์และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รู้สิทธิและหน้ำที่อย่ำงมีควำมรับผิดชอบ 6. ส่งเสริมและพัฒนำผู้เรียน ให้มีคุณธรรม จริยธรรม และรักษำขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ค่ำนิยมไทย ให้สอดคล้องเหมำะสมกับบริบทในปัจจุบัน เพื่อเป็นพื้นฐำนของสังคมไทย และ เป็น “ซอฟต์พำวเวอร์” ในกำรสื่อสำร ภำพลักษณ์ของประเทศไทยและน ำเสนอควำมเป็นไทยสู่สำกล ๗. ส่งเสริม และพัฒนำผู้เรียนตำมแนวคิดพหุปัญญำ มีกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กำรจัดกำรเรียนรู้ แบบบูรณำกำร พัฒนำระบบกำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำ รวมทั้งส่งเสริมกำรวัดและ ประเมินผลเพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้ ของผู้เรียน (Assessment for Learning) ๘. ยกระดับกำรพัฒนำผู้บริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้มีจรรยำบรรณและมำตรฐำน วิชำชีพ รวมทั้งมีจิต วิญญำณควำมเป็นครูและเคำรพสิทธิมนุษยชน ตลอดจนให้ควำมรู้ด้ำนกำรวำงแผนและ กำรสร้ำงวินัยด้ำนกำรเงินและ กำรออม เพื่อแก้ไขปัญหำหนี้สินครู 9. เพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ โดยกำรกระจำยอ ำนำจ ใช้พื้นที่เป็นฐำน ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ นวัตกรรมในกำรขับเคลื่อน ให้สอดคล้องกับกำรท ำงำนแบบรัฐบำลดิจิทัล


Click to View FlipBook Version