The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร_เสียงชนเผ่า_ประจำเดือนตุลาคม_2563 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสาร_เสียงชนเผ่า_ประจำเดือนตุลาคม_2563 (1)

วารสาร_เสียงชนเผ่า_ประจำเดือนตุลาคม_2563 (1)

ส่ือแนวราบจากชุมชนบนพ้ืนท่ีสูง
ตลุ าคม 2563 ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 14

วารสารแจกฟรี

ต ่ า ง ช า ติ พั น ธุ ์

ห า ใ ช่ ต่ า ง ต้ อ ง เ ลื อ ก ป ฏิ บั ติ

อนุสัญญาวา่ ดว้ ยการขจดั การเลอื กปฏิบัตทิ างเช้อื ชาตใิ นทกุ รูปแบบ I ในความเปน็ ไทย ใครคอื ผเู้ ลือกและถกู เลอื กปฏบิ ัติ
การรายงาน 7 ประเดน็ สำ�คญั สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชน I การก่อร่างสร้างอัตลกั ษณ์ของชาวมุสลิมช้างคลานในเมืองเชียงใหม่

การเลือกปฏบิ ตั ทิ างเชือ้ ชาตใิ นระบบหลักประกันสขุ ภาพ

contents I สารบญั

5 เร่อื งจากปก 10 สนามเด็กเล่น
ในความเปน็ ไทย
อนุสัญญาวา่ ด้วยการขจดั การเลือกปฏิบัติ ใครคือผู้เลอื กและถูกเลอื กปฏิบตั ิ
ทางเชื้อชาตใิ นทกุ รูปแบบ

15 บทความพิเศษ 21 ทางท่เี ปล่ยี น วถิ ที ่ีเปน็ 28 พริ าบส่งสาร

การรายงาน 7 ประเดน็ ส�ำคัญ การก่อร่างสร้างอัตลกั ษณ์ การเลือกปฏบิ ตั ทิ างเช้ือชาติ
สถานการณส์ ิทธมิ นษุ ยชน ของชาวมุสลิมชา้ งคลานในเมอื งเชยี งใหม่ ในระบบหลักประกนั สขุ ภาพ

บรรณาธกิ ารอำ� นวยการ ววิ ฒั น์ ตาม่ี สนบั สนุนโดย
บรรณาธกิ าร ขวัญเรยี ม จิตอารีย์
กองบรรณาธกิ าร วิวฒั น์ ตาม/่ี สุมิตรชยั หตั ถสาร
ศาสตรา บุญวิจติ ร/ขวญั เรียม จิตอารยี ์
รูปเล่ม/ศลิ ปกรรม ดอกไม้ สตูดิโอ สำ�นัก 9 สำ�นกั สนบั สนุนสขุ ภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ

จดั ท�ำโดย สำ�นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)

วารสาร เสียงชนเผา่ สนใจรับวารสารหรือเสนอแนะ ไดท้ ่ี
ส่อื แนวราบจากชมุ ชนบนพ้นื ทส่ี ูง โครงการพัฒนาระบบและบรกิ ารสุขภาพชนเผ่าพน้ื เมอื ง
โครงการพฒั นาระบบและบริการสขุ ภาพชนเผา่ พื้นเมือง และกลุ่มชาติพันธ์ุท่ีมปี ญั หาสถานะและสทิ ธิ
Iวารสารราย 4 เดือน และกลมุ่ ชาตพิ ันธุท์ ่ีมีปญั หาสถานะและสิทธิ
มูลนิธิพฒั นาชนกลุ่มนอ้ ยและชาตพิ ันธุ์ (พชช.) มูลนธิ ิพฒั นาชนกล่มุ นอ้ ยและชาติพันธ์ุ (พชช.)
ตุลาคม 2563 ปีที่ 11 ฉบับท่ี 14
229/61 หมู่ท่ี 3 ต.สนั ทราย อ.เมอื งเชียงราย
229/61 หมทู่ ี่ 3 ต.สนั ทราย อ.เมอื งเชยี งราย จ.เชยี งราย 57000 จ.เชยี งราย 57000
โทรศัพท์ 088 2524 790 โทรศพั ท์ 088 2524 790
อเี มล [email protected]
และ [email protected] อเี มล [email protected]
และ [email protected]

บขกา่ .วอฝ�ำนากวยจกาการ

ประเทศไทยลงนามในภาคยานุวัติสาร เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ
ในทกุ รูปแบบ (International on the Elimination of All Foms of Racial Discrimination - CERD)
เม่อื วนั ท่ี 28 มกราคม 2546 และอนุสญั ญามผี ลบังคบั ใชก้ ับประเทศไทยตัง้ แต่ 27 กุมภาพันธ์ 2546 ในการเข้า
เป็นภาคอี นุสัญญา แต่ประเทศไทยได้ตง้ั ข้อสงวน (ไม่รบั ) 2 ขอ้ คือข้อ 4 ซงึ่ รฐั บาลตคี วามวา่ ขอ้ บทดังกล่าวท่ี
ให้รัฐภาคีดำ�เนินมาตรการเชิงบวกในการขจัดการกระตุ้นหรือการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติก็ต่อเม่ือรัฐบาลไทย
พิจารณาเห็นว่ามีความจำ�เป็นจะต้องออกเป็นกฎหมายเท่านั้น และข้อ 22 ว่าด้วยการยินยอมให้ศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศพิจารณาข้อพิพาทระหว่างรฐั ภาคี

ตามพนั ธกรณขี อ้ 9 ของอนสุ ญั ญา รฐั ภาคตี อ้ งเสนอรายงานการปฏบิ ตั ติ ามอนสุ ญั ญาเกยี่ วกบั มาตรการ
ต่างๆ ทางด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม กระบวนการบริหารอ่ืนๆ ซึ่งรัฐภาคีได้จัดให้มีขึ้นเพื่อบังคับใช้
อนสุ ญั ญาน้ี นบั แตป่ ระเทศไทยเขา้ เปน็ ภาคี ประเทศไทยไมไ่ ดจ้ ดั ทำ�รายงานเลยจนกระทงั่ ในปี 2555 ประเทศไทยจงึ
ไดจ้ ดั ทำ�รายงาน เปน็ รายงานฉบบั รวมของรายงานฉบบั แรก (ปี 2547) ฉบบั ท่ี 2 (ปี 2549) ฉบบั ที่ 3 (ปี 2554)
ซ่ึงรัฐบาลไทยได้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการตามอนุสัญญา (ICERD) ระหว่างวันที่ 9-10 สิงหาคม 2555 และ
รายงานฉบบั ท่ี 4 ถงึ ฉบบั ที่ 7 ระหวา่ งปี 2556-2558 รฐั บาลไทยไดเ้ ขยี นรวมไวด้ ว้ ยกนั และไดข้ ยายการครอบคลมุ
เนื้อหาพัฒนาการต่างๆ จนถึงมนี าคม 2562

ภาคประชาสังคมยังได้จัดทำ�รายงานคู่ขนาน (shadow report) ขนานกับรัฐบาลไทยด้วย โดยภาค
ประชาชนได้ส่งรายงานฉบับแรกแก่คณะกรรมการ CERD ภายหลังจากรัฐบาลไทยเสนอรายงานไปยังองค์การ
สหประชาชาติแลว้ 1 เดือน โดยรายงานฉบบั ที่ 1 ได้เสนอ เมอ่ื วันที่ 22 มกราคม 2555 ผ้แู ทนภาคประชาชน
นำ�เสนอรายงานคู่ขนานดงั กล่าวตอ่ คณะกรรมการ CERD องคก์ ารสหประชาชาติ เม่อื วนั ท่ี 9 และ 10 สิงหาคม
2555 ณ นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอรแ์ ลนด์ และการจัดทำ�รายงานคขู่ นาน (shadow report) ฉบบั ท่ี 2 ครง้ั
นี้ มรี ายงานจาก 3 เครอื ขา่ ย/องคก์ รดว้ ยกนั คอื มรี ายงานเครอื ขา่ ยชนเผา่ พนื้ เมอื งแหง่ ประเทศไทย (คชท.) รายงาน
ของมูลนิธิผสานวัฒนธรรม และรายงานของมูลนิธิพัฒนาศักยภาพชุมชน องค์การสหประชาชาติได้รับรายงาน
และประกาศเผยแพรท่ ่ีเวบ็ ไซด์ (เขา้ ไปดูท่ี UNITED NATIONS HUMAN RIGHTS office of the High
commissioner/UN treaty Body Database) เมื่อวนั ที่ 22 พฤษภาคม 2563

ตามกำ�หนดการ ผู้แทนรัฐบาลไทยจะต้องเดินทางไปเสนอรายงานต่อคณะกรรมการตามอนุสัญญา
(ICERD) ประมาณกลางเดือนสิงหาคม 2563 แต่ด้วยปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID
-19 ทั่วโลก UN จงึ เล่อื นการประชมุ นำ�เสนอรายงานออกไปอยา่ งไมม่ กี ำ�หนด แตก่ ห็ วงั วา่ กรรมการ CERD จะ
สามารถประชมุ ไดภ้ ายในปลายปี 2564 เปน็ อยา่ งชา้

ประเด็นสาระสำ�คัญในรายงานคู่ขนาน (shadow report) ที่เครือข่ายชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย
นำ�เสนอคขู่ นานกบั รายงานรฐั บาลไทย ประกอบดว้ ยเรอ่ื งการบงั คบั ใชอ้ นสุ ญั ญา ขอ้ 1 ความหมายของการเลอื ก
ปฏบิ ตั ทิ างเชอื้ ชาติ ขอ้ 4 การเผยแพร่ความคิดและหนว่ ยงานด้านการเลือกปฏบิ ัตทิ างเชื้อชาติ ขอ้ 5 a)สิทธทิ ่ีจะ
ไดร้ ับการปฏบิ ัติอย่างเท่าเทยี มกันภายใตศ้ าล ข้อ 5 d) สิทธิพลเมอื งอ่ืน ๆ ขอ้ iii.สทิ ธิในการครองสัญชาติ ขอ้ 5
(e) สทิ ธิพลเมืองอื่นๆ ข้อ iv. สิทธใิ นการไดร้ บั บริการสาธารณสุข ชนเผ่าพ้ืนเมอื งและกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ท่ีอาศัยอยใู่ น
ปา่ (ยอ่ หนา้ 16 CERD/C/THA/CO-1-3) กลมุ่ ชาตพิ นั ธซ์ุ งึ่ เปน็ กลมุ่ เปราะบาง (ยอ่ หนา้ ที่ 17 CERD/C/THA/
C0-13) และความรว่ มมือกับภาคประชาสงั คม

วารสารเสียงชนเผ่าฉบับน้ี ได้นำ�เน้ือหาสำ�คัญบางประเด็นในรายงานคู่ขนาน (shadow report) มา
นำ�เสนอ โดยนกั เขยี นแตล่ ะทา่ นเลอื กประเดน็ ทต่ี นสนใจมาเขยี น เพอื่ ใหผ้ ทู้ สี่ นใจรว่ มศกึ ษาทำ�ความเขา้ ใจและตดิ ตาม
ความคบื หนา้ ในการนำ�เสนอรายงานของรฐั บาลไทยตอ่ คณะกรรมการการเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอ้ื ชาติ (ICERD) อยา่ ง
ใกล้ชดิ ต่อไป

วิวัฒน์ ตามี่
บรรณาธิการอำ�นวยการ

บทบรรณาธกิ าร

ใต้โคง้ ฟ้าไกลสุดตา ตา่ งพันธุว์ รรณา
ตา่ งถอื ครองคา่ แหง่ ตน ทบทา่ วเวยี นวน
การให้คุณค่า
กดขี่ แขง็ ขนื จำ�นน มา่ นชาติพันธุ์
ครองค่าคำ�คนมายา- ปา่ วบอกโลกหลา้
โหมโลกลุกไหม้
คตกิ กั จนิ ตนา- เพลงใดปลอบปลกุ
วรรณะสูงตำ่� ต่างกนั ปลกุ ดวงใจตืน่
ล้วนเราท้งั ผอง
สร้างกรอบจำ�กัดกางกั้น เผา่ พันธ์วุ รรณา
ถกั ทอผา่ นกาลนานมา

เสกสรรค์ห่มคลมุ กายา
เธอ ฉัน มัน น้นั คือใคร

กอ่ เกลยี ดหกั ฟนื สุมไฟ
ก่ดี ้าวแดนใดไรส้ ุข?

กอดเกี่ยวพันธะทุรยคุ
ขวญั ใครไยกลายเป็นอื่น

ฝนั รา้ ยรา่ ยซ�ำ้ คำ�่ คืน
รรู้ อ้ นรู้รา้ ยไหม้หมอง

รโู้ ลกอยตุ ธิ รรมครอง
เสกสรรปั้นแตง่ ขึ้นมา

"คน" ล้วนคือ "คน" คงค่า
ตา่ งรว่ มโลกหล้าฟา้ เดยี ว

ขวัญเรยี ม จิตอารีย์
บรรณาธิการ

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัด เรอื่ งจากปก

เร่อื ง : ศาสตรา บญุ วิจติ ร

การเ ลื อ กป ฏิ บั ติ ทางเชื้ อ ช า ติ ในทุ ก รู ป แบ บ

A small boy strolls down a road lined with dead bodies near the Bergen-Belsen concentration camp, 1945.George Rodger-The LIFE Picture Collection/
Getty Images

มนษุ ยเ์ ปน็ เผา่ พนั ธท์ุ ต่ี อ้ งการความเปน็ เลศิ มนษุ ยม์ คี วามตอ้ งการทจ่ี ะเหนอื กวา่ สง่ิ มชี วี ติ อนื่ ๆ และมนษุ ยม์ คี วาม
เชอ่ื ว่าตนเองพิเศษกวา่ เผ่าพันธ์อุ ื่นๆ บนโลกน้ี แมก้ ระท่ังเผา่ พนั ธท์ุ ีเ่ ปน็ มนุษย์ด้วยกันเอง มนุษยพ์ ยายามสร้างความ
แตกตา่ งทางชาตพิ นั ธข์ุ นึ้ ระหวา่ งกนั เอง แมแ้ ตค่ วามแตกตา่ งของชนชนั้ ในชาตพิ นั ธเ์ุ ดยี วกนั ความเชอ่ื นดี้ เู หมอื นจะตดิ
แนน่ ฝงั หวั มนุษย์โดยตลอดมา การแบง่ แยกสผี วิ ชนชน้ั เช้อื ชาติ ความเชอื่ ศาสนา วฒั นธรรมประเพณี สิ่งเหล่านี้
กอ่ ตวั เกดิ เปน็ ปญั หาระดบั โลก สงคราม การฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธ์ุ โศกนาฏกรรมมากมายเกดิ ขนึ้ จากเหตผุ ลดงั กลา่ วตลอด
ประวัติศาสตรท์ เี่ คยมมี นษุ ยเ์ กิดมาบนแผน่ ดินโลกนี้

5

ฆา่ ล้างเผ่าพนั ธ์ุชาวอามาเนียน ปี ค.ศ. 1915-1923 ชาวเติร์กได้ฆา่ ลา้ งเผา่ พันธุ์ชาวอามา
นาซีเยอรมัน ฆ่าลา้ งเผ่าพนั ธุ์คนยวิ เนียนไป 1.7 ลา้ นคน ปี ค.ศ.1929-1953 มกี ารฆา่ ล้างเผ่าพันธใุ์ น
การสังหารหมคู่ นจนี ท่นี านกงิ โดยทหารญ่ปี ุ่น รัสเซียสมัยสตาลินเรืองอ�ำนาจ ปี ค.ศ.1939-1945 พรรคนาซี
เยอรมนั ฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธค์ุ นยวิ ไปถงึ 11 ลา้ นคน ปี ค.ศ.1946-1949
6 ก็ได้เกิดการสังหารหมู่คนจีนท่ีนานกิงโดยทหารญี่ปุ่น และแม้แต่
สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ท่คี ร่าชีวิตผูค้ นไปนับไมถ่ ว้ นนัน้ กม็ สี าเหตุหนงึ่
จากลัทธิคลั่งชาติของญี่ปุ่นและลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) ของ
เยอรมนั และอติ าลี ทมี่ คี วามเชอื่ วา่ ชาตพิ นั ธข์ุ องตนพเิ ศษเหนอื กวา่
ชนชาตอิ น่ื ๆ และสมควรทจ่ี ะไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ ผนู้ ำ� ของโลกนี้
ในช่วงสงครามโลกคร้ังที่ 2 จึงเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง
รุนแรงและกวา้ งขวาง จนกระท่งั สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ได้ปิดฉากลง
นานาประเทศหวนั่ วติ กและตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของเรอ่ื งนอี้ ยา่ ง
ยงิ่ จงึ ไดม้ กี ารกอ่ ตงั้ องคก์ ารสหประชาชาตขิ น้ึ ในปี ค.ศ.1945 เนอื้
ใหญ่ใจความส�ำคัญเร่ืองหน่ึงในการจัดต้ังครั้งน้ีก็คือ การจัดท�ำ
ปฏิญญาสากลฯและกฎหมายระหว่างประเทศที่ว่าด้วยเรื่อง
สิทธิมนุษยชน จนเกิดเป็นปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
(Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) ซง่ึ ที่
ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ให้การรับรองตามข้อมติท่ี
217 A (III) เมื่อวนั ที่ 10 ธันวาคม ค.ศ.1948 ต่อจากนั้นก็ไดจ้ ัดทำ�
อนุสัญญาอีกหลายฉบับท่ีรองรับและเชื่อมโยงเร่ืองเฉพาะการออก
มา เช่น อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุก
รูปแบบ (Convention on the Elimination of All Form of
Discrimination against Women 1979: CEDAW) อนสุ ัญญาว่า
ด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child 1989
: CRC) อนสุ ัญญาวา่ ดว้ ยสิทธขิ องคนพิการ (Convention on the
Rights of the Persons with Disabilities 2006 : CRPD) เปน็ ตน้
และในปี ค.ศ.1965 อนสุ ญั ญาฯวา่ ดว้ ยการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ าง
เชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the
Elimination of All Forms of Racial Discrimination 1965 :
ICERD) กถ็ กู จดั ทำ� ขนึ้ เปน็ ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ อนสุ ญั ญาฉบบั
น้ีเป็นความมุ่งหวังที่จะขจัดปัญหาความเหล่ือมล�้ำและสร้างความ
เท่าเทยี มใหเ้ กดิ ขึน้ บนโลก

อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ย การขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ิ
ทางเชอ้ื ชาตใิ นทกุ รปู แบบฉบบั นถี้ อื วา่ เปน็ กฎหมายระหวา่ งประเทศ
มผี ลบงั คบั ตอ่ รฐั ภาคสี มาชกิ มพี นั ธะผกู พนั ทต่ี อ้ งปฎบิ ตั ิ ซง่ึ ตา่ งออก
ไปจากปฏญิ ญาสากลหรอื คำ� ประกาศรว่ ม จดั ทำ� ขน้ึ ตามเจตนารมณ์

ขององค์การสหประชาติ มีที่มาจากกฎบัตรสหประชาชาติ มาตรา ทบทวนนโยบายในระดับต่างๆ และแก้ไข “ยกเลิก
55 การเคารพอย่างเป็นสากลต่อสิทธิมนุษยชนและคงไว้ซึ่งสิทธิ กฎหมาย ระเบยี บ” ที่เอือ้ ต่อการเลอื กปฏบิ ตั ฯิ ห้ามหรอื
มนษุ ยชนและเสรภี าพขนั้ พน้ื ฐาน สำ� หรบั ทกุ คนโดยไมม่ กี ารจำ� แนก ยกเลิกการเลือกปฏิบัติฯ รวมทั้งออกกฎหมายที่ใช้ตาม
ตามความแตกต่างอันเน่ืองมาจากเช้ือชาติ เพศ ภาษาหรือศาสนา ความจ�ำเป็น “สนับสนุนการด�ำเนินงานขององค์กรท่ี
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ ข้อ 2 ทุกคนล้วนมีสิทธิ ประสานหลายเชอื้ ชาต”ิ ไมส่ นบั สนนุ การแบง่ แยกเชอื้ ชาติ
มนุษยชนเท่าเทียมกัน โดยไม่เลือกปฏิบัติอันเน่ืองมาจากเหตุแห่ง เมอื่ สถานการณเ์ หมาะสม รฐั ภาคมี ี “มาตรการพเิ ศษ”เพอื่
ความแตกต่างทางเช้ือชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิด ประกันให้มีการพัฒนา และคุ้มครองกลุ่มคนบางเช้ือชาติ
ทางการเมือง ชาติก�ำเนิด ทรัพย์สิน หรือสถานะ, กติการะหว่าง ให้มีสิทธิฯ เสรีภาพข้ันพ้ืนฐานสมบูรณ์ แต่ต้องไม่ให้เกิด
ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง มาตรา 2 การแบง่ แยกอย่างตอ่ เน่อื งเมอ่ื บรรลุผลแลว้
ก�ำหนดให้รัฐสมาชิกต้องเคารพสิทธิทั้งหลายที่ปรากฏในกติกาน้ี รฐั ภาคปี ระฌามการแบง่ แยกเชอ้ื ชาตแิ ละลทั ธแิ บง่ แยกผวิ
โดยไม่เลือกปฏิบัติ โดยประเทศภาคีสมาชิกมีพันธะผูกพันต้อง และจะป้องกัน หา้ ม และขจดั การเลือกปฏิบัติฯในพนื้ ท่รี ัฐ
ดำ� เนินการตามอนสุ ญั ญาฯ คอื ของตน
1. การประกันให้เกิดสิทธิฯในประเทศ จัดให้มีกฎหมายภายใน รัฐภาคีประฌามการโฆษณาชวนเช่ือท่ีว่าชนชาติ กลุ่ม
บุคคลตามสีผิว เผ่าพันธุ์ก�ำเนิดใดเหนือกว่ากลุ่มอ่ืน หรือ
ประเทศ การจดั องคก์ ร ระบบ/กระบวนการทำ� งาน (ป้องกนั , ส่งเสริมความเกลียดชังฯ และต้องมีมาตรการด�ำเนินงาน
แก้ไข,เยียวยา) บคุ ลากร แผนงาน งบประมาณฯ รองรับจาก ขจดั การเลือกปฏบิ ตั ฯิ เหล่านี้
การละเมิดของรฐั และเอกชน จะประกาศใหก้ ารเผยแพร/่ กระตนุ้ การกระทำ� ทรี่ นุ แรงตอ่
2. การปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ สทิ ธติ ามทร่ี บั รองไวใ้ นอนสุ ญั ญาฯ ปฏบิ ตั ติ าม
แผนงาน โครงสรา้ งภายในทจี่ ดั ไว้ ตดิ ตามงาน ปรบั ปรงุ แกไ้ ขฯ 7
3. การเผยแพรห่ ลกั การของสทิ ธฯิ ทร่ี ะบไุ วใ้ นอนสุ ญั ญาฯ กำ� หนด
กลุ่มเป้าหมาย แนวทางวิธีการ สื่อ เน้ือหา ของการเผยแพร่
แลว้ ดำ� เนนิ การเผยแพร่ ตดิ ตามประเมนิ ผลและ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ต่อไปให้บรรลุผลฯ
4. การจัดท�ำรายงานสถานการณ์และปัญหาอุปสรรคในประเทศ
เสนอUN จัดเตรียมเค้าโครงรายงาน ทีมงาน เก็บรวมรวม
ข้อมูล ยกรา่ ง นำ� เสนอ ปรับแก้ สง่ รายงาน น�ำเสนอรายงาน
ตอ่ UN รบั ข้อเสนอมาพจิ ารณาปรับปรุงฯ

ซึ่งการเสนอรายงานนั้น เสนอครั้งแรกภายในปีแรกนับแต่
วนั ทอี่ นสุ ญั ญามผี ลใชบ้ งั คบั และทกุ ๆ 4 ปี หลงั สง่ รายงานฉบบั แรก
หรอื เมอ่ื ไดร้ บั การร้องขอจากคณะกรรมการฯ

รฐั ภาคีถกู ก�ำหนดบทบาทและหนา้ ท่ีที่มีตอ่ อนสุ ญั ญาดังน้ี
รัฐภาคี ต้อง “ประฌาม” การเลือกปฏบิ ัติฯ มี “นโยบาย
ขจัดการเลือกปฏิบัติ” ส่งเสริมความเข้าใจของชนทุก
เชื้อชาติฯ ไม่กระท�ำการเลือกปฏิบัติฯ รัฐ “ประกัน” ว่า
เจ้าหน้าที่/หน่วยงานรัฐต้องไม่ท�ำการเลือกปฏิบัติฯ
“ไม่อุปถัมภ์ช่วยเหลือสนับสนุน” การเลือกปฏิบัติฯ

กลุ่มเช้ือชาติ/สีผิวอ่ืน การสนับสนุนการเงินต่อกิจกรรม ปรากฏในอนุสัญญา เป็นพันธกรณีเกินกว่ารัฐธรรมนูญแห่งราช
ชาตนิ ิยมเปน็ ความผิดและมโี ทษ อาณาจักรไทยและกฎหมายภายในท่ีบัญญัติไว้การตีความหรือใช้
จะประกาศให้องค์กร กิจกรรม การโฆษณาท่ีส่งเสริม/ บทบัญญัติฯ จะจ�ำกัดหรือเป็นไปตามตราสารด้านสิทธิมนุษยชน
กระตุ้นการเลือกปฏิบัติ เป็นสิ่งผิดกฎหมายและต้องห้าม ระหว่างประเทศอ่ืนท่ีไทยเป็นภาคี ประเทศไทยจึงเป็นอีกประเทศ
การเข้าร่วมฯจะมคี วามผดิ และมีโทษฯ ทมี่ พี นั ธสญั ญาทตี่ อ้ งดำ� เนนิ การตามเงอ่ื นไข และขอ้ ตกลงดงั ทก่ี ลา่ ว
ไม่อนุญาตให้เจ้าหน้าท่ีรัฐ/องค์กรรัฐ ระดับต่างๆ ไปส่ง ไว้ขา้ งตน้
เสริมหรือกระตุ้นใหเ้ ลอื กปฏิบัติ ถึงแม้รัฐบาลไทยจะรายงานต่อคณะกรรมการอนุสัญญาฯ
วา่ ไดด้ ำ� เนนิ การตามขอ้ ตกลงอยา่ งดี แตส่ ถานการณภ์ ายในประเทศ
รฐั ภาคีต้องมีการประกันสิทธิ ในประเด็นต่างๆ ดงั น้ี ดูเหมอื นไมเ่ ปน็ เช่นนั้น ขา่ วการเลือกปฎบิ ัติ การดูถูกเหยยี ดหยาม
สทิ ธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรม ของคนเชอื้ ชาตติ า่ งๆ ในรฐั นนั้ ในหลายๆ ด้านเกิดขึ้นให้เห็นได้โดยท่ัวไป ไม่ว่าจะเป็นชนเผ่า
สิทธิท่ีจะได้รับการคุ้มครองจากรัฐในเร่ืองสวัสดิภาพ จาก พนื้ เมอื งในภาคเหนือ กรณี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ แรงงานขา้ ม
การกระทำ� ความรนุ แรงของบคุ คล องคก์ รใดและเจา้ หนา้ ที่ ชาติ และอื่นๆ อีกมากมาย ดังรายงานคู่ขนานข้อสรุปเชิงสังเกต
รฐั เสนอตอ่ คณะกรรมการวา่ ดว้ ยการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอ้ื ชาติ
สิทธิทางการเมือง เช่น การลงสมัครรับเลือกต้ัง การลง ในทุกรูปแบบ (ICERD Committee, United Nation to UN-
คะแนนเสียงเลือกต้ัง การร่วมในรัฐบาล การร่วมใน CERD) เครอื ขา่ ยองคก์ รภาคประชาสงั คมดา้ นกลมุ่ ชาตพิ นั ธแ์ุ ละชน
กจิ กรรมสาธารณะตา่ งๆ เผา่ พน้ื เมอื ง เรยี บเรยี งโดย ววิ ฒั น์ ตาม่ี ในขอ้ ความตอนหนงึ่ ไดก้ ลา่ ว
สิทธิพลเมืองอนื่ เชน่ การโยกย้าย พ�ำนกั อาศยั ในรฐั การ ไวด้ ังนี้
เดนิ ทางไปตา่ งประเทศและกลบั ประเทศตน การมสี ญั ชาติ
การสมรสและเลือกคู่การครอบครองทรัพย์สิน การรับ อย่างไรก็ตาม บางกฎหมายและนโยบายส่งผลกระทบใน
มรดก เสรีภาพทางความคิด การนับถือศาสนา การ การละเมิดสิทธิมนุษยชนของกลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่มมากเป็นพิเศษ
แสดงออก การรวมกล่มุ การชุมนุมโดยสงบ ยกตัวอย่างเช่น คนชนเผ่าพื้นเมืองจ�ำนวนมากต้องถูกไล่รื้อท่ี
สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เช่น สิทธิในการ และยดึ ครองท่ีดนิ เพราะนโยบาย “ทวงคนื ผนื ปา่ ” ของรัฐบาลไทย
ทำ� งาน การจดั ตงั้ /รว่ มในสหภาพ การมที อี่ ยอู่ าศยั การรบั เจ้าหน้าท่ีรัฐใช้อ�ำนาจภายใต้กฎหมายและค�ำสั่งฝ่ายบริหารท่ี
บรกิ ารสาธารณสุข การศึกษา การเข้ารว่ มในกจิ กรรมทาง เก่ียวข้องกับป่าไม้และการรักษาส่ิงแวดล้อม เช่น ค�ำสั่งคสช.
วัฒนธรรม 64/2557 ในการฟอ้ งรอ้ งคนชนเผา่ พนื้ เมอื งในขอ้ หาบกุ รกุ ปา่ สงวน
สทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ สถานทแี่ ละบรกิ ารใดๆ สำ� หรบั สาธารณะ หรือใช้ทรัพยากรธรรมชาติของหลวง เป็นต้น ในพ้ืนท่ีจังหวัด
ชน เชน่ การเดินทางขนส่ง โรงแรม รา้ นอาหาร ร้านกาแฟ ชายแดนใต้ รัฐบาลบังคับใช้กฎหมาย “พิเศษ” ด้านความมั่นคงซง่ึ
โรงละคร สวนสาธารณะ รวมถงึ กฎอยั การศึกและพ.ร.ก. ฉกุ เฉนิ เจา้ หนา้ ท่ีรัฐใช้อำ� นาจตาม
กฎหมายเหลา่ นใี้ นการจบั กมุ และควบคมุ ตวั ผตู้ อ้ งสงสยั วา่ เกย่ี วขอ้ ง
ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่เข้าเป็นภาคียอมรับใน กบั เหตคุ วามไมส่ งบในคา่ ยทหารโดยทไ่ี ม่มหี มายจับ
อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทาง สถานการณก์ ารเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอ้ื ชาติ ในปจั จบุ นั อาจถอื
เชื้อชาติในทุกรูปแบบ ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภคยานุวัติ ได้วา่ ดีข้ึนกวา่ แตก่ ่อน แต่กค็ งไม่สามารถพดู ไดว้ ่าดกี วา่ มากแคไ่ หน
(accession) เมื่อ 28 มกราคม ค.ศ.2003 และมีผลบังคับกับ และในอดุ มคติน้นั เรายงั หวังวา่ การเลอื กปฏบิ ัตทิ างเชอ้ื ชาตนิ ้ันจะ
ประเทศไทยต้ังแต่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2003 และมี “ถ้อยแถลง หมดไป อันท่ีจริงการเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิมนุษยชนไม่
ตีความทั่วไป” ว่า รัฐบาลไทยจะไมต่ ีความหรือใช้บทบัญญัติใดๆ ที่ ว่ารูปแบบใดหรอื ทางใดก็ไมค่ วรเกดิ ขึน้ ทงั้ สน้ิ

*** ขอ้ มูลจากเอกสารการอภปิ รายเร่ือง “อนสุ ญั ญาฯว่าดว้ ยการขจดั การเลอื กปฏิบัติทางเชอ้ื ชาติฯ”
โดย นายพิทยา จนิ าวฒั น์ รองประธานคณะทำ�งานศึกษาและพัฒนาแนวทางในการลดปริมาณผู้ตอ้ งขงั หญิงคดียาเสพตดิ ในเรอื นจำ�

8

ชวนอา่ น ชวนดู
ดวงตาสฟี า้ สุดฟ้า
(The Bluest Eye)

ผู้เขยี น โทนี มอร์รสิ ัน (Tony Morrison )
ผ้แู ปล จฑุ ามาศ แอนเนยี น
สำ�นกั พมิ พไ์ ลบราร่ี เฮา้ ส์ พิมพค์ รง้ั ท่ี 1/2563

ผลงานเขยี นเลม่ แรกของนกั เขยี นรางวลั โนเบล ปี 1993 เจา้ ของเดยี วกบั
"Belove" ท่เี คยชวนอ่านไปแลว้ นวนยิ ายเร่ืองนีม้ าจากประสบการณ์วยั เยาว์ของ
ผเู้ ขยี นทอี่ ยใู่ นสงั คมอเมรกิ นั ในชว่ งปี 1941 ชว่ งทกี่ ารเหยบี ดสผี วิ ยงั เปน็ เรอ่ื งปกติ
ด้วยความรู้สึกของคนที่ถูกชัง ไม่ใช่แค่คนขาว แต่ยังรวมถึงคนดำ�ด้วยกันเอง
คนกลุ่มหนึ่งจึงถูกกักขังไว้ในอัปลักษณ์แห่งสีดำ� ขณะท่ีโลกใบน้ีมีไว้สำ�หรับคนขาว
ตุ๊กตาเด็กเล่นล้วนแต่มีผิวสีขาว ผมสีทองสลวย และดวงตาสีฟ้าท่ีเปล่งประกาย
งดงาม เดก็ หญงิ ผวิ ดำ�คนหนงึ่ จงึ ปรารถนาอยา่ งทสี่ ดุ ทจี่ ะไดด้ วงตาสฟี า้ ยงิ่ กวา่ ใคร
เธอจะมองโลกผ่านดวงตาสีฟา้ คนู่ ี้ แล้วหวังวา่ ทุกคนจะปฏิบัตกิ บั เธอต่างจากเดิม

ด้วยภาษาทงี่ ดงาม กระชับ จับทกุ ความรสู้ ึกมาไว้ในเนอ้ื ความ การเลา่ เรื่อง
ดว้ ยมมุ มองและเสยี งของเดก็ ทไี่ รเ้ ดยี งสา ทง้ั ยอมจำ�นนและแขง็ ขืนตอ่ การถูกเลอื ก
ปฏบิ ตั จิ วบจนเตบิ ใหญ่ บางอยา่ งไดห้ ยงั่ รากลงในจติ ใจ กอ่ รา่ งเปน็ ความเงยี บทก่ี อ้ ง
สะท้อนอยู่ในอก แล้วเราจะได้เห็นว่ามนุษย์ถูกทำ�ให้สูญสิ้นภายใต้เปลือกแห่งสี
ไดอ้ ย่างไร

ย้ิมไว้โลกนไ้ี ม่สน้ิ หวัง (Life Is Beautyful)

เขียนบท โรแบร์โต เบนญิ ,ี่ วิเซนโซ เครามี่
ผู้กำ�กบั โรแบรโ์ ต เบนิญี่
ปที ีฉ่ าย ที่อิตาลี 20 ธนั วาคม ค.ศ. 1997 /สหรัฐ 23 ตลุ าคม ค.ศ. 1998
ไทย 19 มีนาคม ค.ศ. 1999 (2542)
ความยาว 116 นาที
นักแสดง โรแบรโ์ ต เบนิญ่,ี นิโคเลต็ ตา้ บลานชี,่ จอิ อร์จโิ อ แคนทารนิ ี,่ กุสติโน ดรู าโน
รางวลั รางวัลภาพยนตร์ตา่ งประเทศยอดเยี่ยม, รางวัลดนตรปี ระกอบยอดเยย่ี ม

และรางวลั นักแสดงนำ�ชายยอดเยยี่ ม จากรางวลั ออสการป์ ี 1998
ขน้ึ ชอ่ื วา่ หนงั สงครามหลายคนคงไมอ่ ยากดู เพราะกลวั จะพบกบั ฉากรบรานองเลอื ด
ความเศร้าสลดหดหู่ แต่แม้คุณจะกลัวแค่ไหน เราก็อยากชวนคุณดูหนังอิตาลีเรื่องน้ี
ซ่ึงเป็นหนังที่ผู้กำ�กับได้ลงทุนแสดงเอง ไม่มีฉากโหดร้ายอย่างคิดกันไว้ เร่ืองดำ�เนินไป
ด้วยชีวิตของชายเจ้าของร้านหนังสือผู้ตลกขบขับ อารมณ์ดีและมองโลกในแง่ดีอยู่
เสมอ แตแ่ ลว้ อติ าลกี เ็ ขา้ สสู่ งครามโลกครงั้ ทสี่ อง การกดี กนั และกวาดลา้ งชาวยวิ ไดเ้ รมิ่
ข้ึน โชครา้ ยท่ีชายผ้นู ี้เป็นชาวยิว เขาจึงไมอ่ าจรอดพ้น ตอ้ งเดินทางสู่ค่ายกกั กนั พรอ้ ม
กับภรรยาและลูกชาย เรื่องท่ีเขาเพียรแต่งขึ้นได้ปกปิดโลกแห่งความจริงไว้ได้อย่าง
มดิ ชดิ จนกลายเปน็ โลกอีกใบท่ปี กป้องลกู ชายเขาไว้
หนงึ่ ในหนงั ประทบั ใจไมร่ ลู้ มื ของผคู้ น ถงึ ขนาดวา่ ชวี ติ นต้ี อ้ งดู หนงั สงครามทที่ ำ�ให้
เราหวั เราะไดต้ งั้ แตต่ น้ เรอ่ื ง และตวั ละครกพ็ ยายามใหเ้ รายมิ้ และหวั เราะไปตลอดทง้ั เรอื่ ง
แต่เราจะหัวเราะออกหรือไม่นั้นก็แล้วแต่ผู้ชมแล้วล่ะ แต่ท่ีแน่ๆ เป็นหนังเต็มเปี่ยมด้วย
พลังจรงิ ๆ อย่าไดพ้ ลาด ขอบอก

9

สนามเด็กเล่น ในความเป็นไทย

เรื่อง : ขวัญเรยี ม จติ อารีย์

ใครคือผู้เลือกและถูกเลือกปฏิบัติ

ภาพจาก หนังสือเรียนภาษาไทย ช้ัน ป.1 เลม่ 2 (หลกั สูตรปี 2521)

ขณะที่กระแสต่อต้านการเหยียดสผี วิ Black Lives Matter ในอเมริกากำ�ลงั ถูกปลุกขนึ้ อยา่ งดุเดอื ด จากกรณี
การเสียชวี ิตของ จอร์ด ฟลอยด์ ชายชาวอเมรกิ นั แอฟรกิ ันท่ถี กู ตำ�รวจจับกุมและกดคว�่ำหน้าจนขาดอากาศหายใจ เม่อื
25 พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา เขาไม่ใช่รายแรกทถ่ี กู กระทำ�เชน่ น้ี เขาคอื รายล่าสดุ นบั เปน็ ระยะเวลา 150 กว่าปมี าแลว้ ท่ไี ดม้ กี าร
ยตุ ิระบบทาสในอเมรกิ า แต่ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมาการเหยียดสผี วิ และเชอ้ื ชาตกิ ลบั มไิ ด้หมดไปจากสงั คมอเมรกิ ัน ยิ่งใน
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 ความเหลอ่ื มลำ�้ จากการเลอื กปฏบิ ตั ยิ ง่ิ เดน่ ชดั จากจำ�นวนผเู้ สยี ชวี ติ จากโควดิ -
191 พบวา่ ชาวอเมรกิ นั แอฟรกิ นั มสี ดั สว่ นการเสยี ชวี ติ ถงึ 92 คนตอ่ 100,000 คน ขณะทคี่ นขาวมสี ดั สว่ นการเสยี ชวี ติ
อย่ทู ี่ 45 คนต่อ 100,000 คน และยงั รวมไปถึงชาวอเมรกิ ันอินเดยี นทีไ่ มอ่ าจเขา้ ถึงบรกิ ารสาธารณสุขเช่นเขตอนรุ ักษ์
นาวาโฮ เนชัน่ ตอนกลางของสหรฐั 2 ทไี่ ม่มที ั้งไฟฟา้ ประปา อยูห่ ่างไกลจากบริการสาธารณสุข จำ�นวนผ้ตู ิดเชื้อและเสีย
ชีวติ จงึ พงุ่ สูงขน้ึ เรอื่ ยๆ แสดงใหเ้ หน็ วา่ คุณภาพชวี ิตของพวกเขาแตกต่างจากพลเมอื งอเมรกิ ันท่เี ป็นคนขาวอย่างมาก

ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเราเห็นการเหยียดหยาม กีดกัน และเลือกปฏิบัติทางเช้ือชาติทุกรูปแบบมานับคร้ังไม่ถ้วน นับต้ังแต่
การจบั กมุ กวาดตอ้ นเอาคนชนเผา่ จากแอฟรกิ ามาขายเปน็ ทาสของประเทศผลู้ า่ อาณานคิ ม เชน่ สเปน โปรตเุ กส องั กฤษ ฝรง่ั เศส เปน็ ตน้
การบุกยึดครองแผ่นดินและเข่นฆ่าชาวอินเดียนแดงบนแผนดินท่ีเรียกว่าอเมริกา เช่นเดียวกับที่กระท�ำกับชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย

1 https://www.facebook.com/voathai/photos/a.4247121101994858/4247121778661457/?type=3&theater

10 2 https://www.voathai.com/a/covid19-coronavirus-spreads-through-navajo-nation/5536327.html

การฆ่าล้างเผ่าพันธช์ุ าวยิว ชาวสลาฟ โรมา ผูพ้ ิการทางสมอง โฮโม หากใครอายุ 30 กวา่ ข้ึนไปคงจ�ำกนั ไดว้ า่ คนไทยอพยพมา
เซก็ ชวล รวมกวา่ 12 ลา้ นคนในชว่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 การสงั หาร จากเทือกเขาอัลไต ถอยร่นลงมาปักหลักในผืนแผ่นดินไทยและอยู่
หมู่ชาวอาเมเนียร์ในตุรกี 1.5 ล้านคน สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ มาจนถึงปัจจุบนั ครูสอนเชน่ นม้ี าตลอด นกั เรียนก็เชือ่ กนั ไปรุน่ ต่อ
ระหว่างเผ่าทุตซีและฮูตูในรวันดาท่ีเสียชีวิตไปราว 800,000 – รุ่น วันนี้อาจยังมีหลายคนเช่ือว่าบรรพบุรุษคนไทยอพยพมาจาก
1,070,000 คนในระยะเวลาหนึ่งร้อยวัน ไหนจะเหตุการณ์จับเอา เทือกเขาอัลไตอยู่ก็เป็นได้ เหตุท่ีมาของเนื้อหานี้มาจากงานเขียน
ผู้หญิงเกาหลีไปเป็นนางบ�ำเรอให้กองทัพญ่ีปุ่น การสังหารหมู่ท่ี เรอื่ ง ‘หลกั ไทย’ ของขนุ วจิ ติ รมาตรา3 ซง่ึ เปน็ เพยี งเรอื่ งแตง่ ทสี่ ง่ เขา้
นานกงิ โดยกองทัพญป่ี นุ่ การฆ่าและเผาชมุ ชนชาวโรงฮิงยาในพมา่ ประกวดและได้รับรางวัลในสมัย ร.7 และขุนวิจิตรมาตราก็ได้
ค่ายกักกันชาวอุยกูร์ในจีน และระบบวรรณะในอินเดีย แม้จะ ยอมรบั วา่ เขาไดห้ ยบิ ยกมาจากงานเขยี นของหมอวลิ เลยี ม คลฟิ ตนั
สาธยายไมห่ มด แต่กน็ ับไดว้ ่าการเลอื กปฏบิ ัติทางเชื้อชาตดิ ำ� รงอยู่ ดอดด์ ผู้เขยี น The Thai Race-The Elder Brother of Chinese
กบั มนษุ ยชาตมิ าตลอดจนถงึ วนั นี้ ประวตั ศิ าสตรไ์ มไ่ ดส้ รา้ งการเรยี น "ผมเขยี นตามของหมอดอดด์ เขาวา่ งน้ั นะ ไมใ่ ชผ่ มมาเมค้ ขนึ้ เองเมอ่ื
รู้ทจี่ ะอยูร่ ่วมกนั ให้กบั มนุษย์หรอกหรอื ? ไหร่ ผมกไ็ มร่ ู้ (หวั เราะ) ผมไมร่ หู้ รอก วา่ จรงิ หรอื ไมจ่ รงิ " ซง่ึ นติ ยสาร
ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม 2523 ตีพิมพ์ถ้อยคำ� ดังกล่าวไว้ด้วย
มาถึงเมืองไทยของเราประเทศท่ีเคยได้ชื่อว่า “สยามเมือง และแบบเรยี นของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามหลกั สตู รใน พ.ศ. 2521
ยม้ิ ” เมอื งทผี่ คู้ นใจดยี ม้ิ รบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว ยม้ิ รบั ทกุ สถานการณด์ รี า้ ย ได้ระบุให้ยกเลิกแนวคิดเร่ืองคนไทยอพยพจากเทือกเขาอัลไตออก
ใตร้ อยย้มิ ทีว่ ่านั้นในความเปน็ ไทยยงั มสี ่ิงใดซ่อนอยู่ จากแบบเรียน แต่ไม่รู้ท�ำไมผู้เขียนซ่ึงเกิดปี 2523 ก็ยังได้เรียน
เนอ้ื หานอี้ ยู่ ทสี่ ำ� คญั คอื เนอ้ื หาจากเรอ่ื งแตง่ เขา้ ไปอยใู่ นหนงั สอื เรยี น
จริงอยทู่ ่ีเราไมไ่ ด้มกี ารเหยยี ดสีผิว ไมม่ กี ารฆ่าล้างเผา่ พนั ธุ์ ได้อย่างไร และมิใช่เพียงแค่นี้ ยังมีเร่ืองท้าวสุรนารี หรือย่าโม ใน
แตไ่ มอ่ าจปฏิเสธไดว้ ่าเราไมม่ ีการเลือกปฏบิ ัติทางเชือ้ ชาติ มันกลนื แบบเรียนประวัติศาสตร์ช้ัน ป.2 (หลักสูตรปี 2551) ท่ีเล่าถึงการ
กลายอยใู่ นวถิ ชี วี ติ และวธิ คี ดิ ทเ่ี ราคนุ้ เคย เชน่ โจรใตห้ วั รนุ แรง ชาว ช่วยปราบกบฏเจ้าอนุวงค์ เจ้าเมืองเวียงจันทร์ที่ยกทัพผ่าน
เขาตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ เผาปา่ สรา้ งมลพษิ มง้ คา้ ยาบา้ ผหู้ ญงิ อสี านเมยี นครราชสีมาเข้าตีกรุงเทพในสมัย ร.3 จนได้รับการแตง่ ตง้ั เปน็ ท้าว
เชา่ ฝรั่ง ฯลฯ ถอ้ ยค�ำเหล่านี้กลายเปน็ บทสรปุ จ�ำแนกแยกแยะคน สุรนารี แต่ยังมีวิทยานิพนธ์ เรื่อง ‘การเมืองในอนุสาวรีย์ท้าว
กลุ่มใดกลุ่มหน่ึง เช้ือชาติใดเชื้อชาติหนึ่งไว้ และเม่ือมีการผลิตซ้�ำ สรุ นารี’ ของสายพนิ แกว้ งามประเสริฐ ได้นำ� เสนอว่า คุณหญงิ โม
ด้วยกระบวนการทางสังคม นิยามเหมารวมเหล่าน้ีจะถูกท�ำให้เชื่อ ไมน่ า่ จะมตี วั ตนอยจู่ รงิ พรอ้ มทง้ั ตง้ั คำ� ถามวา่ วรี กรรมตา่ งๆ นน้ั เกดิ
วา่ เป็นจรงิ ทงั้ ยงั ต่อท้ายดว้ ยค�ำว่า “ตลอดไป” ด้วย มายาคติเหลา่ ขึ้นจริงหรือไม่ รวมทั้งการเร่งรีบสร้างอนุสาวรีย์น้ันเป็นไปเพ่ือ
น้ีจึงถูกบ่มเพาะผลิตซ้�ำจนกลายเป็นส่ิงที่ยากจะเปลี่ยนแปลงไป ประโยชนท์ างการเมอื งในสมยั จอมพล ป. พบิ ลู สงครามหรอื ไม่ และ
ในทีส่ ุด ตอ่ มาวทิ ยานพิ นธเ์ ลม่ นไ้ี ดร้ บั รางวลั วทิ ยานพิ นธด์ เี ดน่ มหาวทิ ยาลยั
ธรรมศาสตร์ ในปี 2536 และสำ� นกั พมิ พม์ ตชิ นไดต้ พี มิ พเ์ ปน็ หนงั สอื
ความเป็นคนไทยเร่ิมอยู่ในการรับรู้ของเราต้ังแต่เมื่อใด มี จ�ำหน่ายในปี 2538 แต่เร่ืองราวของย่าโมก็ยังถูกบรรจุลงหนังสือ
ใครจ�ำได้ไหม ส�ำหรับผู้เขียนคิดว่าตนเองเริ่มรับรู้ความเป็นคนไทย เรียนในอีกสิบกว่าปีต่อมาได้ น่าแปลกใจว่าเป็นไปได้อย่างไร ไม่
และชาติไทยต้ังแต่เข้าสู่ระบบการศึกษา เพราะต้องเข้าแถวเคารพ เพียงเท่านั้นยังมีเร่ืองราวของหลักศิลาจารึกหลักท่ี 1 จากสมัย
ธงชาติ หัดร้องเพลงชาติ เข้าร่วมกิจกรรมวันส�ำคัญต่างๆ และท่ี สุโขทัย ที่เล่าถึงการสร้างตัวอักษรลายสือไทย ราวปี 1821 ซ่ึง
สำ� คญั ทสี่ ดุ คอื เนอ้ื หาทร่ี บั รจู้ ากการเรยี นการสอนทหี่ ลกั สตู รไดส้ อน เป็นต้นแบบของตัวอักษรไทยในปัจจุบัน โดยพ่อขุนรามค�ำแหง ที่
ความเปน็ ชาตติ ง้ั แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาจนถงึ มธั ยมฯปลาย แลว้ เรา บรรจใุ นแบบเรยี นประวตั ศิ าสตรช์ นั้ ป.4 (หลกั สตู รปี 2551) แตจ่ าก
ก็ยังเชื่อเช่นนั้นมาตลอดโดยไม่มีการต้ังค�ำถาม เพราะเช่ือว่าน่ีเป็น บทความเรอ่ื ง ‘หลกั ศลิ าจารกึ ฉบบั ที่ 1 กับปัญญาชนร่นุ รชั กาล
หลกั สตู รการศึกษาของชาติ จะต้องมกี ารจดั เตรยี มเน้ือหามาอยา่ ง ที่ 3-4 พิมพเ์ ขียวส�ำหรับอนาคตทใ่ี ชก้ ารไม่ได้ ของ ไมเคิล ไรท’์
ดีพร้อมส�ำหรับนักเรียนทั่วท้ังประเทศ แต่หารู้ไม่ว่าประวัติศาสตร์
ในแบบเรยี นไดส้ รา้ งความเขา้ ใจผดิ ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งใหญห่ ลวง 3 https://www.tcijthai.com/news/2014/02/scoop/5154 บทความ ส�ำรวจแบบเรียน
ทั้งยังส่งผลต่อความคิดความเช่ือในฐานะประชาชนของประเทศ ประวัติศาสตร์ไทย เม่อื ‘ชาต’ิ เปน็ เครือ่ งมือทางการเมือง โดย รวิวรรณ รักถ่ินก�ำเนดิ
สบื ต่อมาดว้ ย

11

กลมุ่ ชาติพนั ธุต์ า่ งๆ บริเวณสองฝ่ังแม่นำ้� โขง (ลายเสน้ ฝมี ือชาวยโุ รป พิมพค์ รั้งแรก ค.ศ. 1873) ภาพจาก www.silpa-mag.com/culture/article_2224

ตีพิมพ์ในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนกรกฎาคม 2543 ได้ ขวางมาก ลาว พมา่ กัมพชู า แม้แตม่ าเลเซียกเ็ ป็นของเราหมด น่า
สรุปว่าเพราะความกังวลของชนชั้นปกครองท่ีมีต่อในการขยาย เสียดายท่ีต้องเสียไปเพื่อรักษาพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของประเทศ จาก
อำ� นาจขององั กฤษทเี่ ขา้ มาในไทย จงึ ไดจ้ งึ ไดส้ รา้ งรฐั ในอดุ มคตขิ อง เนอ้ื หาทว่ี า่ เสยี เขมรใหอ้ งั กฤษในสมยั ร.4 เสยี สบิ สองจไุ ทใหฝ้ รง่ั เศล
ไทยทเี่ รยี กวา่ สโุ ขทยั และบนั ทกึ ในหลกั ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1 เหตเุ พอื่ สมัย ร.5 เสยี ฝง่ั ซา้ ยแม่น�ำ้ โขงให้ฝรั่งเศส สมยั วิกฤต รศ.112 แลว้
แสดงหลักฐานให้นานาชาติรู้ถึงความมีอารยธรรมไทยมาช้านาน ยงั ตอ้ งเสยี ฝง่ั ขวาของแมน่ ำ้� โขงใหก้ บั ฝรงั่ เศสอกี เพอื่ แลกกบั จนั ทบรุ ี
ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังน้ันศิลาจารึกหลักท่ี 1 จึงถูกสร้างข้ึนสมัย ท่ีถกู ยึดในปี 2446 จากน้นั กเ็ สยี เขมรเพ่มิ และสุดทา้ ยเปน็ การเสยี
รัชกาลที่ 3 โดยพระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ (รัชกาลท่ี4) กับผู้รู้และ ไทรบรุ ี กลันตัน ตรังกานู และปะลสิ หรือบริเวณประเทศมาเลเซีย
สานศุ ษิ ยข์ องพระองค์ หากแบบเรยี นจะเลา่ เนอ้ื หาเชน่ ทไ่ี มเคลิ ไรท์ ในปัจจุบันให้แก่อังกฤษ ในปี 2453 พอครูสอนมาถึงตรงนี้ผู้เขียน
ได้ศึกษาและน�ำเสนอไว้และเปิดประเด็นไว้สู่การศึกษา วิพากษ์ และเพอ่ื นรว่ มหอ้ งตา่ งโอดครวญว่าเสียดายแผน่ ดนิ ไทยกนั ยกใหญ่
วิจารณ์เพ่ือตรวจสอบข้อเท็จจริงต่อไปในอนาคตก็จะเป็นการดีต่อ คดิ ดสู วิ า่ ขนาดเดก็ ยงั ถกู ทำ� ใหเ้ ชอ่ื เชน่ นนั้ แตเ่ อาเขา้ จรงิ แลว้ รฐั ไทย
นักเรียนท่ีจะได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อย่างถูกต้อง แต่ท�ำไมถึงยัง หรือสยามไม่เคยมีการเสียดินแดนเลย เพียงแต่ไม่อาจเอาชนะการ
ท�ำให้นักเรียนต้องย้อนกลับไปถึงสมัย ร.3 ท่ีมีการค้นพบหลักศิลา ผนวกดินแดนของรัฐอสิ ระต่างๆ ให้มาเขา้ กบั ฝ่ายตนได้ งานศกึ ษา
จารึก นี่เทียบเท่ากับว่ากระทรวงศึกษาได้ปกปิดและจ�ำกัดความรู้ เร่ือง ‘ประวัติศาสตร์ไทยแบบราชาชาตินิยม’ ของ ศ.ดร.ธงชัย
ตอ่ นักเรียนดว้ ยใช่หรือไม่ วนิ จิ จะกลู อธบิ ายวา่ ไทยเสยี ดนิ แดนใหช้ าตติ ะวนั ตกเปน็ ผลจากการ
นอกจากการสรา้ งชาตแิ ลว้ ยงั มกี ารเสยี ดนิ แดนทที่ ำ� ใหภ้ าพ เขียนประวัติศาสตร์แบบราชาชาตินิยม สยามมิได้เป็นเจ้าของรัฐ
ของรัฐไทยมีความชัดเจน จากเน้ือหาในแบบเรียนช้ัน ม.3 หัวข้อ อิสระท่ีปกครองตนเองแล้วเลือกเข้ากับฝร่ังเศสหรืออังกฤษดังท่ีได้
การเสียดินแดนในสมัย ร.4 และ ร.5 บอกว่ามีการเสียดินแดนถงึ 6 กลา่ ว ทง้ั สยามเองกย็ งั ไมม่ แี ผนทเ่ี ขตแดนชชี้ ดั และแบบเรยี นยงั ได้
ครั้ง ตอนท่ีผู้เขียนได้เรียนก็ต่ืนตะลึงกับแผนที่ของประเทศท่ีกว้าง สร้างประวัติศาสตร์ของชาติจากอาณาจักรสุโขทัย สืบทอดมาเป็น

12

อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ ทส่ี ำ� คญั คอื เปน็ ประเทศเอกราชเดยี ว กต็ าม การผลติ ซำ�้ ทางการศกึ ษาบนฐานความรทู้ ผ่ี ดิ พลาด ไมม่ กี าร
ในภูมิภาคน้ี ท้ังที่ความเป็นชาติไม่เคยเกิดข้ึน หัวเมือง แว่นแคว้น ตง้ั ค�ำถาม ตรวจสอบซ�ำ้ เพือ่ ให้ครอบคลุมและทันต่อยุคสมัยจึงสง่
ตา่ งๆ ตา่ งเปน็ รฐั อสิ ระจะขน้ึ ตอ่ กนั หรอื ไมก่ ไ็ ดแ้ ลว้ แตส่ ถานการณ์ ไม่ ผลต่อการคิดวิเคราะห์ของประชาชนตามมา คนไม่น้อยยังเชื่อกัน
ตา่ งจากหมูบ่ า้ นบางระจัน เมอื งวเิ ศษไชยชาญทต่ี ่อส้กู บั ทหารพม่าที่ วา่ ปา่ ของประเทศไทยหมดลงเพราะการตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ ของชาวเขา
ยกทัพมาตีอยุธยา พวกเขาท�ำเพื่อปกป้องตนเองจากการถูกปล้นชิง ยิง่ เกิดวกิ ฤตหมอกควัน pm 2.5 ขน้ึ พร้อมกับภาพไฟไหมป้ า่ ความ
เสบียงอาหารโดยมีได้มีส�ำนึกว่าตนเป็นสยามหรือไทยแต่อย่างใด รู้ทเ่ี คยไดร้ ับจงึ ถกู ประกอบสร้าง เป็นเหตเุ ป็นผลสร้างผู้ร้ายขึ้น ผู้ท่ี
(จากหนงั สอื ชาตินิยมในแบบเรียนไทย อ.สเุ นตร ชุตินธรานนทแ์ ละ ถกู เลอื กใหร้ บั บทน้ีคอื กลุ่มชาตพิ ันธุท์ ีอ่ ยูบ่ นพืน้ ท่สี ูง อยใู่ นเขตป่า
คณะ) แตแ่ บบเรยี นประวตั ิศาสตร์ ป.5 (หลักสูตรปี 2551) บอกวา่ แม้พวกเขาจะช่วยกันท�ำแนวกันไฟป้องกันไฟป่า มีการลาดตะเวน
ชาวบ้านบางระจันต้ังค่ายข้ึนเพ่ือขัดขวางการรุกรานของพม่า เร่ือง เฝา้ ระวงั มกี ฏเกณฑก์ ารอยรู่ ว่ มกบั ปา่ ในรปู แบบปา่ ชมุ ชน แตม่ วิ าย
บางระจนั นผี้ เู้ ขยี นเองกไ็ ดเ้ รยี นในหนงั สอื เรยี นภาษาไทย มานะ มานี ถกู มองเปน็ ผรู้ า้ ยอยดู่ ี การทำ� ไรห่ มนุ เวยี นจงึ ยงั เปน็ ไรเ่ ลอ่ื นลอย ปา่
ปติ ิ ชใู จ ชั้น ป.5 เล่ม 1 บทที่ 6 "บางระจนั ร�ำลึก" จำ� ไดว้ า่ สนกุ และ ในมโนทัศน์ของคนส่วนใหญ่จึงเป็นป่าที่มีแต่ต้นไม้ น้�ำตก สัตว์ป่า
ตื่นเต้นมาก เป็นตอนท่ีชูใจฝันว่าได้ไปหมู่บ้านบางระจันตอนเกิดศึก จึงไม่ต่างจากสีเขียวบนแผนที่ในห้องเรียน ป่าที่คุณถือตัวเป็น
ปติ ิ มานะ และวรี ะโตเปน็ หนมุ่ ไดอ้ อกรบดว้ ย นบั ว่าเปน็ แบบเรยี นท่ี เจ้าของ แต่มิใช่ป่าท่ีมีคนอยู่ในน้ัน มีเห็ดถอบ หน่อไม้ ไข่มดแดง
ปลูกฝงั รฐั ชาตไิ ด้อย่างมีช้ันเชิง แมจ้ ะเรยี นมานานแลว้ ก็ยังไม่เคยลมื

แลว้ ระบบการศกึ ษาใหอ้ ะไรกบั เรา เนอื้ หาตา่ งๆ ในแบบเรยี น
บอกอะไรเราบ้าง ลองคิดดีๆ ก็จะเห็นตัวเราผู้รับความรู้ ความเป็น
ชาตไิ ทย วีรบรุ ุษ วรี สตรี แม่ทพั ขนุ ศกึ ประเทศเพือ่ นบ้านทเ่ี ปน็ ตัว
ละครรว่ มและเปน็ ตวั รา้ ยบอ่ ยครงั้ หลายคนยงั ตดิ ปากกบั คำ� วา่ "พมา่
เผาเมอื ง" อยเู่ ลย ในแผน่ ดนิ ไทยนเี้ ราเหน็ คนชาตพิ นั ธอ์ุ นื่ นอกจากคน
ไทยหรือไม่ ค�ำว่า “คนไทย” คืออะไร ต่อมาเม่ือถึงคาบเรียน
สังคมศึกษาเราก็จะได้เห็นแผนที่ป่าไม้สีเขียวที่ค่อยๆ ลดลงทุกปี
เพราะมีการตัดไมท้ �ำลายปา่ ของชาวเขา การท�ำไรเ่ ล่ือนลอยจนภเู ขา
หัวโลน้ ทำ� ใหเ้ กิดภัยพบิ ัตติ า่ งๆ เชน่ แหง้ แล้ง น�้ำป่าไหลหลาก ไฟปา่
มลพิษ แม้ว่าสินค้าส่งออกของไทยต้ังแต่อดีตจะเป็นไม้สักก็ตาม ซ่ึง
การสมั ปทานป่าของรฐั เร่มิ ตง้ั แตป่ ี 2500 เพง่ิ หยดุ เมือ่ ปี 2532 นเ่ี อง
แต่เราก็ยังไม่เคยได้เรียนเร่ืองการสัมปทานป่าไม้ของรัฐ การ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ความสัมพันธ์กับ
ประเทศเพอื่ นบ้าน เปน็ ต้น ดว้ ยเน้ือหาท่ีไมค่ รบถว้ นรอบด้าน ความ
เข้าใจของผู้เรียนจึงแหว่งหว่ิน ไม่ปะติดปะต่อ และบิดเบี้ยวจนถึง
เขา้ ใจผดิ ไดเ้ ลยเดยี ว ยกตวั อยา่ งงา่ ยๆ จากเรอื่ งทา้ วสรุ นารหี รอื ยา่ โม
พองานเขยี น ‘การเมอื งในอนสุ าวรยี ท์ า้ วสรุ นาร’ี ไดร้ บั การเผยแพร่
ก็เกดิ กระแสตอ่ ต้านผู้เขียน ไมย่ อมรบั ความจรงิ อีกดา้ นท่ีถกู น�ำเสนอ
ไมต่ า่ งจากเรอื่ งเขาพระวหิ ารทถ่ี กเถยี งกนั วา่ เปน็ ของไทยหรอื กมั พชู า
ทั้งยังถูกน�ำมาเป็นชนวนความขัดแย้งเพ่ือเหตุผลทางการเมืองหลาย
ตอ่ หลายครงั้ แมศ้ าลโลกจะตดั สนิ ใหเ้ ปน็ ดนิ แดนสว่ นของกมั พชู าแลว้

ภาพจาก หนังสอื เรยี นภาษาไทย ช้ัน ป.5 เลม่ 1บทท่ี 6 บางระจนั รำ�ลึก (หลกั สตู รปี 2521) 13

พหวุ ฒั นธรรมจะชว่ ยสรา้ งเสรมิ การเรยี นรทู้ จี่ ะอยู่
ร่วมกัน การลดอคติ และยอมรับความแตกต่าง
ซง่ึ จะเปน็ การเตรยี มพรอ้ มทดี่ สี กู่ ารใชช้ วี ติ ในโลก
สมยั ใหมท่ เ่ี ปน็ สงั คมพหวุ ฒั นธรรมมากยง่ิ ขนึ้ การ
ศึกษาจึงไม่ควรหยุดอยู่กับท่ี กับวัฒนธรรมและ
องค์ความรู้ที่แช่แข็งไว้ แต่ควรหมุนไปพร้อมกับ
โลก แต่ก่อนจะไปถึงข้ันนั้นยังมีอีกประเด็นที่
ส�ำคัญไม่แพ้กัน คือ ภาษาท่ีใช้ในการเรียนการ
สอน นอกจากภาษาไทยกลางทใี่ ชเ้ ปน็ ภาษาหลกั
แล้ว ควรใช้ภาษาแม่ร่วมด้วย เพ่ือเปิดโอกาสให้
เด็กได้เรียนรู้มากข้ึนโดยอาศัยพ้ืนฐานท่ีมีเป็นตัว
ช่วย จากกรณีการอ่านออกเขียนได้และเข้าใจ
เน้ือหามากข้ึนของเด็กชายแดนใต้ จากตัวอย่าง
ของนักเรียนโครงการทวิ-พหุภาษา (ภาษาไทย-
หนอนรถด่วน ผักหวาน และนานาอาหารจากป่าท่คี นในเมืองชอบ มลายูถน่ิ ) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1- 6 ร้อยละ 72.5 สอบผ่านเกณฑ์
กนั นกั หนา ซ�้ำรา้ ยบางชุมชนยงั ถกู บงั คับใหโ้ ยกยา้ ยออกจากผนื ปา่ การศึกษาข้ันพืน้ ฐานรายวิชาภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
จากการประกาศเขตอุทยานทับท่ี ถูกแย่งท่ที �ำกนิ จากนโยบายทวง และทักษะการอ่านสูงกว่าโรงเรียนคู่เทียบ ซ่ึงได้คะแนนเพียงร้อย
คืนผืนป่าของรัฐบาล ผู้ท่ีไม่รู้ข้อมูลรอบด้านหรือมีทัศนอคติต่าง ละ 44.5 อยา่ งมีนยั ส�ำคัญ ทกุ ระดับช้ัน
พลอยเหน็ ดีเห็นงามด้วย ขณะทโี่ รงแรม รสี อร์ท แม้กระทัง่ บ้านพกั การศกึ ษาจงึ เปน็ รากฐานทส่ี ำ� คญั ในการพฒั นาประเทศ แต่
ของเจา้ หนา้ ทศี่ าลกย็ งั สรา้ งในพน้ื ทเี่ ขตปา่ ไดอ้ ยา่ งออกหนา้ ออกตา หากระบบการศึกษาไม่ได้สร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องแก่
เชน่ นีถ้ ือเปน็ การเลอื กปฏบิ ัติอย่างไมเ่ ป็นธรรมหรือไม่ เยาวชนอนาคตของชาติ ผลกระทบที่ตามมาจะเกิดแก่ทรัพยากร
นอกจากการศึกษาจะมีส่วนในการปลูกฝังความคิดความ มนุษย์และการอยู่ร่วมในประเทศ รวมไปถึงทัศนคติต่อประเทศ
เชื่อท่ีผิดแล้ว การศึกษายังแยกผู้เรียนออกชุมชนท้องถิ่นของตน เพอื่ นบ้าน แม้โลกทุกวนั น้เี ราสามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างกวา้ งไกลด้วย
เพราะการเรยี นทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั วถิ ที เี่ ปน็ อยู่ เชน่ แตล่ ะภมู ภิ าคหอ้ ง อาณาเขตของโลกออนไลน์ แตก่ ารอยรู่ ว่ มคอื โลกจรงิ ของทกุ คน ใน
รบั แขกไมไ่ ดน้ งั่ โซฟาเหมอื นกนั ทกุ บา้ น หอ้ งครวั กไ็ มไ่ ดม้ ไี มโครเวฟ ความเป็นไทย เรายังเลือกปฏิบัติต่อกัน ยังสร้างกรอบตีตราผู้อื่น
เหมอื นกนั ทกุ ครวั ท้งั เร่อื งอาหารการกิน อาชีพ ทรัพยากร สงั คม ยังเรยี กผอู้ นื่ วา่ ลาว หนา้ ลาบ ตลาดล่าง เจ๊ก บา้ นนอก อีต๊ดุ อดี �ำ
และวิถีวัฒนธรรมล้วนแตกต่างกันท้ังส้ิน แม้ตอนน้ีจะมีการเรียนรู้ ไอ้อ้วน ฯลฯ บางคร้ังเราเป็นผู้เลอื กปฏบิ ตั ติ ่อผู้อ่ืน บางครั้งผอู้ น่ื ก็
เร่ืองวัฒนธรรมภูมิภาคอ่ืนที่กว้างขวางขึ้น แต่ก็ไม่ควรละเลย เลือกปฏิบัติต่อเรา ทุกการปฏิบัติต่อกันเราล้วนเป็นผู้เลือกทั้งส้ิน
วัฒนธรรมอันเป็นรากเหง้าของเด็ก บางโรงเรียนมีหลายชาติพันธุ์ แตส่ งิ่ ทอ่ี ยเู่ หนอื เราขนึ้ ไปคอื โครงสรา้ งและระบบบรหิ ารจดั การของ
เรียนร่วมกัน เช่น โรงเรียนตะเข็บชายแดน โรงเรียนบนพ้ืนที่สูง ประเทศทมี่ ผี ลตอ่ การกำ� กบั ดแู ลคณุ ภาพชวี ติ บงั คบั ใหเ้ ลอื กบนทาง
โรงเรยี นชายแดนใต้ หรอื แมแ้ ตโ่ รงเรยี นในเมอื งทรี่ บั เดก็ ขาดโอกาส เลือกที่น้อยนิด เช่นท่ีเราได้ประสบพบเจอกันมาแล้วในระบบการ
จากทกุ กลมุ่ ทั้งเด็กปกาเกอญอ ม้ง ลีซู ไทใหญ่ อาขา่ ลัวะ มอญ คึกษา คุณคดิ วา่ ประเทศไทยควรเลือกปฏิบัตติ อ่ ประชาชนของตน
มลายู มอแกลน ฯลฯ และยงั มีศาสนาทีแ่ ตกต่าง เช่น พุทธ ครสิ ต์ เชน่ ไร และเราผเู้ ปน็ ประชาชนอยา่ เลอื กทจี่ ะ “ไมเ่ ลอื ก” เรยี กรอ้ ง
อิสลาม หรือความเชื่อตามกลุ่มชาติพันธุ์ของตน โรงเรียนจึงต้อง สทิ ธพิ งึ มีพงึ ได้ของตน
สนบั สนนุ การเรยี นรขู้ องเดก็ ทกุ กลมุ่ อยา่ งเทา่ เทยี ม การศกึ ษาแบบ

14

การรายงาน 7 บทความพเิ ศษ
ป ร ะ เ ด็ น ส� ำ คั ญ
เรอ่ื งและภาพ : พรเพญ็ คงขจรเกียรติ
ผู้อำ�นวยการมูลนธิ ิผสานวฒั นธรรม

ส ถ า น ก า ร ณ์
สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น

เ ร่ื อ ง ก า ร ข จั ด ก า ร เ ลื อ ก ป ฏิ บั ติ เม่ือวันท่ี 27 พฤษภาคม 2563 ท่ี
ท า ง เ ชื้ อ ช า ติ ผ่านมาองค์การสหประชาชาติได้เผยแพร่แนว
คำ�ถามท่ีองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน
ต่ อ อ ง ค์ ก า ร ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ได้จัดส่งในเว็บไซต์ขององค์การสหประชาชาติ
คณะกรรมการด้านการขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเช้ือชาติขององค์การสหประชาชาติกำ�หนด
ให้ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมในการทบทวน
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยฉบับ
รวมคร้ังที่ 4 ถึงครั้งที่ 8 โดยให้ทุกภาคส่วน
จัดส่งคำ�ถามถึงรัฐบาลไทยเพื่อเตรียมตัวใน
การประชุมทบทวนรายงานของรัฐบาลไทยใน
เดือนสิงหาคม 2563 ท่ีกรุงเจนีวา ประเทศ
สวิสเซอร์แลนด์ แต่เนื่องจากสถานการณ์
โควิดทำ�ให้การประชุมต่างๆ ขององค์กร
สหประชาชาติเล่ือนไปอยา่ งไม่มีกำ�หนด

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป ็ น ภ า คี ส ม า ชิ ก ข อ ง
อนุสัญญาขจัดการเลือกปฏิบัติทางเช้ือชาติ
ตั้งแต่ปี 2546 และมีผลบังคับใช้แล้วในการ
พัฒนาปรับปรุงกฎหมายและนโยบายเกี่ยว
กับกลุ่มชนเผ่าพ้ืนเมืองและกลุ่มชาติพันธุ์ใน
ประเทศไทย โดยประเทศไทยจะต้องสง่ รายงาน
รัฐเพ่ือประกอบการทบทวนสถานการณ์สิทธิ
มนุษยชนเรื่องการขจัดการเลือกปฏิบัติทาง
เช้ือชาติ เป็นรายงานฉบับแรกท่ีรวบยอด
รายงาน 3 ฉบับ โดยเม่ือ 8 ปีท่ีแล้ว ซึ่งเป็น
ท่ีล้าช้ามากและกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนใน
ประเทศไทยก็ไม่มีประสิทธิภาพ ทำ�ให้ประชาชน
ขาดโอกาสในการได้รับการแก้ไขเปล่ียนแปลง
นโยบายท่เี กี่ยวข้องไปอยา่ งนา่ เสียดาย

15

ปกติแล้วการน�ำเสนอรายงานอย่างเป็นทางการคือการ 1) แม้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
น�ำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการการขจัดการเลือกปฏิบัติทาง (รัฐธรรมนูญปีพ.ศ. 2560) ได้รับรองหลักการความเสมอภาคตาม
เชื้อชาติ (ICERD COMMITTEE) เป็นหน้าที่ของภาคีสมาชิกตาม กฎหมายและการไมก่ ารเลอื กปฏบิ ตั ฯิ อยา่ งไรกต็ ามประเทศไทยยงั
อนสุ ญั ญา ทท่ี กุ ๆ 2 ปจี ะตอ้ งนำ� เสนอรายงาน สำ� หรบั ภาคประชาชน ไมไ่ ดม้ กี ฎหมายเฉพาะเพอื่ ขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอ้ื ชาตทิ งั้ เรอ่ื ง
เราในฐานะประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการเลือกปฏิบัติและ การส่งเสริมและเรื่องการก�ำหนดบทลงโทษหากมีการละเมิดสิทธิ
องค์กรสิทธิมนุษยชนที่ท�ำงานมีบทบาทท่ีจะต้องเขียนรายงานคู่ มนษุ ยชนบนพืน้ ฐานการเลอื กปฏบิ ัตทิ างเชอ้ื ชาตเิ กิดขึน้
ขนาน(Shadow Report) เพอ่ื ใหร้ ายงานรฐั บาลไทยมคี วามสมบรู ณ์
ยง่ิ ขนึ้ จงึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ การตรวจสอบรายงานรฐั บาลโดยตรง พวกเราใน 2) กฎหมายพิเศษเพอ่ื ปราบปรามการกอ่ ความไมส่ งบ การ
นามภาคประชาชนเขียนรายงานได้ติดต่อประสานงานกับคณะ กอ่ การรา้ ยและผลกระทบตอ่ ประชากรทอ้ งถน่ิ โดยเฉพาะชาวมลายู
กรรมการ ICERD ก่อนเพ่ือให้มีการจัดประชุมให้พวกเราน�ำเสนอ มุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รัฐบาลไทยได้บังคับใช้กฎหมาย
รายงานเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ ICERD ด้วย เพ่ือปราบปรามการก่อความไม่สงบที่รวมถึงพระราชบัญญัติกฎ
อัยการศกึ พ.ศ. 2457 และพระราชก�ำหนดการบรหิ ารราชการใน
มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF) เป็นองค์กรไม่แสวงหาผล สถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ. 2548 กฎอัยการศกึ และพ.ร.ก.ดังกล่าว
กำ� ไรในกรงุ เทพมหานครใหก้ ารชว่ ยเหลอื ทางดา้ นกฎหมายแกผ่ ตู้ ก น�ำมาสู่อ�ำนาจพิเศษในการปฏิบัติการปราบปรามการก่อความไม่
เปน็ เหยอ่ื ความรนุ แรงของรฐั และสนบั สนนุ การปฏริ ปู ระบบยตุ ธิ รรม สงบและต่อต้านการก่อการรา้ ย รวมถงึ การปิดล้อมและค้นหา การ
ในไทย มลู นธิ ฯิ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การชว่ ยเหลอื กลมุ่ คนชายขอบ โดย จับกุม และการควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยในการก่อความไม่สงบเพ่ือ
เฉพาะชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์และชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ใกล้ สอบปากคำ� ในคา่ ยทหาร ทง้ั ทผี่ กู้ ระทำ� ผดิ ดงั กลา่ วไมไ่ ดก้ ระทำ� ความ
ชายแดนไทยและพ้ืนท่ีความรุนแรงทางอาวุธ ในบริบทของจังหวัด ผิดทางอาญา การบังคับใช้กฎหมายและเหตุผลในการด�ำเนินการ
ชายแดนใต้ มลู นธิ ผิ สานวฒั นธรรมไดร้ ว่ มกนั รวบรวมประเดน็ สำ� คญั กับชาวมลายูมุสลิมโดยรัฐบาลไทยได้รายงานว่าไม่มีการท�ำประวัติ
ในการน�ำเสนออย่างน้อย 7 ประเดน็ ส�ำคญั ดงั น้ี ทางเชอื้ ชาติ (Racial Profiling) อยา่ งไรกต็ ามรฐั ไทยไมไ่ ดม้ รี ะเบยี บ
วิธีหรือหลักฐานสนับสนุนท่ีชัดเจนในการประเมินสถานการณ์
อย่างไรก็ตามมูลนิธิฯได้พบว่าทหารมักสั่งให้ชาวมลายูมุสลิมหยุด
ท่ีด่านตรวจของกองทัพท้ังท่ีไม่มีพฤติกรรมน่าสงสัยใดๆ และมี
การบังคับให้ถ่ายรูปพร้อมบัตรประจ�ำตัวประชาชนโดยไม่แจ้ง
วตั ถปุ ระสงค์ ในปพี .ศ. 2558 คณะกรรมการสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ย
การขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอื้ ชาตพิ บวา่ การเกบ็ รวบรวมดเี อน็ เอ

16

คือการทำ� ประวัติทางเชือ้ ชาติ (Racial Profiling) เพราะเจา้ หนา้ ท่ี ตง้ั ขอ้ หาหลงั ถกู ควบคมุ ตวั เนอื่ งดว้ ยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
มักสันนิษฐานว่าชาวมลายูมุสลิมเป็นผู้ต้องสงสัยก่อการร้ายด้วย 168 (ชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ ) วา่ ดว้ ยการใหท้ พี่ กั แกผ่ ตู้ อ้ งสงสยั ใน
เชื้อชาติของพวกเขา อย่างไรก็ตามกองก�ำลังความมั่นคงของไทยก็ การก่อความไมส่ งบ ภรรยาและลูกของผู้ตอ้ งสงสยั ถกู บังคับให้เข้า
ยงั คงเกบ็ ดเี อน็ เอชมุ ชนชาวมลายมู สุ ลมิ โดยอา้ งวา่ การเกบ็ รวบรวม รบั การเกบ็ ดเี อน็ เอระหวา่ งการดำ� เนนิ การคน้ หาและจบั กมุ พวกเขา
ข้อมูลนี้จะน�ำไปสู่การตัดสินโทษผู้ต้องสงสัยให้มีประสิทธิภาพมาก ท้ังหมดถูกขอให้ลงช่ือในแบบฟอร์มยินยอมหลังจากการตรวจเก็บ
ข้ึน ในปีพ.ศ. 2562 มูลนิธิฯได้รับรายงานว่ามีการเก็บรวบรวม ดเี อน็ เอ แตพ่ วกเขากลา่ ววา่ ตนไม่ไดร้ บั การแจ้งลว่ งหน้า ตนเองไม่
ดีเอ็นเอไปอย่างน้อย 139 กรณี ภายหลังมูลนิธิฯได้ตรวจสอบว่า ประสงค์ใหค้ วามยนิ ยอม นอกจากนี้ในชุมชนชาวมลายมู สุ ลิมพวก
ขอ้ มลู ดงั กลา่ วเปน็ ความจรงิ ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั ในเดอื นเมษายน 2019 มี เขายงั ตอ้ งเผชญิ กบั ความรนุ แรงในครอบครวั ความรนุ แรงในสงั คม
ชายประมาณ 20,000 คนในจังหวัดชายแดนใต้ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น ผู้ชายเป็นใหญ่และอุปสรรคทางเศรษฐกิจและสังคมท้ังท่ีเกิด
ชาวมลายมู สุ ลมิ ถกู เกบ็ ดเี อน็ เอระหวา่ งการเกณฑท์ หารไปโดยไมไ่ ด้
รับความยินยอมและแจ้งล่วงหน้า อย่างไรก็ดีทหารเกณฑ์ในส่วน
อื่นๆ ของประเทศไทยกลับไม่ได้รับการเก็บดีเอ็นเอ มูลนิธิและ
องค์กรพันธมิตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความกังวลว่าการใช้
เทคโนโลยีจดจ�ำใบหน้าในพื้นที่ชาวมลายูมุสลิมจะละเมิดสิทธิ
ส่วนบุคคลและเสรีภาพของประชาชน การท�ำประวัติทางเช้ือชาติ
ดงั กลา่ วอาจนำ� ไปสกู่ ารจบั กมุ และดำ� เนนิ คดกี บั ผบู้ รสิ ทุ ธ์ิ โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงในบริบทของกฎหมายต่อต้านการก่อความไม่สงบ
กฎอัยการศกึ และพ.ร.ก. ฉกุ เฉิน

3) ผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้ต้องเผชิญกับภัย
คุกคามที่เพ่ิมข้ึนจากการเลือกปฏิบัติและความรุนแรง เน่ืองจาก
ความแตกต่างทางศาสนา เชื้อชาติ และเพศ ทั้งจากสังคมภายใน
ชุมชนและสังคมภายนอกของพวกเธอ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์
ภาคใตซ้ งึ่ เปน็ ศนู ยจ์ ดั ทำ� เอกสารชดุ หนงึ่ รายงานวา่ ผหู้ ญงิ 70 คนได้
รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากรายงานผู้เสียชีวิต 423 คน ในปีพ.ศ.
2562 นอกจากนผี้ หู้ ญงิ จำ� นวนหนงึ่ ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งรบั ภาระหนา้ ทเี่ ปน็
ผู้จุนเจือครอบครัวแม้จะมีข้อจ�ำกัดด้านการศึกษาและการจ้างงาน
เน่ืองจากเป็นผู้เสาหลักของครอบครัวคือสามีหรือบิดา ถูกสังหาร
โดยการใชค้ วามรนุ แรงหรอื การปะทะกนั ระหวา่ งกองกำ� ลงั ตดิ อาวธุ
กองก�ำลังทหารบางหน่วยได้ควบคุมตัวภรรยาของผู้สงสัยในการ โครงสร้างเศรษฐกิจ ทางศาสนาและทางวัฒนธรรมท้องถ่ิน ศูนย์
กอ่ ความไมส่ งบมากขนึ้ ผู้หญงิ เหลา่ น้อี าจถูกทรมานทางด้านจิตใจ ส่งเสริมสิทธิสตรีและให้ค�ำปรึกษาภายใต้คณะกรรมการอิสลาม
เพื่อให้รับสารภาพ หรือเพื่อใช้ในการหาข่าวของหน่วยงานด้าน จังหวัดนราธิวาสรับร้องเรียนกรณีการใช้ความรุนแรงในครอบครัว
ความม่นั คง ในปพี .ศ. 2562 มผี หู้ ญิงอย่างนอ้ ย 8 คนถูกควบคุมตัว ถึง 760 กรณี จากผู้หญิงมลายูมุสลิมต้งั แตเ่ ดือนมกราคม 2560 ถงึ
ในหน่วยสอบสวนทางทหารโดยอ้างกฎหมายพิเศษเพื่อการปราบ ตลุ าคม 2562 อยา่ งไรกต็ ามผหู้ ญงิ หลายคนขาดความรเู้ กยี่ วกบั สทิ ธิ
ปรามการกอ่ ความไมส่ งบและการกอ่ การรา้ ย แมว้ า่ พวกเธอจะไมใ่ ช่ ของตน และกลัวการถูกตราหน้าจากสังคมอนรุ กั ษ์นิยมหากเขาพดู
ผู้กระทำ� ความผิดกฎหมายกต็ าม นอกจากนี้ ผหู้ ญงิ 1 ใน 8 คนถูก เกยี่ วกบั ความรนุ แรงในครอบครวั ของเขาเอง เลสเบีย้ นและผหู้ ญิง

17

ข้ามเพศต้องทนทุกข์ทรมานจากกระบวนการท�ำให้เป็นชายขอบ ความยากลำ� บากของบคุ คลไรส้ ญั ชาตใิ นการขอรบั สญั ชาตไิ ทยหรอื
(Marginalization) ท่รี นุ แรงยิง่ ขนึ้ ในปี 2560 สโมสรฟุตบอล ทใ่ี ห้ เข้าถึงสถานะทางทะเบียน โดยเฉพาะอย่างย่ิงส�ำหรับเยาวชนผู้ไร้
พื้นท่ีปลอดภัยส�ำหรับผู้หญิงในท้องถ่ินและกลุ่มผู้หลากหลายทาง สัญชาติ เยาวชนไร้สัญชาติหรือเยาวชนท่ีไม่มีสถานะในการลง
เพศ (LGBTQ+) เพื่อแสดงรสนิยมทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ทะเบยี นไมส่ ามารถเขา้ เรียนในระบบโรงเรยี นรฐั บาลได้ ณ ขณะนี้
ของพวกเขา ถูกขู่และถูกคุกคามจากผู้น�ำศาสนาอิสลาม โดยผู้น�ำ มเี ยาวชนกลมุ่ ดงั กลา่ วทงั้ หมดอยู่ 90,640 คน แตม่ เี พยี ง 2,789 คน
ดงั กลา่ วกลา่ วหาพวกเขาวา่ “เผยแพรค่ วามคดิ เรอ่ื งรกั รว่ มเพศ” ใน ที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข ส่วนจ�ำนวนที่เหลือยังคงอยู่
ชุมชนมลายูมสุ ลิม ระหว่างด�ำเนินการ มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองค์กรพันธมิตรมี
4) กลมุ่ ชนพน้ื เมอื งทอี่ าศยั อยใู่ นปา่ /อทุ ยานแหง่ ชาต/ิ พนื้ ท่ี ความกังวลเก่ียวกับประชากรชนเผ่าพื้นเมืองท่ียังไม่ได้รับสิทธิการ
สงวน ชนพื้นเมืองจ�ำนวนมากที่ถูกกล่าวหาว่ารุกล�้ำพ้ืนท่ีป่าสงวน เป็นพลเมอื งเต็มรูปแบบ เช่นประชาชนท่ีมหี มายเลข ID “ 0” หรือ
หรือหาประโยชน์จากทรัพยากรชาติในพื้นที่ดังกล่าว นโยบายการ 0-xxxx-89xxx-xx-x โดยกรณีดังกล่าวยังคงมีอย่างน้อย 152,869
ทวงคืนพ้ืนที่ป่าของรัฐบาลไทยส่งผลให้มีการบังคับใช้มาตรการ รายการท่ียังอยู่ระหว่างด�ำเนินเนื่องจากการขอสิทธิในความเป็น

ขบั ไลแ่ ละการยดึ ทด่ี นิ มรี ายงานวา่ ในชว่ งครง่ึ แรกของปพี .ศ. 2562 พลเมอื งเปน็ กระบวนการทยี่ าวนานและซบั ซอ้ น อยา่ งไรกต็ ามหาก
มีการฟ้องคดีการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าไม้กับประชาชนผู้ยากไร้มากกว่า ไร้ซึ่งสิทธิความเป็นพลเมืองอย่างเต็มรูปแบบชนกลุ่มน้อยบางคน
1,830 คดภี ายใตน้ โยบายการทวงคนื พน้ื ทป่ี า่ อกี ทงั้ ในปพี .ศ. 2563 ก็ถูกจะกีดกันจากการบริการสาธารณะรวมถึงการดูแลสุขภาพ
พระราชบญั ญตั อิ ทุ ยานแหง่ ชาตฉิ บบั ใหมจ่ ะมผี ลบงั คบั ใช้ กฎหมาย ถ้วนหน้า (Universal Health Care) และไม่ได้รับโอกาสในการ
ดังกล่าวจะน�ำมาซึ่งความเส่ียงของชนเผ่าพื้นเมืองมากขึ้นต่อไป ศกึ ษาท่ีสูงข้นึ รวมทัง้ สถานการณข์ องชาวมอแกนเป็นชาวพ้ืนเมอื ง
เนอ่ื งจากเจา้ หนา้ ทย่ี งั คงมอี ำ� นาจกำ� หนดทจี่ ะอนญุ าตใหพ้ วกเขาอยู่ ทอี่ าศยั อยตู่ ามแนวชายแดนไทย-พมา่ ในทะเลอนั ดามนั ในอดตี พวก
และใช้ประโยชน์ในดินแดนบรรพบุรุษของพวกเขาหรือไม่ ดังนั้น เขามีวิถีชีวิตเป็นนักล่าสัตว์ก่ึงเร่ร่อน โดยมักจะโยกย้ายจากเกาะ
ชุมชนชาวพื้นเมืองท่ีอาศัยอยู่ในอุทยานแห่งชาติจะเสี่ยงต่อการ หน่ึงไปยังอีกเกาะหน่ึง คืออาศัยอยู่ในทะเลในเรือไม้แบบด้ังเดิมท่ี
สญู เสียสทิ ธิในท่ดี ินและวถิ กี ารด�ำรงชีวิตดัง้ เดมิ ของพวกเขา เรยี กวา่ คาบาง (Kabang) ขณะทด่ี ำ� รงชวี ติ มกี ารประมงแบบดงั้ เดมิ
5) การเข้าถึงความเป็นพลเมืองและการบริการสาธารณะ และในช่วงฤดูมรสุม (พฤษภาคม-ตุลาคม) ของทุกปี ชนพื้นเมือง
มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองค์กรพันธมิตรมีความกังวลเก่ียวกับ ดงั กลา่ วจะยา้ ยกลบั ไปท่ีชายฝัง่ และอาศัยอยู่ในบา้ นเสาสูงชั่วคราว

18

อย่างไรก็ตามหลังจากการเกิดข้ึนของรัฐชาติสมัย ดน้ิ รนเพอ่ื เรยี กรอ้ งความเปน็ ธรรม เจา้ หนา้ ทท่ี หารทดี่ า่ นทไ่ี ดส้ งั หาร
ใหมแ่ ละการแบง่ เขตแดนของประเทศ ชาวมอแกน ผู้กระทำ� ความผดิ ท้งั สองคดไี มไ่ ดถ้ ูกน�ำเข้าสู่กระบวนการยตุ ิธรรม
ก็ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวดท้ังภายใต้
รัฐบาลไทยและพม่า วถิ ชี วี ติ ของพวกเขาเปลี่ยนไป 7) ประชาชนท่ีถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนไม่สามารถเข้าถึง
อย่างส้ินเชิง แม้ว่ากฎหมายและระเบียบข้อบังคับ การเยียวยาและการชดใช้ค่าเสียหายรวมถึงกรณีต่อไปน้ี เช่นกรณี
บางฉบับจะท�ำให้กระบวนการตรวจสอบเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย นายพอละจี รักจงเจริญ หรือบิลลี่ ซ่ึงเป็นนักกิจกรรมด้านสิทธิใน
ขึ้น อย่างไรก็ตามยังมีชาวมอแกนจ�ำนวนมากไม่ ชุมชนชนเผ่าพื้นเมืองชาวกะเหรย่ี งในเขตป่าแกง่ กระจาน (Kaeng-
สามารถรับสัญชาติไทยได้อย่างแท้จริง การเข้าถึง krachan Forest Complex) บิลลีห่ ายตวั ไปเมือ่ วนั ที่ 17 เมษายน
การดูแลสุขภาพและสิทธิความเป็นพลเมืองอย่าง พ.ศ. 2557 หลังจากทเ่ี ขาถูกจบั กุมและภายหลังได้อยู่ในความดูแล
สมบูรณ์ก็ยงั คงเปน็ ปัญหาสำ� คัญสำ� หรับคนกลุ่มนี้

6) นโยบายปราบปรามยาเสพติดในเขต
พ้นื ท่ชี ายแดนทางภาคเหนอื เนื่องจากชนพน้ื เมือง
มกั จะถกู เหมารวมว่าเปน็ ผ้ลู กั ลอบขนส่งยาเสพติด
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสายตาของเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย เช่น
กรณที เ่ี กยี่ วกบั ชนพนื้ เมอื งดว้ ยกนั 2 กรณี คอื ชาวลซี แู ละลาหทู่ ถ่ี กู
สังหารท่ีด่านตรวจของกองทัพไทย ในท้ัง 2 กรณผี ้กู ระท�ำความผดิ
อา้ งวา่ ผเู้ สยี ชวี ติ ชนเผา่ พน้ื เมอื งทงั้ สองคนครอบครองยาเสพตดิ และ
พยายามขัดขวางการจับกุม การเข้าถึงวิธีการรักษาและการชดใช้
คา่ เสยี หาย สว่ นกรณนี ายอาเบ แซห่ มู่ และ ชยั ภมู ิ ปา่ แส นายอาเบ
แซ่หมู่ เป็นชนพื้นเมืองลีซู อายุ 32 ปี และ นายชัยภูมิ ป่าแส
นั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น ช น เ ผ ่ า
พื้นเมืองลาหู่ทั้งสองถูกยิงท่ี
ดา่ นตรวจรินหลวง ในอ�ำเภอ
เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์
พ.ศ.2560 และวันท่ี 17
มีนาคม พ.ศ. 2560 ตาม
ล�ำดับ เจ้าหน้าที่ทหารทีด่ า่ น
ตรวจดังกล่าวได้สังหารพวก
เขาอ้างว่าพวกเขากระท�ำไป
เพ่ือป้องกันตนเอง อีกทั้งยัง
กล่าวหาว่าชนพื้นเมืองทั้ง
สองครอบครองยาเสพติดผิด
กฎหมายและขัดขวางการ
จับกุม ครอบครัวของนาย
ชัยภูมิและนายอาเบต้อง

19

ของเจ้าหน้าท่ีอุทยานแห่งชาติโดยนักสิทธิมนุษยชนดังกล่าวถูก หลังจากท่ีเขาถูกจับกุมในขั้นต้น และไม่ได้สั่งฟ้องในคดีฆาตกรรม
กล่าวหาว่าเขาเกบ็ นำ�้ ผึ้งป่าในอทุ ยานแหง่ ชาติ กอ่ นท่จี ะหายตวั ไป บิลล่ียุติธรรมทางอาญาเน่ืองจากคดียังอยู่ในระหว่างการพิจารณา
บลิ ลไ่ี ดจ้ ดั สมั มนาเกยี่ วกบั สทิ ธชิ มุ ชนพนื้ เมอื งชาวกะเหรยี่ งและเปน็ ของส�ำนักงานอัยการสูงสุด อีกท้ังยังมีเพียงมารดาของนายอาเบ
ผู้ช่วยทนายความในการยื่นฟ้องเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่ง เทา่ นน้ั ทก่ี ำ� ลงั จะไดร้ บั คา่ ชดเชยเยยี วยาไดฟ้ อ้ งรอ้ งตอ่ กองทพั บกใน
กระจานทเี่ ผาหมบู่ า้ นของเขา เมอ่ื วนั ที่ 3 กนั ยายน พ.ศ. 2562 กรม ศาลแพ่ง ในขณะท่ีการพิจารณาคดีของครอบครัวนายชัยภูมินั้นมี
สอบสวนคดีพิเศษภายใต้กระทรวงยุติธรรมประกาศว่าพบชิ้นส่วน ความล่าช้ามากกว่าสามปี จากข้อมูลท่ีได้รับกองทัพภาคที่ 3 เปิด
กระดูกในถังน้�ำมันจมอยู่ในล�ำห้วยในเขตป่าแก่งกระจาน กรม เผยวา่ กลอ้ งวงจรปิดได้บนั ทกึ ภาพการยงิ นายชยั ภมู ิ อย่างไรก็ตาม
สอบสวนคดพี เิ ศษตรวจสอบแลว้ พบวา่ กระดกู ทพ่ี บเหลา่ นน้ี า่ จะเปน็ ฮารด์ ดสิ กไ์ ดรฟท์ บี่ นั ทกึ ภาพนนั้ “หายไป” เมอื่ กองทพั ตอ้ งสง่ ฮารด์
ของบลิ ล่ี กรมสอบสวนคดพี เิ ศษไดย้ นื่ ฟอ้ งดำ� เนนิ คดขี อ้ หาฆาตกรรม ดิสก์ไดรฟ์น้ันให้ต�ำรวจสืบสวนคดีนี้ การจัดการห่วงโซ่ของพยาน
โดยไตร่ตรองล่วงหน้าและการปกปิดหลักฐานต่อเจ้าหน้าที่อุทยาน หลักฐานท่ีไม่มีประสิทธิภาพนี้ย่ิงช่วยท�ำให้การละเว้นโทษการ
แห่งชาติ 5 คน รวมถึงนายชัยวัฒน์ ล้ิมลิขิตอักษร ต่อพนักงาน ก่ออาชญากรรมของรัฐต่อคนพื้นเมืองมากย่ิงข้ึนและเป็นอุปสรรค
อยั การเมอื่ วนั ท่ี 24 มกราคม พ.ศ. 2563 แตพ่ นกั งานอยั การไดฟ้ อ้ ง อย่างมีนัยยะส�ำคัญให้ครอบครัวนายชัยภูมิไม่สามารถเข้าถึง
ร้องจ�ำเลยท้ังห้าขณะนี้เฉพาะข้อหาละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิ กระบวนการยุตธิ รรม
ชอบตามมาตรา 157 ตามประมวลกฎหมายอาญาเพราะเจ้าหนา้ ที่
อุทยานกลุ่มนี้ไม่ได้ส่งตัวนักสิทธิมนุษยชนชาวกะเหรี่ยงให้ต�ำรวจ

แนะนำ� นกั เขียน เป็นผู้อำ�นวยการมูลนิธิผสานวัฒนธรรม เป็นองค์กรจดทะเบียนตามกฎหมาย
และเปน็ องคก์ รสทิ ธมิ นษุ ยชนทไ่ี ดร้ บั การรบั รองจากคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ
พรเพญ็ คงขจรเกยี รติ (กสม.) ทำ�งานดา้ นการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนและการเขา้ ถงึ ความยตุ ธิ รรมของ
ประชาชน รวมท้ังการช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ประชาชนที่เป็นผู้เสียหายจากการทรมาน
การลงโทษหรือการปฏิบัติท่ีโหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือท่ีย�่ำยีศักดิ์ศรี รวมทั้งทำ�งาน
ดา้ นการสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจเรอื่ งการคมุ้ ครองสทิ ธชิ นเผา่ พนื้ เมอื ง และการทำ�งานกบั กลไก
ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศ ระดบั ภมู ภิ าคเอเชยี และ ระดบั สากล โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กลไก
ด้านสทิ ธมิ นษุ ยชนขององค์กรสหประชาชาติ

ประวตั กิ ารทำ�งาน
• ผ้อู ำ�นวยการมูลนธิ ผิ สานวฒั นธรรม
• อดตี ประธานองคก์ รแอมเนสตี้ อินเตอรเ์ นชนั่ แนลประเทศไทย
• อดตี อนกุ รรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ชดุ กสม.
วสันต์ พานิช และหมอนิรนั ดร์ พิทกั ษว์ ัชระ
• อดตี เจา้ หน้าทีป่ ระสานงานโครงการสตรี ฟอร่มั เอเชีย
• จบการศกึ ษา อกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เอกสงั คมศาสตรก์ ารพฒั นา
• ศลิ ปศาสตรม์ หาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกประวตั ศิ าสตร์ เอเชยี
(เวียดนาม)
• นติ ศิ าสตรบ์ ณั ทติ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ (ภาคบัณฑิต)

20

การก่อร่างสร้างอัตลักษณ์ ทางท่เีปล่ียน วถิ ที เ่ีป็น
เรือ่ งและภาพ : อสั รี มาหะมะ

ของชาวมุสลมิ ชา้ งคลานในเมืองเชยี งใหม่

“แขก” เปน็ ชอ่ื เรยี กและรบั รขู้ องชนชาวไทยวา่ เปน็ กลมุ่
คนมาจากอนิ เดยี เปอรเ์ ซยี อาหรับ ที่เดินทางเข้ามาเผยแพร่
อารยธรรม ศาสนาและคา้ ขายในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี ง
ใต้มาอย่างยาวนาน คำ�ว่าแขก อาจจะมีความหมายในเชิงลบ
บ้าง แต่อย่างไรก็ตามคำ�น้ีจะพบได้ต้ังแต่สมัยอยุธยาซึ่ง
นิยามกลุ่มมุสลิมจากเปอร์เซียและอินเดียท่ีเข้ามีบทบาทใน
ทางการค้าของราชสำ�นักอยุทธยา เช่น ตำ�แหน่งกรมท่าขวา
จุฬาราชมนตรี ที่ดูแลการค้าฝั่งตะวันตก จากความรุ่งเรือง
ทางการค้าในอดีตเป็นส่วนหนึ่งที่ดึงดูดชาวตะวันออกกลาง
และชนชาวอินเดียหลากหลายกลุ่มหลายศาสนาเข้ามาใน
อาณาจักรสยาม และเรื่อยมากระทั่งยุคอาณานิคมที่อังกฤษ
มสี ว่ นผลกั ดนั คนอนิ เดยี เขา้ มาอาศยั ในประเทศไทย โดยเฉพาะ
ในชว่ งปลายศตวรรษท่ี 19 และตน้ ศตวรรษที่ 20 (อารตแี ละ
คณะ 2563:40) โดยมสี าเหตกุ ารอพยพ เชน่ การกดดนั จาก
องั กฤษเลยตอ้ งหนี หรอื เปน็ กลมุ่ พอ่ คา้ คณะเจา้ หนา้ ที่ ทหาร
อารกั ขาอังกฤษในพม่าและลา้ นนา ทำ�ใหร้ อ้ ยปีทผี่ า่ นมาจงึ พบ
ชาวอินเดียมุสลิมกระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ ของประเทศ
ไทยตง้ั แต่ภาคใต้ ภาคกลาง อีสานและภาคเหนือ

ในภาคเหนือมีชุมชนมุสลิมอินเดียกระจายตามจังหวัด เช่น
เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง แม่สอด พิษณุโลก ตามที่
ผเู้ ขยี นเกบ็ ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ในตำ� บลชา้ งคลาน จงั หวดั เชยี งใหม่ พบวา่
กลมุ่ เหล่านม้ี าจากบรรพบรุ ุษอินเดียท่เี ข้ามาในฐานะ คือ เป็นพ่อคา้
ที่ต้องหนีความวุ่นวายในอินเดียและเป็นเจ้าหน้าท่ีของอาณานิคม
ทำ� การดแู ลการสมั ปทานไม้ แลว้ ไดป้ กั หลกั และแตง่ งานกบั ผหู้ ญงิ ชาว
พนื้ เมอื ง หนั มาพดู ภาษาคำ� เมอื งทอ้ งถนิ่ จนกระทง่ั คอ่ ยๆ เขา้ จบั จอง
ซอื้ ทน่ี าและทำ� ปศุสัตว์ ค้าขาย (สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช, 2548:139) และ
เม่อื ปี 2520-2530 จงั หวัดเชยี งใหม่เรม่ิ นโยบายการทอ่ งเที่ยว มกี าร
สร้างธุรกิจโรงแรมและแหล่งบริการหลากหลายรูปแบบ จนกลาย
เปน็ เมอื งแหง่ ธรุ กจิ การทอ่ งเทย่ี ว (ชยนั ต์ 2549:56) ทำ� ใหช้ มุ ชนมสุ ลมิ
ช้างคลานกลายเป็นส่วนหน่ึงและได้รับอานิสงค์จากการท่องเท่ียวท่ี
สำ� คัญโดยปรยิ าย

21

แม้ว่าความทันสมัยเข้ามากระท�ำต่อพ้ืนท่ีให้เกิดการ อาจเกย่ี วกบั สภาพพน้ื ทเี่ ปน็ โคลนตมลกึ แมแ้ ตช่ า้ งยงั ตอ้ งคอ่ ยๆ เดนิ
เปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ แตช่ มุ ชนมสุ ลมิ เหลา่ นยี้ งั สามารถปรากฎ เคลอ่ื นตวั ไปในลกั ษณะทเ่ี รยี กวา่ คลาน กเ็ ลยเปน็ ทม่ี าของชอื่ เรยี ก
ตวั ทางอตั ลกั ษณ์ ศาสนา วฒั นธรรมของตนเองได้ ดงั จะเหน็ ไดเ้ ปน็ พ้ืนที่ ช้างคลาน
ประจ�ำถึงภาพอัตลักษณ์ของมุสลิมได้ในพ้ืนที่ชุมชนตามท้องถนน
ร้านอาหาร ร้านน�้ำชาและผ่านกิจกรรมทางศาสนาในพื้นท่ีมัสยิด การอพยพและการเกาะกลุ่มสร้างชุมชนของชาวมุสลิมเชื้อสาย
บทความช้ินน้ี จึงต้องการน�ำเสนอลักษณะและกระบวนการรวม อนิ เดยี
กลมุ่ สรา้ งอตั ลกั ษณช์ าวไทยมสุ ลมิ เชอ้ื สายอนิ เดยี ผา่ นพน้ื ทศี่ าสนา
กิจกรรมทางสังคมว่ามีกระบวนการสร้างอตั ลกั ษณอ์ ย่างไร ภายใต้ ฮนิ น!ู ฮนิ น!ู มสุ ลมิ ! มสุ ลมิ ! ยงิ ๆ บกุ ๆ... เปน็ เสยี งรอ้ งเรยี ก
บริบททางสงั คมเมืองและกระแสศาสนาอสิ ลาม ในสถานการณโ์ กลาหลขดั แยง้ ระหวา่ งชาวฮนิ ดแู ละมสุ ลมิ ในอนิ เดยี
(สมั ภาษณ์ ราชนั อารยี ์ รนุ่ เหลนสายตระกลู อารยี ์ วนั ท่ี 5/7/2563)
ค�ำกล่าวข้างต้น เป็นเสียงเล่าถึงสถานการณ์ความขัดแย้ง
ชมุ ชนมสุ ลิมช้างคลาน คอื ท่ไี หน
ช้างคลาน ตั้งอยู่บนเส้นถนนเจริญประเทศและถนนช้าง ระหวา่ งชาวมสุ ลมิ กบั ฮนิ ดใู นอนิ เดยี ความทรงจำ� เหลา่ นไี้ ดเ้ ลา่ ผา่ น
คลาน เปน็ พนื้ ทเ่ี ลยี บแมน่ ำ้� ปงิ หากเรมิ่ ตน้ ทางทศิ เหนอื จากสะพาน สง่ ตอ่ ๆ ถงึ รนุ่ เหลน ราชนั ย์ อารยี ์ ไดเ้ ลา่ ภาพจำ� ของคณุ ปทู่ วดทเี่ ลา่
นวรัฐจะพบกับจวนผู้ว่าราชการจังหวัด ชุมชนมัสยิดมุสลิมจีนฮ่อ ตอ่ ๆ กนั มาวา่ สาเหตขุ องการอพยพยา้ ยถน่ิ ของชาวอนิ เดยี ไปยงั ทว่ั
ตลาดอนุสาร สถานกงสุลอังกฤษเก่า วัดชัยมงคล (ท่าเรือสินค้า โลกและในประเทศไทยนน้ั มสี าเหตหุ ลกั ๆ คอื ความขดั แยง้ รนุ แรง
ส�ำคัญ) ส�ำนักงานใหญ่กรมป่าไม้ สถานกงสุลฝรั่งเศสแห่งปลาย ระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งท่ี 1 และ 2 เป็นช่วงการเคล่ือนไหว
บูรพาทศิ และชมุ ชนฝรั่งคริสต์นกิ ายโรมนั คาทอลิกโรงเรียนเรยีนา เรยี กรอ้ งเอกราชของอนิ เดยี ภายใตก้ ารนำ� ของคานธี และ อาลี จนิ นาห์
โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ โรงเรียนมงฟอร์ต สุดเขตพื้นที่ ท่ีท�ำการเคล่ือนไหวให้คนในกลุ่มศาสนาตนเองลุกขึ้นมาสู่กับเจ้า
โรงเรียนคริสต์ก็กลายเป็นอาณาเขตของชุมชนมุสลิมอินเดีย อาณานิคมองั กฤษ จากการเรียกรอ้ งโดยใชศ้ าสนาเป็นฐานมวลชน
เส้นทางเจริญประเทศช้างคลาน เป็นถนนที่สะท้อนถึงความหลาก ในการต่อสู้กับอังกฤษ จนในท่ีสุดอังกฤษยินยอมให้เอกราชกับ
หลายของกลุ่มคนหลายศาสนาและยังบ่งบอกถึงถนนของการ อนิ เดยี ในปี ค.ศ.1947 แตท่ างมุสลมิ น�ำโดยอาลี จนิ นาห์ ได้เสนอ
ค้าขายแลกเปลีย่ นมาแต่อดีตทสี่ �ำคัญของเชียงใหม่ ขอมปี ระเทศมสุ ลมิ ขึน้ โดยข้อแยกประเทศตา่ งหากเป็นปากสี ถาน
ส�ำหรับท่ีตงั้ บ้านเรอื นของมุสลมิ อนิ เดียหรอื “แขก” ตง้ั อยู่ ขึ้น ทันทีท่ีอังกฤษยอมรับของเสนอของอาลี จินนาห์ เหตุการณ์
ใต้สุดของเส้นถนนเจริญประเทศ มีอาณาบริเวณที่เลียบโค้งแม่น�้ำ ความรุนแรงระหว่างมุสลิมกับฮินดูท่ีสะสมความไม่พอใจและมี
ปิง เป็นที่ราบลุ่มน�้ำเหมาะกับการท�ำนาและเป็นทุ่งเลี้ยงวัว ดังที่ เช้ือไฟเดิมอยู่แล้ว ท�ำให้พลังเหล่าน้ันส่งผลให้ชาวอินเดียที่มีความ
ปรากฎในต�ำนานพ้ืนเมอื งเชียงใหม่ (สงวน โชติรตั น,์ 2516) กลา่ ว แตกตา่ งทางศาสนาหนั มาสฟู้ ดั กนั เอง เกดิ ความรนุ แรง ฆา่ เผา่ ปลน้
วา่ “หนองชา้ งคลาน” ทแ่ี ขกมสุ ลมิ เลยี้ งววั แพะเปน็ ฝงู ใหญไ่ ปจนถงึ ตามพ้ืนที่ต่างๆ ที่มีชุมชนมุสลิมฮินดูอยู่ด้วยกัน เพียงเพราะความ
แม่เหียะหรือบริเวณสนามบิน ยังมีข้อสันนิษฐานว่าช่ือช้างคลาน แตกตา่ งศาสนาเทา่ นนั้ จากความไมส่ งบดงั กลา่ ว จงึ ทำ� ใหบ้ รรพบรุ ษุ

22 ย่านช้างคลานในอดีต จากภาพถา่ ย ของ บุญเสริม สาตราภัย

ของราชนั ย์ อารยี ์ ต้องอพยพเข้าสูป่ ระเทศไทย อยา่ งยากล�ำบาก อาหาร และในช่วงดังกลา่ วที่ดินทงุ่ นาสามารถหาซื้อไดง้ ่ายในราคา
ทั้งน้ีเมื่อได้คุยกับคุณจิราชัย ศรีจันทร์ดร (ลุงค๊อฎต๊อบ) ไมแ่ พง กอรปกบั ประชากรในเมอื งยงั มจี ำ� นวนนอ้ ย ดว้ ยเหตนุ ท้ี ำ� ให้
ลูกหลานของชาวอินเดียท่ีเป็นผู้บุกเบิกสร้างชุมชนมุสลิมอินเดีย มสุ ลมิ อนิ เดยี มที ่ดี ินในขอบเขตเมืองจำ� นวนมากโดยไม่ไดต้ ั้งใจ โดย
ชา้ งคลาน เขาไดใ้ หภ้ าพอยา่ งละเอยี ดถงึ บคุ คลและสายตระกลู ทก่ี อ่ พบวา่ มใี นขอบเขตชา้ งคลานตระกลู มสุ ลมิ อนิ เดยี ถอื ครองทดี่ นิ ราวๆ
รา่ งสรา้ งชุมชน ดว้ ยการเลา่ ให้ผเู้ ขยี นฟงั และให้ขอ้ มลู ท่บี ันทึกเปน็ 150 ไร่
เอกสาร โดยมีข้อมลู เน้อื หาส�ำคญั ดังนี้ คอื ส�ำหรับเร่ืองราวที่มาของชาวมุสลิมอินเดีย ผู้เขียนได้รับ
มุสลิมช้างคลาน เป็นกลุ่มคนท่ีเดินทางอพยพจากอินเดีย เอกสารที่บันทึกโดยลูกหลานชาวอินเดียช้างคลาน โดยบันทึก
ตะวนั ออก มณฑลเบงกอลหรอื เบงกาลี มศี นู ยก์ ลางทเี่ มอื งกลั กตั ตา ประวตั ทิ มี่ าของตน้ ตระกลู มสุ ลมิ เชอ้ื สายอนิ เดยี เอกสารทไ่ี ดม้ า เชน่
ยคุ สมยั อาณานคิ มองั กฤษทปี่ กครองแผน่ ดนิ อนิ เดยี (บาฮารตั ) และ เลา่ ขานต�ำนานบรรพชนตระกูล ศรจี นั ทร์ดร และ เอกสารประวตั ิ
ประเทศพม่า โดยมีประวัติบุคคลที่ต้องอพยพเข้ามาท่ีแตกต่างกัน ต้นตระกูลของเราพี่น้องบ้านช้างคลาน (จากทายาทรุน่ ท่ี 4 จริ ะชยั
อยู่ 2 กลุม่ หลักด้วยกนั คอื ศรจี ันทรด์ ร)
กลุ่มท่ีหน่ึง การอพยพมาในฐานะผู้รับใช้อังกฤษ หรือตาม ในราวปีพ.ศ. 2405 ในยุคสมัยผู้ปกครองนครเชียงใหม่
ประวตั ไิ ดร้ ะบวุ า่ เปน็ Headman ของรฐั บาลองั กฤษ มหี น้าที่รบั ใช้ พระเจา้ อนิ ทวิชยานนท์ องค์ที่ 7 ประมาณ 155 ปีท่ผี า่ นมา พบว่า
ประสาน ดแู ลความสงบและเกบ็ ภาษีคนใตบ้ งั คับอังกฤษ เชน่ ชาว มชี าวมุสลมิ จากอินเดีย 3 ทา่ น เดนิ ทางเขา้ มาตั้งรกรากบ้านเรอื น
อนิ เดีย พมา่ ไทใหญแ่ ละอ่ืนๆ บริเวณ “ท่าปู่ก้อน” ชายฝั่งแม่น้�ำปิง ทางด้านทิศตะวันออกเฉียง
กลมุ่ ทสี่ อง อพยพจากความไมส่ งบภายในอาณานคิ มอนิ เดยี ใต้ของเมืองเชียงใหม่ที่เรียกว่า “ทุ่งหนองช้างคลาน” โดยชาว
เปน็ สงครามความขดั แยง้ ตอ่ ตา้ นรฐั บาลอาณานคิ มองั กฤษทย่ี ดื เยอื้ อินเดียทงั้ 3 มนี ามวา่ 1) ทา่ นซอฟรั อาลี แตรดอ๊ ส 2) นายมฮู มั หมดั
ตงั้ แตช่ ว่ งสงครามโลกครงั้ ที่ 1 ถงึ หลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 และตาม อษุ มาน มริ ซายี 3) นายลาซอล อาลี ไดต้ ง้ั บา้ นเรอื นใกลเ้ คยี งกนั จน
มาด้วยกลุ่มท่ีต้องอพยพจากอินเดียได้รับเอกราชและ กอ่ รา่ งสรา้ งชมุ ชนมสุ ลมิ ชา้ งคลานและสายตระกลู มสุ ลมิ ในเชยี งใหม่
สงครามกลางเมืองในช่วงการแยกประเทศระหว่างชาวมุสลิมและ (ลุงค๊อฏฏอ๊ บ 20/7/2563 )
ฮินดู เป็นประเทศอินเดียและปากีสถาน ช่วงนี้จะเป็นกลุ่มมุสลิม จาก 3 คน 3 ตระกลู ชาวมสุ ลมิ เชอื้ สายอนิ เดยี ไดก้ ลายเปน็
ปาทานเป็นหลักทีเ่ ขา้ มาในประเทศไทยและเชยี งใหม่ ทม่ี าของการกอ่ รา่ งสรา้ งชมุ ชนมสุ ลมิ ชา้ งคลาน ซง่ึ ในเวลาตอ่ มาคน
การตง้ั ถน่ิ ฐานในชว่ งแรก ทด่ี นิ ในบรเิ วณชมุ ชนสว่ นใหญไ่ ด้ เหลา่ นี้ ไดส้ รา้ งศนู ยก์ ลางแหง่ แรก “การสรา้ งมสั ยดิ อลั ญาเมย๊ี ะ หรอื
รับพระราชทานจากเจ้าเมืองเชียงใหม่ และได้ซื้อขยายที่ดินรอบๆ มัสยิดกลางชา้ งคลาน” ขึ้นมาในราวปพี .ศ. 2410 ตง้ั อย่บู ริเวณท่า
มากขึ้นเมื่อคนเหล่านี้ได้เก็บหอมรอมริบจากอาชีพเลี้ยงวัว แพะ ปกู่ อ้ นโดยสรา้ งทรงบา้ นเรอื นไมแ้ บบลา้ นนา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่
และเชอื ดววั ขายในตลาด การขยายซอื้ ทดี่ นิ เปน็ เพราะความจำ� เปน็ ปฏิบัติศาสนกิจ และการสืบทอดวิถีปฏิบัติวัฒนธรรมของมุสลิม
ของอาชพี ปศสุ ตั วท์ ตี่ อ้ งใชพ้ น้ื ทก่ี วา้ ง เพอ่ื ไมใ่ หส้ ตั วเ์ ลยี้ งขาดแคลน ซนุ หนี่สายฮานาฟยี ์ ท้งั นย้ี ังเป็นสถานที่ของการพบปะรวมกล่มุ กัน
ระหว่างมุสลมิ อกี ดว้ ย

การเข้ามาของความเจริญและการผสมผสานทางวฒั นธรรม ใน
ต้นทศวรรษท่ี 2500

ราวๆ พ.ศ.2460-2520 เป็นช่วงท่ีประเทศไทยมีการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วต่อเนื่องตามล�ำดับ มีการน�ำระบบการ
พัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ส่งผลให้ทุกพื้นที่มีการเปล่ียนแปลง
ไปดว้ ย สำ� หรบั ชมุ ชนมสุ ลมิ ชา้ งคลาน เหน็ การเปลย่ี นแปลง 2 ระดบั
ด้วยกนั คอื ทางสงั คมวัฒนธรรมและเศรษฐกจิ

23

คนเมืองเข้ามาอยู่ริมแม่น้�ำบริเวณท่ีงอก และค้าขาย
แบบไม่มีโฉนด คนท่ีรวยท่นี ่ี ไดจ้ ากการขายท่ดี ิน”
เม่ือรัฐมีการพัฒนาพ้ืนที่ ขยายเมืองออกไป
ท�ำให้ท่ีดินที่นาธรรมดาๆ มีราคามหาศาล กล่าวว่า
ที่ดินเดิมต้ังแต่ส่ีแยกแสงตะวัน แถวโรงแรมแชงกรีล่า
เชียงใหม่แลนด์ มาถึงริมแม่น้�ำปิงท่ีเป็นโรงเบียร์ช้าง
เป็นของมุสลิมเชื้อสายอินเดีย ท�ำให้ลูกหลานมุสลิม
ช้างคลานได้อนสิ งฆแ์ ละรำ่� รวยจากการขายทดี่ นิ หรอื
บางคนรำ่� รวยจากธรุ กจิ โรงแรมและหอพกั ใหเ้ ชา่ พน้ื ที่
ให้กับธุรกิจบนั เทิงร้านเหลา้ บาร์ คาราโอเกะ
ที่กล่าวข้างต้น เป็นภาพบรรยากาศในอดีต
ทางวฒั นธรรม เมอ่ื ชาวมสุ ลมิ มกี ารแตง่ งานกบั คนพนื้ เมอื ง
(คนพทุ ธทเ่ี ขา้ รบั อสิ ลาม) มากขน้ึ ไดเ้ กดิ การเชอ่ื มโยงตนเองเขา้ กบั ของการผสมผสานทางวฒั นธรรมเขา้ กบั วฒั นธรรมพนื้ ทแ่ี ละตรงกบั
ชนส่วนใหญ่ท่ีเป็นคนเมือง มีการปฏิสัมพันธ์เข้ากับญาติที่เป็นคน ชว่ งการสมยั การเปลยี่ นแปลงการปกครองและตอ่ เนอ่ื งชว่ งการเรมิ่
เมืองและมุสลิมอินเดียอย่างเท่าเทียมกัน เช่น สมัยแม่อุ้ย ยายอุ้ย ตน้ พฒั นาเศรษฐกจิ ซงึ่ สภาวะดงั กลา่ วไดด้ งึ คนเหลา่ นเ้ี ขา้ สวู่ จรของ
ซึ่งเดิมเป็นคนเมืองที่แต่งงานกับมุสลิมอินเดีย แล้วด้วยวัฒนธรรม สงั คมเมอื ง ท่ีมวี ถิ ีชวี ติ เหมอื นกันในสงั คมสมยั ใหม่
ทางเหนือที่บทบาทของผู้หญิงเป็นใหญ่ เป็นผู้สืบและถ่ายทอด
วฒั นธรรมประเพณี ดงั นน้ั จงึ มกี ารถา่ ยทอดวฒั นธรรม ภาษา สรู่ นุ่ การฟนื้ ฟูอัตลักษณ์มุสลิมชา้ งคลาน
ลกู ๆ หลานๆ ฉะนนั้ “แมห่ รอื ผหู้ ญงิ ” จงึ มบี ทบาทในการผสมผสาน ประมาณพ.ศ.2525-2545 เปน็ ช่วงทีเ่ ศรษฐกิจในเชยี งใหม่
วัฒนธรรมหรืออาจเรียกว่า เป็นช่วงการกลืนกลาย (Assimilate) และประเทศไทยกำ� ลังเตบิ โต และยังเปน็ ชว่ งการฟื้นฟอู สิ ลามและ
เปน็ คนทอ้ งถน่ิ เหน็ ไดช้ ัดจากการใชภ้ าษาค�ำเมอื ง ดังน้นั ลูกหลาน การสรา้ งอตั ลกั ษณม์ สุ ลมิ ทว่ั โลกดว้ ย ซงึ่ ทำ� ใหพ้ บวา่ ศาสนาอสิ ลาม
คนรุ่นที่ 2 และ 3 จึงกลายเปน็ มุสลมิ คนเมือง ได้ถูกน�ำมาใช้สร้างสังคมมุสลิมช้างคลานไปด้วย โดยเกิดข้ึนจาก
การผสมระหว่างวัฒนธรรมประเพณีของทั้งสองฝ่าย ดังที่ กระแสการเข้ามาของจากบุคคลภายนอกที่มีบทบาทกระตุ้นให้คน
ลงุ แดง (สัมภาษณ์ 7/8/2563) ได้เลา่ ว่า ภายในพื้นที่หันมาสนใจให้ความส�ำคัญต่อศาสนาอิสลาม กลุ่มคน
“สมัยก่อนน้ัน คนท่ีน่ีจะปฏิบัติพิธีกรรมแบบผสมผสาน จากขา้ งนอกเหลา่ น้ี มาจากภาคใต้เปน็ กลมุ่ ชาวมลายู กลุ่มดะวะห์
อิสลามอินเดียพุทธคนเมือง เพราะเขาแต่งงานอยู่ในสังคมที่ล้อม ตบั ลีฆจากภาคใต้ กรุงเทพ แมส่ อด และต่างประเทศ กล่มุ เหล่านี้
รอบด้วยคนพุทธ เช่น การจัดกิจกรรมในช่วงสงกรานต์ งานเล้ียง เข้ามาสร้างการตื่นตัวทางศาสนาผ่านพื้นท่ีศาสนา คือ มัสยิดและ
บญุ บา้ นใหม่ 3 วัน 7 วัน ที่สสุ าน จะมพี วกมาลัย เทียนดอกไม้ เอา โรงเรยี น และการเข้ามาของกลุ่มดะวะฮต์ ับลฆี
ข้าวของไปฝังไว้กับศพ แทบจะหาคนที่รู้ศาสนายาก ถือว่าเป็นยุค
มืดบอดทางศาสนา”
ทางเศรษฐกจิ คอื เม่ือสงั คมเมืองเชยี งใหมไ่ ดถ้ ูกเรง่ เร้าให้ การสรา้ งโรงเรียนสอนศาสนาขั้นพน้ื ฐาน
การสร้างชุมชนมุสลิมผ่านสถาบันศาสนาและการศึกษาน้ี
เกิดการพัฒนาและจังหวัดเชียงใหม่ได้กลายเป็นเมืองเอกของภาค
เหนอื ดว้ ยเหตนุ ี้ ลงุ แดงกลา่ วว่า ผเู้ ขยี นจะนำ� คำ� สมั ภาษณเ์ ลา่ เรอื่ งของครแู วเลาะ ชาวมลายจู ากภาค
ใต้ ที่เป็นบุคคลหน่ึงในกระบวนการสร้างสังคมมุสลิมช้างคลานมา
“คนที่ร�่ำรวยก็รวยจากบรรพบุรุษท่ีมาอยู่แต่งงาน นำ� เสนอถึง ทีม่ า กระบวนการและผลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดงั กล่าว
ซื้อท่ีดิน แถวช้างคลานมุสลิมแขกครองหมดเลยไม่มีคนไทยมา
แทรกเลย คนไทยมาซื้อจากคนแขกอีกที่หลังจากนั้น แล้วก็มี เม่ือประมาณ 40 ปีที่แล้วหรือราวๆ พ.ศ. 2525 ตอนนั้น
มสั ยดิ ชา้ งคลาน ยงั มสี ภาพเหมอื นศาลาละหมาดธรรมดา พน้ื ทราย

24

มีเพียงผู้เฒ่าผู้แก่ประมาณ 4-5 คนเท่าน้ันที่มาละหมาด นอกจาก ท�ำการละหมาดปฏิบัติศาสนกิจทุกวัน ด้วยเหตุระยะหลังท�ำให้พ่อ
น้ันก็จะเป็นกลุ่มพ่อค้ามลายูจากภาคใต้ที่เข้ามาใช้พื้นที่ท�ำ แม่ที่ไม่เคยปฏิบัติละหมาดมาก่อนละอายใจจึงเข้าร่วมศึกษาและ
การละหมาดและมาน่ังพักผ่อนหลังจากค้าขาย คนที่น่ียังไม่ค่อยมี ร่วมทำ� พธิ กี ับลูกๆ ไปดว้ ย
ความรเู้ กย่ี วกบั ศาสนา คนทส่ี ามารถอ่านคมั ภีร์กรุ อา่ นไดส้ มัยนนั้ มี 5) ดึงกลุม่ วยั รุ่นและเยาวชน
อยู่ ประมาณ 3-4 คน คนอน่ื ๆ สว่ นใหญย่ งั อา่ นและละหมาดไมเ่ ปน็ หลังจากน้ันเมื่อรวมตัวกันได้ เราก็กระบวนการจัดได้ตั้ง
เม่ือคนที่น่ี เขาเห็นว่าชาวมลายูจาคภาคใต้รู้จักศาสนา เห็นมา “กลุ่มยุวเยาวชนมุสลิม” เพ่ือท�ำหน้าที่ในการดูแลเด็กๆ โดยมี
ละหมาดทุก 5 เวลา ใช้พื้นท่ีมัสยิดตลอดวันในช่วงที่ว่างจาก วัตถุประสงค์เพ่ือให้กลุ่มเยาวชน ได้เขามาฟังการสอนบรรยาย
ขายของ ศาสนาร่วมกับเด็กๆ ด้วย และมาได้ร่วมละหมาดด้วยกัน จึงเป็น
ดว้ ยเหตขุ า้ งนี้ “ลงุ ศร”ี เปน็ คณะกรรมการมสั ยดิ ในชว่ งนน้ั ยทุ ธวธิ ใี นการสรา้ งคนโดยการมอบหมายหนา้ ที่
ได้เขา้ ขอใหแ้ วเลาะช่วยสอนศาสนา สอนอลั กรุ อ่านใหก้ ับลูกหลาน 6) การเยีย่ มบ้าน
มสุ ลมิ ทนี่ ี่ หลงั จากนนั้ มกี ารประชมุ กรรมการและคนอน่ื ๆ ประมาณ ทุกวันตอนเย็นๆ จะเดินไปเย่ียมมุสลิมที่บ้าน เชิญชวนให้
10-15 คน อนมุ ตั ใิ หม้ กี ารจดั ตง้ั โรงเรยี นสอนศาสนาขน้ั พนื้ ฐาน โดย มาละหมาด วนั ละ 3-4 หลัง
แวเลาะเป็นแกนน�ำครูและได้น�ำวิธีการจากภาคใต้แบบโรงเรียน 7) น�ำเด็กไปปฏบิ ัตใิ นพืน้ ที่จริง
ตาดกี ามาใช้ จงึ เปน็ ท่ีมาของการสอนศาสนาอสิ ลามทเี่ ปน็ โรงเรยี น กรณีมีคนเสียชีวิต ในช่วงค่�ำเราจะพาเด็กๆ ไปอ่านสวด
ศาสนาอสิ ลามขน้ั พืน้ ฐานแห่งแรกในเชียงใหม่ คมั ภรี ท์ บี่ า้ นคนตาย 7 วนั วธิ นี เ้ี ปน็ การใหเ้ ดก็ ไดล้ งสนามปฏบิ ตั จิ รงิ
การสร้างโรงเรียน พบว่า ได้ก่อให้เกิดกระบวนการและ ในสังคม
ขั้นตอนท่ีน่าสนใจ ในการสร้างสังคมมุสลิมในช้างคลาน คือ 1) ผลจากการสร้างโรงเรียนสอนศาสนา ได้สร้างความ
โรงเรียนได้ออกแบบกระบวนการสอน คือ จะสอนเก่ียวกับการ เปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมากต่อชาวมุสลิมในพ้ืนท่ี ก่อนหน้าน้ัน
อา่ นอลั กรุ อา่ น ฝกึ ละหมาด มารยาท โดยมตี ารางการเรยี นการสอน ช้างคลานเปน็ แหล่งอบายมขุ เหลา้ เบยี ร์ พนัน ยา ร้านชายังมีขาย
ตั้งแต่ จันทร์-ศุกร์ เริ่มเรียนช่วงเย็นถึงมัฆริบอิซา (5.30-7.30 น.) เหล้า จากผลดังกล่าวได้เปลี่ยนจากสังคมที่ไม่รู้เร่ืองศาสนามาสู่
ประมาณ 2 ช่ัวโมง และ ส�ำหรับวันเสาร์-อาทิตย์ จะท�ำการสอน
ตง้ั แตเ่ ชา้ ถงึ เยน็ เมอ่ื ถงึ ฤดชู ว่ งโรงเรยี นสามญั ปดิ เทอม เราจะนำ� เดก็
มาเรยี นกินนอนท่ีมสั ยิดเป็นเวลา 1 เดอื น เปน็ กิจกรรมช่วงฤดูรอ้ น
2) การรับ-ส่งเด็กๆ
มกี ารไปรบั ไปสง่ เดก็ ๆ ลกู ชาวมสุ ลมิ ถงึ หนา้ บา้ น ตง้ั แตแ่ ถว
ประตเู ชยี งใหม่ เสาหนิ ตกั วา(วดั เกตุ) ชา้ งคลาน หนองหอย จาก
50 คน จนกระท่ังสามารถรวบรวมเดก็ ไดม้ ากถงึ 200 คน
3) ชวนอิหม่ามมาชว่ ย
สมัยน้ัน โต๊ะอิหม่ามยังไม่ได้มาละหมาดท่ีมัสยิด จะมา
เฉพาะวันศุกร์ เป็นต�ำแหน่งท่ีเขาต้ังให้เนื่องจากเป็นลูกเขยอดีต
อิหม่าม แต่เป็นครูโรงเรียนมงฟอร์ต เลยไปขอเขาให้มาช่วย
เน่ืองจากมีเด็กจ�ำนวนมาก หลังจากนั้นอิหม่ามจึงเข้ามาท�ำหน้าท่ี
ในการน�ำละหมาดด้วยและสอนหนังสือ การบ้านใหเ้ ดก็ ด้วย
4) ดงึ ผู้ปกครองให้มามสั ยิด
พอเด็กมาเรียนศาสนาที่มัสยิด พ่อแม่อาสามาส่งมารับลูก
เองและมาเฝ้า มาดูลูกๆ ในมัสยิด ท�ำให้ผู้ปกครองได้เห็นลูกๆ

25

เผยแพร่ความรู้ โดยใช้ภาษา
อาหรับและอังกฤษ คนท่ีนี่ไม่รู้
เรื่อง แต่เขาก็พยายามให้เราหา
หนังสือศาสนาอะไรก็ได้มาอ่าน
ในช่วงค�่ำ พอตอนเย็นเขาก็จะ
ชวนเราไปเยี่ยมเยียนชาวบ้าน
หลังจากนั้นกลุ่มที่สอง คือ กลุ่ม
ดะวะห์จากมาเลเซีย อินเดีย
อินโดนีเซีย และกลุ่มที่สาม คือ
กลุ่มภาคใต้ จากอ�ำเภอแม่สอด
พอกลมุ่ ดะวะหเ์ ขา้ มา ทำ� ใหค้ นใน
พื้นท่ีเข้ามาละหมาดที่มัสยิด
ชา้ งคลานทวคี ูณ
มสั ยดิ ช้างคลาน ถูกจดั ตัง้ ใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางการท�ำกิจกรรม
การฟื้นตัวใหม่ได้ เช่น จากที่ก่อนหน้าน้ันมัสยิดช้างคลาน แม้แต่
เด็กๆ ไมก่ ลา้ เดินผ่านเพราะกลัวผี แตป่ จั จบุ ันไดก้ ลายเปน็ มสั ยิดท่ี ดะวะหข์ องภาคเหนอื โดยมกี ระบวนการเชน่ เมอ่ื กลมุ่ ดะวะหม์ าถงึ
สว่างไสว คึกครื้นตลอดช่วงค่�ำคืน และยังได้ขยายพื้นที่มัสยิดให้ เชียงใหม่ก็จะพ�ำนักที่ช้างคลานและใช้พื้นท่ีในการประชุมหารือ
กว้างใหญ่กว่าเดิม มัสยิดจึงกลายเป็นพ้ืนที่ของการรวมกลุ่ม เกิด ท�ำตารางวันเวลาการเดินทาง จัดต้ังผู้น�ำกลุ่ม ถ้าเป็นกลุ่มใหญ่
กิจกรรมขึ้นที่มัสยิดอย่างทวีคูณ โดยแต่ละบ้านจะมาท�ำกิจกรรม ก็มี ประมาณ 12-15 คนหรือกลุ่มเล็กจะมี 3-5 คน เพ่ือให้กลุ่ม
เลยี้ งทม่ี สั ยดิ คนทนี่ เ่ี ขาใจบญุ คนในชมุ ชนไดก้ นิ แกงเนอ้ื ตลอด และ เหล่านี้ไปทำ� การดะวะหต์ ามมัสยิดตา่ งๆ ในภาคเหนอื เช่น อ.ปาย
ปัจจุบันมัสยิดช้างคลาน ได้เป็นที่รู้จักของคนมุสลิมต่างพื้นที่ เช่น อ.แม่สะเรยี ง จ.แมฮ่ อ่ งสอน และตามมัสยดิ ตา่ งๆ ในเชยี งใหม่ เชน่
มุสลมิ ใต้ มุสลิมภาคกลางหรือกรุงเทพและมุสลิมตา่ งประเทศ มสั ยดิ ชา้ งเผือก บ้านฮอ่ มัสยดิ วรุณนเิ วศ แม่เหียะ สนั ก�ำแพง หรือ
ถา้ มาเปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ กจ็ ะไปตระเวนตามมสั ยดิ โดยแบง่ วนั เปน็ 3 วนั
ตอ่ คนื ตอ่ มสั ยดิ และเมอื่ ถงึ วนั สดุ ทา้ ยกจ็ ะกลบั มาทม่ี สั ยดิ ชา้ งคลาน
กล่มุ ดะวะหต์ ับลฆี กบั การฟ้นื ฟูสังคมมุสลิม
“งานดะวะห์ เราจะได้แนวคิดคือ 1.รู้ศาสนา 2.ปฏิบัติ เพ่ือพดู คุยสรปุ การท�ำภารกิจ
3.บอกต่อ เท่าน้ันเอง และกลุ่มดะวะห์ จะเข้าได้กับทุกกลุ่ม ท้ัง รปู แบบและชว่ งเวลาการออกดะวะหแ์ ตล่ ะครง้ั จะมรี ปู แบบ
ซุนน่ี ชีอะห์ เราจะไม่ได้ถกเถียงทะเลาะทางศาสนา ว่าใครถูกใคร เช่น 3 วัน 10 วัน 40 วัน และ 1 ปี การออกไปดะวะห์ต้องตั้ง
ผิด สำ� นักคิดไหนดีไมด่ จี ะไม่ม”ี เจตนารมณท์ างจติ ใจวา่ เสยี สละพลชี พี เปน็ การทำ� ภารกจิ เพอื่ สงั คม
กลุ่มเส้ือขาวหรือกลุ่มเคลื่อนไหวเชิญชวนให้มุสลิมหันมา ชว่ ยเหลือ เชญิ ชวนผู้คนใหม้ าละหมาด และต้องท�ำใจหากเสยี ชีวติ
ปฏิบัติทางศาสนา ที่รู้จักกันในชื่อ “กลุ่มดะวะห์ตับลีฆ” เป็นกลุ่ม ระหว่างภารกิจถือเป็นเรื่องท่ีดี ท่ีเรียกว่า “ญีฮาด” พลีชีพทาง
เคล่ือนไหวกลุ่มหน่ึง ที่มีบทบาทในการฟื้นฟูสังคมมุสลิมเชียงใหม่ ศาสนาของพระเจา้ ถ้าตายจะไดเ้ ขา้ สวรรค์
เร่ืองราวของกลุ่มดะวะห์บนพ้ืนท่ีมุสลิมเชียงใหม่นี้ แวเลาะห์ งานดะวะหไ์ ดเ้ ขา้ มาชว่ ยดงึ เอากลมุ่ คนมสุ ลมิ ใหเ้ ขา้ มามสั ยดิ
(สัมภาษณ์ 25/8/2563) ได้เล่าถึงการเข้ามาของกลุ่มดะวะห์ ได้ ทลี ะคนๆ เชน่ ลงุ แดงเองกเ็ สเพล ชว่ งทลี่ งุ แดงไปนนั้ กพ็ อดมี ปี ญั หา
อยา่ งน่าสนใจดังนี้ ในครอบครัวท่ีแก้ไม่ตก กอ่ นหนา้ นน้ั ลงุ แดงก็ขเี้ หลา้ เมายา เสเพล
เม่อื ประมาณปี พ.ศ. 2540 พบว่า มีกลุม่ ดะวะห์ตับลีฆ คน ทกุ คนแถวนรี้ ดู้ ี วา่ ลงุ แดงเปน็ อยา่ งไร (สมั ภาษณ์ ลงุ แดง 5/8/2563)
กลุ่มแรกท่มี า คอื กลุ่มดะวะหจ์ ากแอฟรกิ า สมยั นัน้ คนแอฟรกิ ามา แตพ่ อไดเ้ ขา้ รว่ มกบั งานดะวะห์ ผลกค็ อื จากทเ่ี ราไมม่ คี วาม

26

รู้ทางศาสนาเลย กลับท�ำให้เราได้รู้ศาสนามากขึ้น เพราะว่าการ มาเล้ียงข้าวกินข้าวด้วยกัน เสมือนช่วงวันศุกร์ บริเวณมัสยิด
เข้าร่วมดะวะห์นนั้ คือเราตอ้ งฝกึ ปฏบิ ตั ลิ ะหมาด ฝกึ อ่านอัลกรุ อ่าน สว่างไสวเปิดไฟเตม็ ที่คึกคกั (แวเลาะ สมั ภาษณ์ 25/8/2563)
รวมตัวฟังบรรยายศาสนาทุกครั้งหลังละหมาดห้าเวลา ต้องปฏิบัติ
แบบนีต้ ลอดช่วง 40 วนั ท่ีไป ทำ� ใหล้ ุงแดงได้ซึมซบั เอาความรู้และ การจัดองค์กรทางการเมืองของกลุ่มเช้ือสายอินเดียมุสลิม
เข้าใจความหมายในชีวิตของมุสลิมที่นับถือศาสนาอิสลามมากข้ึน ในสังคมเมืองเชียงใหม่ มีเคร่ืองมือในการประกอบสร้างกลุ่มของ
หลงั จากนัน้ ก็ปรบั ตัวเข้าหาศาสนา ตนเอง ผ่านการรวมกลุ่มครัวเรือนและเครือญาติพี่น้อง ผ่านการ
ปฏิบัติศาสนากิจท่ีมัสยิดและองค์กรศาสนา เกิดการสร้างสมาคม
การออกดะวะห์ อาจจะเรยี กไดว้ ่าเป็น “การท่องเที่ยวเชงิ ไทยมุสลิมภาคเหนือ และการสร้างนิยามอัตลักษณ์ตนเองผ่าน
ศาสนา” มีค่าใช้จ่ายท้ังหมดประมาณ 3,000 บาท เราจะช่วยกัน ศาสนา เชน่ การไม่บรโิ ภคหมู ไมด่ ่ืมของมนึ เมา การแตง่ งานกันใน
แชรค์ า่ ใชจ้ า่ ย คา่ อาหาร คา่ รถ สว่ นคา่ ทพี่ กั นน้ั ฟรไี มต่ อ้ งจา่ ย เพราะ กลมุ่ เพอื่ รกั ษาเชอื้ สาย รวมทงั้ การสรา้ งระบบความเชอื่ ปลกู ฝงั ทาง
เราใชม้ สั ยดิ และบอ่ ยครงั้ ทเี่ ราไปทม่ี สั ยดิ ตา่ งๆ ผนู้ ำ� ศาสนาทน่ี นั่ จะ วัฒนธรรมผ่านพ้ืนท่ีปฏิสัมพันธ์ตามประเพณี งานเฉลิมฉลองและ
ชว่ ยออกเรอ่ื งอาหาร อำ� นวยความสะดวกทพี่ กั ในมสั ยดิ แตส่ ำ� หรบั พิธีกรรมต่างๆ มีการสร้างระบบการติดต่อสื่อสารภายในระหว่าง
ปจั จบุ นั อาจจะตอ้ งเตรยี มเงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยประมาณ 5,000 บาท เพราะ สมาชกิ เปน็ สมดุ โทรศพั ทค์ นสำ� คญั ๆ กระบวนการเหลา่ นเี้ กดิ ขน้ึ จาก
สภาพค่าครองชีพแพงขึน้ สถาบันพื้นฐานจ�ำเป็น (Compulsory Institutions) เช่น พื้นที่
ศาสนา ระบบความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ความเช่ือและพิธีกรรม
กลมุ่ ดะวะหท์ ม่ี า มสั ยดิ ชา้ งคลานไดค้ อ่ ยๆ สรา้ งบรรยากาศ ท่ีก่อให้เกิดส่ิงที่ สุเทพ นิยามว่า “กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีเป็นองค์กรทาง
ทางศาสนาอสิ ลามมากในชว่ งนน้ั เราใชศ้ าสนาในการเขา้ ไปทกุ พน้ื ที่ เมอื ง” (สุเทพ สนุ ทรเภสัช, 2548)1
ได้ เสมอื นถกู ยกเวน้ เพราะเราตอ้ งคยุ เรอื่ งศาสนาเปน็ สงิ่ ทดี่ ี แลว้ ก็
เวลาเราคยุ เราพดู เรากม็ วี ธิ กี ารคยุ เชน่ สำ� หรบั คนทคี่ า้ ขายเรากจ็ ะ ดงั น้นั อตั ลักษณท์ างชาติพันธุข์ องชาวมสุ ลิมช้างคลาน เรา
คุยเรื่องค้าขายว่าเป็นเร่ืองท่ีดีงามในอิสลามส่งเสริม แล้วเราก็จะ จะพบได้ในพนื้ ท่ี เชน่ มัสยิดและกิจกรรมของเครือญาติ ท่คี นเหลา่
สอดแทรกว่า เม่อื เรามีเงินเราก็ควรท�ำดตี อบแทนสงั คม ท�ำความดี นี้เข้าปฏิบัติการณ์ ปฏิสัมพันธ์ พบปะสร้างสรรค์ในกิจกรรมวัน
ทางศาสนาด้วยต้องควบคู่กันไป ตามหลักปฏิบัติแบบอย่างท่าน ส�ำคัญทางศาสนา การประกอบพิธีกรรมศาสนา 5 เวลา การเป็น
ศาสดามูฮัมหมัด แล้วเราจะคุยเร่ืองโลกอาคีเราะห์ โลกหลังความ สมาชิกมัสยิด และรอบๆ มัสยิดจะมีการสร้างบ้านเรือน ร้านค้า
ตาย เรามเี ปา้ หมายเพือ่ ไปสู่สวรรค์ เราต้องบริจาค หากเราตายไป อาหาร รา้ นนำ�้ ชาเครอ่ื งดมื่ มสุ ลมิ ทม่ี สี ญั ลกั ษณต์ ราฮาลาลในอสิ ลาม
ลูกหลานจะขอพรให้กับเรา เป็นรางวลั ให้กับคนตาย นอกจากน้ีชุมชนมุสลิมช้างคลานยังเป็นที่รู้จักในธุรกิจค้าวัว โรง
เชอื ดววั ทเี่ ชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยคา้ ววั ขา้ มชายแดนไทย-พมา่ หรอื แมแ้ ต่
การมาของกลมุ่ ดะวะห์ สง่ ผลใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลงอยา่ ง การเปน็ เจา้ ทด่ี นิ ในยา่ นทอ่ งเทยี่ ว บรเิ วณชมุ ชนชา้ งคลานจงึ เปน็ จดุ
เดน่ ชัด ทำ� ให้คนเริ่มหนั มาสนใจทางศาสนามากข้ึน แต่ก็เปน็ อยา่ ง ดึงดูดรวมกลุ่มพบปะและแลกเปลี่ยนของกลุ่มมุสลิมท่ัวไปด้วย
ค่อยเปน็ คอ่ ยไป กลุ่มแรกๆ ท่ตี อบรับเขา้ ร่วมงานดะวะห์ คอื กลมุ่ ฉะนั้นบนพื้นที่ดังกล่าวนี้ จึงเป็นภาพแสดงอัตลักษณ์ของมุสลิมใน
ปาทาน จะเข้าร่วมเลยเพราะขบวนการดะวะห์เกิดข้ึนและมีพ้ืนเพ สงั คมเมอื งเชียงใหม่ที่รายล้อมด้วยชุมชนไทยพุทธอย่างนา่ สนใจ
ในปากีสถานและอินเดีย และกลุ่มปาทานท่ีเข้ามาอยู่ในไทยก็มี
ประสบการณ์ทางศาสนาแบบนอ้ี ยแู่ ล้ว จงึ ตอบรับได้ง่าย หลงั จาก 1 สเุ ทพ สุนทรเภสชั , 2548.ช ติพนั ธ์ุสมั พันธ:์ แนวคิดพนื้ ฐานทางมานษุ ยวทิ ยาในการศึกษา
นัน้ ก็เปน็ กลมุ่ มสุ ลมิ ชา้ งคลานทวั่ ไป (ลงุ แดง สมั ภาษณ์ 5/8/2563) อัตลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ ประชาชาติและการจัดองค์กรความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์.กรุงเทพฯ:
เมอื งโบราณ.
ส่งิ เหลา่ นีไ้ ด้ท�ำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง จากทคี่ นชา้ งคลาน
ไม่รู้ศาสนา พอเขารู้ว่าศาสนาอิสลามต้องแบบน้ี แบบนั้น เขาเลย
ตกใจ เขาไมร่ ู้ คนจากภาคใตม้ าบอกวา่ แบบนบี้ าป แบบนบี้ ญุ แลว้
ยงิ่ กลมุ่ ดะวะหเ์ ขา้ มาทำ� การเชญิ ชวนมามสั ยดิ อกี ทำ� ใหค้ นมามสั ยดิ
ยงิ่ เยอะมากข้ึนๆ หลงั ละหมาดอซี า ประมาณเวลา 8.00 น. ผู้คน

27

พริ าบสง่ สาร การเลือกปฏิบตั ิทางเช้ือชาติ
ในระบบหลักประกันสุขภาพ
เรอื่ ง : ววิ ฒั น์ ตาม่ี
ภาพ : ศาสตรา บุญวจิ ิตร

ความหมายคำ�วา่ การเลือกปฏบิ ตั ิทางเช้ือชาติ
ในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเช้ือชาติในทุกรูปแบบ(CERD) คำ�ว่า "การเลือก

ปฏบิ ัตทิ างเชอื้ ชาต"ิ หมายถงึ การจำ�แนก การกดี กนั การจำ�กัด หรือการเลอื ก โดยตงั้ อยู่บนพ้นื ฐานของเชือ้ ชาติ สีผวิ
เชื้อสายหรือชาติกำ�เนิดหรือเผ่าพันธุ์กำ�เนิด ซ่ึงมีเจตนาหรือมีผลให้เกิดการระงับหรือกีดกั้นการเคารพสิทธิมนุษยชนและ
เสรีภาพข้ันพื้นฐานของบุคคลในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและในด้านอ่ืนๆ ของการดำ�รงชีวิตในสังคม
รวมทงั้ การระงับหรือกีดกั้นการใชส้ ทิ ธเิ หล่านนั้ อย่างเสมอภาคบุคคล

28

รัฐภาคีจะด�ำเนินการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเช้ือชาติ สัญชาติและสถานะบุคคล และกลุ่มคนด้ังเดิมที่ไม่มีสัญชาติ
อย่างไร? ไทยแต่มีช่ืออยู่ในทะเบียนราษฎร์ (คนจีนโพ้นทะเล) จ�ำนวน
ในข้อ 5 ของอนุสัญญาระบุว่า เพื่อให้สอดคล้อง กวา่ 5 แสนลา้ น ถกู ปลดสทิ ธิหรือถกู กดี กนั ออกจากระบบหลกั
ตามพันธะกรณีพ้ืนฐานที่ได้จัดวางไว้ตามข้อ 2 ของอนุสัญญา ประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ (UC) และไม่ได้รบั บริการสาธารณสขุ
นี้ รัฐภาคีจะห้ามและขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุก เข้าไม่ถึงระบบหลักประกันสุขภาพตามท่ีควรได้รับ และไม่ได้
รูปแบบ และจะประกันสิทธขิ องทกุ คนให้มคี วามเสมอภาคกนั รับการป้องกันการล้มละลายที่เกิดจากการใช้บริการด้าน
ตามกฎหมาย โดยไม่จ�ำแนกตามเชื้อชาติ สีผิว หรือชาติหรือ สขุ ภาพนบั แต่นน้ั
เผา่ พนั ธก์ุ ำ� เนดิ โดยเฉพาะในประเดน็ การขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ิ
การเข้าถึงสิทธิขั้นพ้ืนฐานต่างๆ จากรัฐ เช่น ด้านสาธารณสุข เครอื ขา่ ยองคก์ รพฒั นาเอกชนงานดา้ นชนกลมุ่ นอ้ ยและ
ข้อ ฉ) ข้อ 4. ระบุว่า รัฐจะต้องขจัดไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติ เครือข่ายหมอชายแดน ได้ช่วยกันผลักดันนโยบายการให้สิทธิ
ทางด้านสทิ ธใิ นการได้รบั บรกิ ารสาธารณสุข การดแู ลทางการ (คืนสทิ ธิ) สทิ ธขิ ้ันพื้นฐานด้านสาธารณสุข ให้กับกลุม่ คนไทยท่ี
แพทย์ การประกนั สงั คม และการบริการทางสงั คม ทน่ี ลี้ องมา กำ� ลงั รอพสิ จู นส์ ญั ชาตแิ ละสถานะบคุ คลเหลา่ นี้ จนกระทงั่ คณะ
ดวู า่ ประเทศไทยไดม้ กี ารดำ� เนนิ การในทางนโยบายและปฏบิ ตั ิ รัฐมนตรี (ครม.) มีมติ เม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2553 ให้จัดตั้ง
อะไรบ้าง อย่างไร กองทุนให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ข้ันพ้ืนฐานด้านสาธารณสุขส�ำหรับ
ความเหลื่อมล�้ำในระบบหลักประกันสุขภาพระหว่างคนมี บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ โดยครอบคลุมบุคคลท่ีมี
สัญชาตไิ ทยกบั คนไรส้ ัญชาติ ปัญหาสถานะและสิทธิ จ�ำนวน 457,409 คน พร้อมท้ังต้ัง
งบประมาณชดเชย รวมทั้งงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวปรับ
ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งท่ีถูกจัดอยู่ในประเทศ ตามโครงสรา้ งอายุ เบกิ จา่ ยจากกองทนุ ฉกุ เฉนิ สำ� รองจา่ ย ตง้ั แต่
กำ� ลงั พัฒนา มนี โยบายและระบบหลักประกันสขุ ภาพท่ีดที ี่สดุ ปีงบประมาณ 2545 และครม. มอบหมายให้กระทรวง
ในโลกประเทศหนึ่ง เพราะได้มีระบบหลักประกันสุขภาพ สาธารณสุข เป็นผู้บริหารจัดการกองทุน ด้วยเหตุผล สปสช.
ครอบคลมุ คนไทยทงั้ ประเทศ ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2545 ภายใตร้ ะบบ ดแู ลเฉพาะคนสญั ชาตไิ ทยเทา่ นนั้ และครม.ไดม้ มี ตคิ รงั้ ที่ 2 เมอ่ื
หลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ซง่ึ ไมเ่ พยี งทำ� ใหป้ ระชาชนทกุ คน วนั ท่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2558 เพ่ิมกล่มุ บุคคลเข้าสู่ “กองทนุ
มหี ลกั ประกนั สขุ ภาพเทา่ นน้ั แตผ่ ลลพั ธท์ ไ่ี ดย้ งั ทำ� ใหไ้ ทยถกู ยก ให้สิทธิ(คืนสิทธิ) ข้ันพื้นฐานด้านสาธารณสุขส�ำหรับบุคคล
เป็นต้นแบบประเทศก�ำลังพัฒนาที่ท�ำเร่ืองน้ีจนส�ำเร็จและมี ที่ปัญหาสถานะและสิทธิ” ตามมติ ครม.วันที่ 23 มีนาคม
ผลลัพธด์ ้านสุขภาพทีด่ จี ากตวั ชว้ี ดั ด้านตา่ งๆ 2553 จ�ำนวน 208,631 คน ครม.มีมติคร้ังที่ 3 เม่ือวันท่ี 10
มีนาคม 2563 คืนสิทธิข้ันพ้ืนฐานด้านสาธารณสุขแก่คนจีน
แตท่ วา่ ยงั มคี นไทยจำ� นวนหนงึ่ ทก่ี ำ� ลงั รอพสิ จู นส์ ญั ชาติ โพ้นทะเลอีกจ�ำนวน 24,000 คนและครม.มีมติ เม่ือวันที่ 22
ไทยและสถานะบคุ คล ยงั ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ สทิ ธดิ า้ นสาธารณสขุ กันยายน 2563 ได้ให้สิทธิข้ันพ้ืนฐานด้านสาธารณสุขแก่เด็ก
ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 นกั เรยี นในสถานศกึ ษา (รหสั G) ทผี่ า่ นการสำ� รวจคดั กรองและ
เนื่องจากคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความว่า พระราชบัญญัติ ก�ำหนดเลขประจ�ำตัว 13 หลักแล้วจากกระทรวงมหาดไทย
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาตรา 51 เป็นการรับรองสิทธิ จำ� นวน 3,000 คน อยา่ งไรกต็ าม พบว่า เด็กนกั เรียนในสถาน
ของบุคคลท่ีมีสัญชาตไิ ทยเทา่ นนั้ ส่งผลกระทบ ท�ำให้กลมุ่ คน ศึกษาท่ียังไม่ได้รับการส�ำรวจคัดกรองและก�ำหนดเลขประจ�ำ
ไทย (ชนกลุ่มน้อยและกลุ่มชาติพันธุ์) ที่ก�ำลังรอพิสูจน์ ตัว 13 หลกั ท่ีไม่ได้รับสิทธิขน้ั พื้นฐานด้านสาธารณสุขและไมม่ ี
หลักประกันสุขภาพอีกกว่าหลายแสนคน โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก
1 มาตรา 5 ระบุว่า “บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมี ไร้สญั ชาตทิ ่ีเกิดในประเทศไทยจากพอ่ แม่หลบหนเี ขา้ เมือง
ประสทิ ธภิ าพตามทกี่ ำ� หนดโดยพระราชบัญญัตนิ ้"ี

29

การเลอื กปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งกองทนุ ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตขิ องคนสญั ชาตไิ ทยกบั ของกลมุ่ คนไรส้ ญั ชาติ
แม้ว่าคณะรัฐมนตรีได้มีมติจัดตั้งกองทุนให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ข้ันพ้ืนฐานด้านสาธารณสุข เม่ือวันท่ี 23 มีนาคม

2553 ดงั กลา่ ว สง่ ผลทำ� ใหก้ ลมุ่ คนไทยทก่ี ำ� ลงั รอพสิ จู นส์ ญั ชาตแิ ละสถานะบคุ คล ไดร้ บั สทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐานดา้ นสาธารณสขุ
มีหลักประกันป้องกันไม่ให้ครอบครัวล้มละลายจากการรักษาพยาบาลก็ตาม แต่พบว่ากองทุนให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ข้ัน
พ้ืนฐานดา้ นสาธารณสุขตามมติ ครม.ดังกลา่ ว ยังมีความเหลอ่ื มล้ำ� และข้อจ�ำกัดท่ีเป็นความเสยี่ ง ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ความไมย่ งั่ ยนื ของกองทนุ เนอื่ งจากมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 23 มนี าคม 2553 เปน็ นโยบายฝา่ ยบรหิ าร
ไม่มีกฎหมายรองรับ จึงไม่ได้มีสถานะกองทุนตามกฎหมาย พร้อมท่ีจะยกเลิกกองทุนเม่ือไหร่ก็ได้ตามที่
ฝา่ ยบรหิ ารเห็นควร แต่ในระบบหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) มีกฎหมายรองรับ

2. งบประมาณทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากสำ� นกั งบประมาณ มาจากงบฉกุ เฉนิ สำ� รองจา่ ยของสำ� นกั งบประมาณ
ซึ่งแตกต่างจากงบประมาณท่ี สปสช. ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลทุกปี ท่ีด�ำเนินการภายใต้พระราช
บัญญัตหิ ลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 รองรับการจัดตัง้ งบประมาณ

3. ชดุ สทิ ธปิ ระโยชนท์ ไ่ี มเ่ ทา่ เทยี มระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตวั อยา่ งเชน่ ไมส่ ามารถตง้ั กองทนุ ยอ่ ย
รองรับการเจ็บป่วยจากโรคร้ายแรง อาทิ กองทุนโรคไต โรคหัวใจ โรคเอดส์ โรคมะเร็ง ท้ังนี้กองทุนมี

30

ขนาดเลก็ ไมส่ ามารถจดั ตงั้ งบประมาณเฉลยี่ ความ สถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา 2542
เสย่ี ง เพือ่ ดำ� เนนิ การจัดตั้งกองทนุ ดงั กล่าว มาตรา 4 เช่น ศูนย์การเรียนขององค์กรพัฒนา
4. กลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิในกองทุนให้สิทธิ เอกชนท่ีได้รับการจดทะเบียน ตาม พ.ร.บ.การ
(คืนสิทธิ) ไม่ได้รับการคุ้มครองสิทธิตาม พ.ร.บ. ศึกษา หรือเด็กที่เกิดจากบิดามารดาหลบหนีเข้า
หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 41 เมอื งทง้ั หมด
5. ปญั หาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การกองทนุ ของ 2. รฐั ควรใหบ้ คุ คลทเ่ี ปน็ กลมุ่ คนไทยทก่ี ำ� ลงั รอพสิ จู น์
สำ� นกั ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ เชน่ ระบบบรหิ าร สถานะบคุ คลและสญั ชาติ หรอื คนทม่ี สี ทิ ธอิ น่ื ทเ่ี คย
จดั การงบประมาณทไ่ี มส่ ามารถตรวจสอบไดว้ า่ ได้ ได้รับสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มีการด�ำเนินงานบริการทางการแพทย์อย่างไร (UC) ได้แก่ คนท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติให้สิทธิขั้น
เน่ืองจากพบว่าได้มีการตั้งกลุ่มเป้าหมายเป็นตัวช้ี พน้ื ฐานดา้ นสาธารณสขุ ตามมตคิ รม. เมอื่ วนั ที่ 23
วัดการด�ำเนินงาน และไม่มีระบบการติดตาม มนี าคม พ.ศ. 2553 มสี ทิ ธไิ ดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ
ประเมนิ ผลการเขา้ ถงึ สทิ ธิ ปญั หาระบบขอ้ มลู ของ ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การเบกิ จา่ ยงบประมาณที่ย่งุ ยาก เปน็ ต้น พ.ศ.2545 เป็นการเฉพาะ โดยการเพิ่มเติมใน
บทบญั ญตั วิ รรคสดุ ทา้ ยของมาตรา 5 พ.ร.บ.หลกั
แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาเพอ่ื ขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ใิ นระบบ ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545
หลักประกนั สขุ ภาพ 3. ประเทศไทยควรจะต้องปฏิรูประบบหลักประกัน
สุขภาพในประเทศไทย ด้วยการรวมระบบหลัก
รัฐบาลไทยในฐานะภาคีอนุสัญญา ยังมีปัญหาและ ประกันสุขภาพทุกระบบให้เป็นระบบเดียวภายใต้
ข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินการขจัดการเลือกปฏิบัติทางด้านระบบ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยให้
หลักประกันสุขภาพระหว่างกลุ่มคนต่างๆ โดยเฉพาะระหว่าง ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นผู้
กลุ่มคนมีสัญชาติไทยและกลุ่มคนไร้สัญชาติ พบว่าระบบหลัก รับผิดชอบบูรณาการการบริหารกองทุนประกัน
ประกันสุขภาพยังมีความเหล่ือมล้�ำและไม่เท่าเทียม และ สุขภาพหลักให้เป็นเอกภาพ และด�ำเนินการแยก
เกิดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติและกีดกันที่ชัดเจนท้ังในทาง ภารกิจการจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ
นโยบายและในทางปฏิบัติยังคงพบอยู่เสมอ และเพื่อให้สิทธิ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ลดความเหล่ือมล�้ำ และ
ความเท่าเทียมและขจัดการเลือกปฏิบัติทางเช้ือชาติอย่าง มธี รรมาภิบาล
แท้จริงภายใต้ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(Universal Coverage-UC) จึงมีข้อเสนอแนะทิศทางหรือ 31
แนวทางการแกไ้ ขปญั หา ดังต่อไปน้ี

1. ให้รัฐบาลไทยอนุมัติให้สิทธิขั้นพื้นฐานด้าน
สาธารณสุขตามที่ก�ำหนดไว้ในระบบหลักประกัน
สขุ ภาพแหง่ ชาติ ซงึ่ ครอบคลมุ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูและการควบคุม
ป้องกันโรคกับเด็กนักเรียนไร้สัญชาติที่ก�ำลังเรียน
อยู่ในสถานศึกษาทั้งหมดและเด็กนักเรียนใน

เสยี งชนเผา่
เสยี งท่เี ราอยากให้คณุ ไดย้ นิ


Click to View FlipBook Version