คำนำ
ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณโรงเรียนวัดกาโหใ่ ต้ ฉบบั น้จี ดั ทำขนึ้ เพื่อเสริมสรา้ งความเข้าใจ
แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ในการปฏิบัติหน้าที่การให้บริการและการจัดการศึกษาแก่นักเรียนประชาชนและ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย คู่มือฉบับนี้จัดทำให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนตามแนวการกระจายอำนาจสู่
สถานศึกษาของ สพฐ. กลุ่มบริหารงานงบประมาณวิชาการได้จัดกรอบงานให้ครอบคลุมกับภาระงาน (พันธกิจ
ท่ีปฏบิ ัตอิ ย่เู ดมิ และเพ่ิมเติมใหส้ อดคล้องกับสภาพของโรงเรียน ในการจัดการศึกษา และใหบ้ รกิ ารทางการศึกษา ตาม
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาและระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยม่งุ หวงั ว่า ภาระงานท่ี
ปฏิบัตจิ ะบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ เป้าหมายและวิสัยทศั น์ท่ีกำหนดไวท้ ุกประการ ตลอดจนผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมคี วามพึง
พอใจตอ่ การปฏบิ ัติงานของกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ
การบริหารงบประมาณ
การบรหิ ารและการจดั การศึกษาของโรงเรียนนิตบิ ุคคล มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อให้โรงเรยี นจดั การศึกษาอย่างเป็น
อสิ ระ คลอ่ งตวั สามารถบรหิ ารการจัดการศึกษาไดส้ ะดวด รวดเร็ว มปี ระสทิ ธภิ าพแ3ละมคี วามรับผิดชอบ
โรงเรยี นนิติบคุ คล นอกจากมีอำนาจหนา้ ทตี่ ามวตั ถุประสงค์ข้างตน้ แล้ว ยังมอี ำนาจหนา้ ท่ตี ามทกี่ ฏระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของโรงเรียนขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล
สงั กดั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ 2546 ลงวันที่ 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546
กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จึงกำหนดให้
โรงเรยี นนิติบุคคลมีอำนาจหนา้ ที่ ดงั น้ี
1. ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรยี นเป็นผแู้ ทนนิตบิ ุคคลในกจิ การท่วั ไปของโรงเรยี นทเ่ี ก่ยี วกบั บคุ คลภายนอก
2. ให้โรงเรยี นมอี ำนาจปกครอง ดูแล บำรุง รักษา ใช้และจัดหาผลประโยชนจ์ ากทรัพย์สินท่มี ผี บู้ ริจาคให้
เวน้ แต่การจำหนา้ ยอสังหาริมทรัพย์ที่มีผบู้ รจิ าคใหโ้ รงเรยี น ตอ้ งไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของโรงเรียน
3. ให้โรงเรียนจดทะเบียนลิขสิทธ์ิหรือดำเนินการทางทะเบยี นทรัพย์สินต่างๆ ท่มี ีผู้อทุ ิศให้หรือโครงการซ้ือ
แลกเปล่ยี นจากรายไดข้ องสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ กรรมสิทธ์ิของสถานศึกษา
4. กรณีโรงเรยี นดำเนนิ คณดีเป็นผู้ฟ้องร้องหรือถูกฟ้องร้อง ผู้บริหารจะต้องดำเนินคดแี ทนสถานศึกษาหรือ
ถกู ฟอ้ งรว่ มกับสถานศึกษา ถ้าถูกฟ้องโดยมิไดด้อย่ใู นการปฏิบัตริ าชการ ในกรอบอำนาจ ผบู้ ริหารต้อง
รับผิดชอบเป็นการเฉพาะตัว
5. โรงเรียนจัดทำงบดลุ ประจำปีและรายงานสาธารณะทกุ ส้นิ ปงี บประมาณ
งบประมาณท่ีสถานศึกษานำมาใช้จ่าย
1. แนวคดิ
การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคล่องตัว
โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดหลักการบริหารมุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงาน ให้มกี ารจัดหา
ผลประโยชน์จากทรัพย์สิทของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการมาใช้บริหารจัดการเพื่อประโยชน์ทาง
การศกึ ษา สง่ ผลใหเ้ กดิ คุณภาพที่ดขี ึน้ ต่อผเู้ รียน
2. วัตถุประสงค์
เพอื่ ให้สถานศึกษาบรหิ ารงานดา้ นงบประมาณมคี วามเปน็ อิสระ คล่องตวั โปร่งใสตรวจสอบได้
2.1 เพอื่ ให้ได้ผลผลติ ผลลัพธ์เปน็ ไปตามข้อตกลงการให้บริการ
2.2 เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรท่ีได้อย่างเพยี งพอและประสิทธิภาพ
3. ขอบข่ายภารกจิ
3.1 กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง
1. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เติม(ฉบบั ที่ 2)
2. พระราชบัญญัติบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
3. ระเบยี บวา่ ดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545
4. หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
5. แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวง กำหนด
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550
รายจ่ายตามงบประมาณ
จำแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะ
1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
- งบบุคลากร
- งบดำเนินงาน
- งบลงทุน
- งบเงนิ อดุ หนนุ
- งบรา่ ยจา่ ยอื่น
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายใน
ลักษณะเงนิ เดือน คา่ จ้างประจำ คา่ จ้างชวั่ คราว และคา่ ตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงราจจ่ายทีก่ ำหนดให้จ่าย
จากงบรายจ่ายอื่นใดในลกั ษณะราจจ่ายดังกลา่
งบดำเนนิ งาน หมายถงึ รายจา่ ยท่ีกำหนดใหจ้ า่ ยเพือ่ การบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายท่จี ่ายใน
ลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงราจ่ายท่ีกำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใด
ในลกั ษณะรายจ่ายดังกล่าว
งบลงทนุ หมายถงึ รายจา่ ยที่กำหนดใหจ้ า่ ยเพ่ือการลงทนุ ได้แก่ รายจ่ายท่ีจ่ายในลกั ษณะค่าครภุ ัณฑ์ ค่า
ท่ีดินและสง่ิ กอ่ สรา้ ง รวมถงึ รายจา่ ยที่กำหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอนื่ ใดในลกั ษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว
งบดำเนินงาน หมายถงึ รายจ่ายทีก่ ำหนดใหจ้ ่ายเพอ่ื การบริหารงานประจำ ไดแ้ ก่ รายจา่ ยที่จ่ายใน
ลักษณะคา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ และคา่ สาธารณปู โภค รวมถึงรายจา่ ยท่ีกำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใด
ในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่า
ทีด่ นิ และส่ิงกอ่ นสร้าง รวมถึงรายจ่ายทก่ี ำหนดใหจ้ า่ ยจากงบรายจา่ ยอื่นใดในลกั ษณะรายจ่ายดังกลา่ ว
งบเงินอุดหนนุ หมายถึง รายจ่ายท่ีกำหนดให้จ่ายเป็นคา่ บำรงุ หรอื เพอ่ื ชว่ ยเหลอื สนบั สนุนงานของหนว่ ยงาน
อิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมิใช่ส่วนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
หน่วยงานในกำกับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงเงินอุดหนุน งบ
พระมหากษตั ริย์ เงินอดุ หนุนศาสนา
งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายท่ี
สำนักงานงบประมาณกำหนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจ่ายนี้ เชน่ เงินราชการลับ เงินคา่ ปรับ ที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้
รบั จา้ ง ฯลฯ
อัตราเงนิ อุดหนุนรายหัวนักเรียนตอ่ ปีการศึกษา
ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 1,700 บาท
ระดบั ประถมศึกษา 1,900 บาท
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 3,500 บาท
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท
การจดั สรรเงินอุดหนนุ รายหวั นกั เรียน แบ่งการใชต้ ามสดั ส่วน ด้านวชิ าการ : ด้านบรหิ ารท่วั ไป : สำรอง
จา่ ยทง้ั 2 ดา้ นคอื
1. ดา้ นวชิ าการ ใหส้ ัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำไปใชไ้ ด้ในเรอื่ ง
1.1 จดั หาวสั ดุและครุภณั ฑ์ท่ีจำเป็นตอ่ การเรยี นการสอน
1.2 ซอ่ มแซมวัสดุอุปกรณ์
1.3 การพฒั นาบุคลาการด้านการสอน เชน่ สง่ ครเู ข้าอบรมสมั มนา ค่าจ้างชว่ั คราวของครูปฏิบตั ิการ
สอน ค่าสอนพเิ ศษ
2. ด้านบริหารทัว่ ไป ให้สัดสว่ นไมเ่ กินรอ้ ยละ 30 นำไปใชไ้ ด้ในเรอ่ื ง
2.1 คา่ วัสดุ ครุภณั ฑ์และคา่ ทีด่ นิ สงิ่ กอ่ สรา้ ง คา่ จ้างช่วั คราวที่ไมใ่ ช่ปฏิบตั ิการสอนค่าตอบแทน ค่าใช้
สอย
2.2 สำรองจา่ ยนอกเหนือดา้ นวิชาการและด้านบรหิ ารท่วั ไป ให้สัดสว่ นไมเ่ กนิ ร้อยละ 20 นำไปใช้ใน
เรอื่ งงานตามนโยบาย
เงินอุดหนนุ ปจั จยั พ้นื ฐานสำหรับนกั เรียนยากจน
1. เปน็ เงนิ ท่ีจดั สรรให้แกส่ ถานศึกษาที่มนี ักเรียนยากจน เพื่อจัดหาปัจจยั พ้นื ฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวติ และ
เพมิ่ โอกาศทางการศึกษา เป็นการชว่ ยเหลอื นักเรียนนทยี่ ากจน ช้ันป.1 ถึง ม.3 ให้มโี อกาสได้รบั การศกึ า
ในระดับทีส่ ูงขนึ้ (ยกเว้นสถานศึกษาสังกดั สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ)
2. นักเรียนยากจน หมายถึง นักเรียนท่ีผปู้ กครองมีรายได้ตอ่ ครวั เรือน ไมเ่ กิน 40,000 บาท
3. แนวการใช้
ใหใ้ ช้ในลกั ษณะ ถัวจา่ ย ในรายการต่อไปน้ี
3.1 ค่าหนงั สอื และอุปกรณ์การเรียน(ยมื ใช้)
3.2 คา่ เสอ้ื ผา้ และวัสดเุ คร่ืองแตง่ กายนกั เรยี น(แจกจ่าย)
3.3 ค่าอาหารกลางวัน (วตั ถุดิบ จา้ งเหมา เงนิ สด)
3.4 คา่ พาหนะในการเดินทาง (เงินสด จา้ งเหมา)
3.5 กรณจี ่ายเป็นเงนิ สด โรงเรียนแตง่ ตัง้ กรรมการ 3 คน ร่วมกันจา่ ยเงนิ โดยใชใ้ บสำคัญรับเงินเป็น
หลกั ฐาน
3.6 ระดบั ประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ปี
3.7 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น คนละ 3,000 บาท/ปี
1.1รายจ่ายงบกลาง
1. เงนิ สวัสดกิ ารคา่ รกั ษาพยาบาล/การศึกษาบตุ ร/เงินชว่ ยเหลือบุตร
2. เงินเบ้ยี หวัดบำเหน็จบำนาญ
3. เงนิ สำรอง เงินสมทบ และเงินชดเชยข้าราชการ
4. เงินสมทบของลกู จ้างประจำ
2. รายจา่ ยงบกลาง หมายถงึ รายจ่ายท่ีตัง้ ไว้เพอ่ื จดั สรรให้ส่วนราชการและรัฐวสิ าหกิจโดยทั่วไปใชจ้ า่ ย
ตามรายการดังตอ่ ไปนี้
1. “เงินเบีย้ หวัดบำเหนจ็ บำนาญ” หมายความวา่ รายจ่ายที่ตง้ั ไวเ้ พื่อจ่ายเป็นเงนิ บำนาญ
ข้าราชการ เงินบำเหน็จลูกจ้างประจำ เงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง เงินทดแทนข้าราชการวิสามัญ เงินค่ า
ทดแทนสำหรับผไู้ ด้รบั อนั ตรายในการรกั ษาความมั่นคงของประเทศ
เงนิ ชว่ ยพเิ ศษข้าราชการบำนาญเสียชีวติ เงนิ สงเคราะหผ์ ้ปู ระสบภัยเนอ่ื งจากการชว่ ยเหลือ
ข้าราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม และเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัด
บำนาญ
2. “เงนิ ชว่ ยเหลอื ขา้ ราชการ ลกู จา้ ง และพนักงานของรฐั ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตงั้ ไวเ้ พื่อ
จ่ายเป็นเงินสวัสดิการช่วยเหลือในด้านต่างๆ ให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ ได้แก่ เงินช่วยเหลือ
การศกึ ษาของบตุ ร เงนิ ชว่ ยเหลอื บตุ ร และเงินพิเศษในการณตี ายในระหวา่ งรบั ราชการ
3. “เงินเล่ือนขนั้ เล่อื นอนั ดบั เงินเดือนและเงนิ ปรบั วฒุ ิขา้ ราชการ หมายความวา่ รายจา่ ยทีต่ ั้งไว้
เพอ่ื จ่ายเปน็ เงินเล่อื นขัน้ เลอื่ นอันดับเงนิ เดือนขา้ ราชการประจำปี เงนิ เลื่อนข้นั เล่อื นอนั ดบั เงนเดือนข้าราชการที่ได้รับ
เลอ่ื นระดบั และหรือแต่งตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งระหวา่ งปีและเงินปรบั วุฒขิ ้าราชการ
4. “เงินสำรอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของขา้ ราชการ” หมายความวา่ รายจ่ายที่ตั้งไวเ้ พ่ือ
จา่ ยเป็นเงินสำรอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยทรี่ ัฐบาลนำสง่ เข้ากองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา้ ราชการ
5. “เงนิ สมทบของลกู จ้างประจำ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีต้งั ไวเ้ พ่อื จ่ายเปน็ เงนิ สมทบท่ี
รัฐบาลนำสง่ เขา้ กองทุนสำรอง เลีย้ งชีพลกู จ้างประจำ
6. “คา่ ใช้จา่ ยเก่ยี วกับการเสดจ็ พระราชดำเนและตอ้ นรบั ประมุขตา่ งประเทศ หมายความว่า
รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดำเนินภายในประเทศ และหรือ
ต่างประเทศ และค่าใชจ้ ่ายในการต้อนรบั ประมุขตา่ งประเทศทมี่ ายาเยือนประเทศไทย
7. “เงนิ สำรองจ่ายเพือ่ กรณีฉกุ เฉนิ หรือจำเปน็ ” หมายความวา่ รายจา่ ยทตี่ ง้ั สำรองไว้เพอ่ื
จดั สรรเปน็ คา่ ใช้จ่ายในกรณีฉุกเฉนิ หรือจำเป็น
8. “ค่าใชจ้ ่ายในการดำเนินการรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายทีต่ ้งั ไว้
เพือ่ เปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการดำเนินงานรักษาความม่ันคงของประเทศ
9. “เงนิ ราชการลบั ในการรักษาความมนั่ คงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตง้ั ไว้เพอ่ื
เบิกจา่ ยเป็นเงนิ ราชการลับในการดำเนินงานเพอื่ รักษาความมัน่ คงของประเทศ
10.“ค่าใชจ้ า่ ยตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำร”ิ หมายความว่า รายจ่ายทตี่ ั้งไวเ้ พอ่ื
เปน็ คา่ ใช้จ่าในการดำเนนิ งานตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ
11.“คา่ ใชจ้ ่ายในการรำษาพยาบาลข้าราชการ ลกู จ้าง และพนกั งานของรฐั ” หมายความวา่
รายจา่ ยท่ีตั้งไวเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในการช่วยเหลอื ค่ารกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานของรัฐ
เงนิ นอกงบประมาณ
1. เงินรายไดส้ ถานศึกษา
2. เงินภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย
3. เงินลกู เสอื เนตรนารี
4. เงินยุวกาชาด
5. เงนิ ประกันสัญญา
6. เงนิ บรจิ าคทม่ี วี ตั ถปุ ระสงค์
เงนิ รายได้สถานศกึ ษา หมายถงึ เงินรายได้ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.
2542 ซ่ึงเกดิ จาก
1. ผลประโยชนจ์ ากทรพั ย์สนิ ทีเ่ ป็นราชพัสดุ
2. ค่าบรกิ ารและคา่ ธรรมเนยี ม ที่ไม่ขดั หรอื แย้งนโยบาย วตั ถุประสงค์และภารกิจหลกั ของสถานศึกษา
3. เบย้ี ปรับจากการผดิ สญั ญาลาศกึ ษาตอ่ และเบยี้ ปรบั การผิดสญั ญาซือ้ ทรัพยสินหรือจ้างทำของจากเงิน
งบประมาณ
4. คา่ ขายแบบรปู รายการ เงนิ อุดหนนุ อปท. รวมเงินอาหารกลางวัน
5. ค่าขายทรัพยส์ นิ ที่ได้มาจากเงินงบประมาณ
งานพสั ดุ
“การพัสด”ุ หมายความวา่ การจดั ทำเอง การซ้ือ การจ้าง การจา้ งท่ีปรึกษา การจา้ งออกแบบและ
ควบคมุ งาน การแลกเปล่ยี น การเช่า การควบคุม การจำหนา่ ย และการดำเนนิ การอื่นๆ ทก่ี ำหนดไว้ในระเบยี บนี้
“พสั ดุ” หมายความว่า วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ ท่ดี นิ และสิง่ ก่อสร้าง ท่กี ำหนดไว้ในหนังสือ การจำแนกประเภท
รายจา่ ยตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจา่ ย ตามสัญญาเงินกจู้ ากตา่ งประเทศ
“การซือ้ ” หมายความว่า การซ้อื พสั ุทกุ ชนิดทัง้ ท่ีมีการตดิ ตง้ั ทดลอง และบริการทีเ่ ก่ียวเนอ่ื งอน่ื ๆ แต่ไม่
รวมถึงการจัดหาพสั ดใุ นลักษณะการจา้ ง
“การจ้าง” ใหห้ มายความรวมถงึ การจ้างทำของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ และ
การจา้ งเหมาบริการ แตไ่ มร่ วมถงึ การจ้างลูกจา้ งของส่วนราชการตามระเบียบของกระทรวงการคลัง การบั ขนในการ
เดนิ ทางไปราชการตามกฎหมายว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ การจา้ งทีป่ รึกษ การจา้ งออกแบบและ
ควบคมุ งาน และการจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
ขอบข่ายภารกจิ
1. กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
2. ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม
3. ระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดุด้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
4. แนวทางการปฏิบัตติ ามระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการพัสดุด้วยวิธกี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ.
2549
หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบ
1. จัดวางระบบและปฏบิ ัติงานเกี่ยวกบั จัดหา การซ้อื การจ้าง การเกบ็ รกั ษา และการเบิกพัสดุ การควบคุม
และการจำหน่ายพสั ดใุ หเ้ ป็นไปตามระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง
2. ควบคมุ การเบิกจ่ายเงนิ ตามประเภทเงนิ ใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏิบตั ิราชการรายปี
3. จัดทำทะเบียนทด่ี ินและส่ิงก่อสร้างทกุ ประเภทของสถานศกึ ษา
4. ประสานงานและวางแผนในการใช้พ้ืนทข่ี องสถานศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนพฒั นาการศึกษา
5. กำหนดหลักเกณฑว์ ิธกี ารและดำเนินการเกยี่ วกับการจัดหาประโยชน์ทรี่ าชพสั ดกุ ารใชแ้ ละการขอใช้อาคาร
สถานที่ของสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายและระเบียบท่เี ก่ียวข้องควบคุมดู ปรับปรุง ซ่อมแซม
บำรุงรักษาครภุ ัณฑ์ ให้อยู่ในสภาพเรียบรอ้ ยต่อการใช้งานและพฒั นาอาคารสถานท่ี การอนุรักษ์พลงั งาน
การรักษาสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณปู โภคของสถานศึกษาให้เปน็ ระเบยี บและสวยงาม
6. จดั เวรยามดูแลอาคารสถานท่ีของสถานศกึ ษาใหป้ ลอดภยั จากโจรภัย อัคคภี ยั และภยั อ่นื ๆ
7. จัดวางระบบและควบคุมการใช้ยานพาหนะ การเบิกจ่ายน้ำมันเชอ้ื เพลงิ การบำรงุ รักษาและการพสั ดุต่างๆ
ท่เี กยี่ วกับยานพาหนะของสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทเี่ กีย่ วข้อง
8. ให้คำแนะนำ ชแ้ี จง และอำนวยความสะดวกแกบ่ ุคลากรในสถานศึกษาเกยี่ วกับงานในหนา้ ที่
9. เก็บรกั ษาเอกสารและหลกั ฐานต่างๆ ไว้เพื่อการตรวจสอบและดำเนนิ การทำลายเอกสารตามระเบยี บท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
10.ประสานงานและให้ความร่วมมือกบั หน่วยงานตา่ งๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
11.เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัตงิ านในหนา้ ทตี่ ามลำดับข้ัน
12.ปฏิบตั ิอืน่ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย
สวัสดกิ ารและสทิ ธปิ ระโยชน์
1. คา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ
1.1กฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วข้อง
1.2พระราชกฤษฎกี าค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม
1.3ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550
2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
การอนมุ ัตเิ ดนิ ทางไปราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ อนุมตั ิระยะเวลาในการเดนิ ทาง
ล่วงหนา้ หรือระยะเวลาหลังเสรจ็ ส้นิ การปฏบิ ัตริ าชการได้ตามความจำเปน็
3. การนับเวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คำนวณเบี้ยเลี้ยง กรณีพักค้าง
3.1ใหน้ ับ 24 ช่วั โมงเปน็ 1 วนั
3.2ถ้าไม่ถึง 24 ชั่วโมงหรือเกิน 24 ชวั่ โมง และสว่ นทีไ่ มถ่ ึงหรอื เกิน 24 ช่วั โมง นบั ไดเ้ กนิ 12
ชวั่ โมง ใหถ้ อื เปน็ 1 วัน
4. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพื่อคำนวณเบ้ียเลยี้ งเดินทาง กรณไี ม่พักคา้ ง
4.1หากนบั ได้ไม่ถึง 24 ชว่ั โมงและสว่ นที่ไม่ถึงนับได้เกิน 12 ชั่วโมง ใหถ้ อื เปน็ 1วนั
4.2หากนับได้ไม่เกิน 12 ชั่วโมง แตเ่ กิน 6 ช่วั โมงขึน้ ไป ให้ถอื เปน็ คร่ึงวัน
5. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คำนวณเบย้ี เลย้ี งเดินทาง
6. กรณีลากิจหรือลาพักผ่อนกอ่ นปฏิบัติราชการ ใหน้ ับเวลาต้งั แต่เริ่มปฏิบัตริ าชการเปน็ ต้นไป
7. กรณลี ากจิ หรือลาพักผอ่ นหลังเสรจ็ สิน้ การปฏบิ ตั ริ าชการ ใหถ้ ือวา่ สทิ ธิในการเบิกจา่ ยเบ้ียเลีย้ งเดินทางสนิ้ สดุ
ลงเมือ่ สน้ิ สดุ เวลาการปฏบิ ัตริ าชการ
8. หลักเกณฑ์การเบิกคา่ เช่าท่ีพักในประเทศ
การเบิกคา่ พาหนะ
1. โดยปกตใิ หใ้ ชย้ านพาหนะประจำทางและให้เบิกค่าพาหนะโดยประหยดั
2. กรณีไมม่ ยี านพาหนะประจำทาง หรือมแี ตต่ ้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชนแ์ ก่ทางราชการ ให้
ใชย้ านพาหนะอน่ื ได้ แต่ตอ้ งช้ีแจงเหตุผลและความจำเป็นไวใ้ นหลักฐานขอเบิกค่าพาหนะน้นั
3. ข้าราชการระดับ 6 ขึ้นไป เบิกค่าพาหนะรบั จ้างได้ ในกรณีตอ่ ไปน้ี
3.1การเดินทางไป-กลับ ระหว่างสถานทีอ่ ยู่ ท่ีพกั หรอื สถานที่ปฏบิ ตั ิราชการกบั สถานี
ยานพาหนะประจำทาง หรือสถานที่จดั พาหนะที่ใชเ้ ดินทางภายในเขตจงั หวัดเดยี วกัน
3.2การเดนิ ทางไป-กลับ ระหวา่ งสถานทอ่ี ยู่ ที่พกั กับสถานท่ีปฏบิ ัติราชการภายในเขตจงั หวัด
เดียวกัน วันละไมเ่ กนิ 2 เท่ียว
3.3การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีเป็นการเดนิ ทางขา้ มเขตจังหวัด ให้เบิก
ตามอตั ราท่ีกระทรวงการคลังกำหนด คอื ให้เบิกตามที่จ่ายจริง ดังนี้ ระหวา่ งกรุงเทพมหานครกบั เขต
จังหวดั ตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานคร ไม่เกนิ เทีย่ วละ่ 400 บาท เดินทางขา้ มเขตจังหวดั อ่ืนนอกเหนือกรณี
ดงั กล่าวขา้ งตน้ ไมเ่ กินเท่ียวละ 300 บาท
3.4ผไู้ ม่มสี ิทธเิ บิก ถ้าตอ้ งนำสัมภาระในการเดนิ ทาง หรอื สิ่งของเครอื่ งใชข้ องทางราชการไปด้วย
และเป็นเหตุให้ไมส่ ะดวกที่จะเดนิ ทางโดยยานพาหนะประจำทาง ให้เบิกคา่ พาหนะรับจ้างได(้ โดยแสดง
เหตุผลและความจำเป็นไว้ในรายงานเดนิ ทาง)
3.5การเดนิ ทางลว่ งหนา้ หรือไม่สามารถกลับเมื่อเสรจ็ สน้ิ การปฏบิ ตั ิราชการเพราะมีเหตสุ ว่ นตวั
(ลากิจ - ลาพกั ผ่อนไว)้ ใหเ้ บิกคา่ พาหนะเทา่ ท่จี า่ ยจรงิ ตามเส้นทางท่ีได้รับคำส่งั ให้เดนิ ทางไปราชการ
กรณีมีการเดินทางนอกเส้นทางในระหว่างการลานนั้ ใหเ้ บกิ คา่ พาหนะได้เท่าท่จี า่ ยจรงิ โดยไมเ่ กินอตั ราตาม
เส้นทางทีไ่ ดร้ บั คำส่ังใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ
3.6การใชย้ านพาหนะส่วนตวั (ให้ขออนุญาตและได้รบั อนญุ าตแล้ว) ใหไ้ ด้รับเงนิ ชดเชย คือ
รถยนตก์ ิโลเมตรละ 4 บาท
คา่ ใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม
การฝึกอบรม หมายถงึ การอบรม ประชุม/สมั มนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกงาน ดู
งาน การฝกึ อบรม ประกอบดว้ ย
1. หลักการและเหตผุ ล
2. โครงการ/หลกั สูตร
3. ระยะเวลาจัดที่แนน่ อน
4. เพ่อื พัฒนาหรือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน
คา่ รักษาพยาบาล
ค่ารกั ษาพยาบาล หมายถงึ เงินทีส่ ถานพยาบาลเรยี กเกบ็ ในการรกั ษาพยาบาลเพ่ือให้รา่ งกายกลบั สสู่ ภาวะ
ปกติ (ไม่ใชเ่ ป็นการป้องกันหรือเพื่อความสวยงาม)
1. ระเบยี บและกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง
1.1พระราชกฤษฎกี าเงนิ สวัสดิการเก่ยี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแก้ไขเพิ่มเตมิ ( 8 ฉบับ)
1.2ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดิการเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545
2. ผทู้ ี่มีสิทธิรับเงนิ คา่ รักษาพยาบาล คอื ผูม้ ีสทิ ธและบคุ คลในครอบครวั
2.1บิดา
2.2มารดา
2.3คู่สมรสท่ชี อบดว้ ยกฎหมาย
2.4บุตรทชี่ อบด้วยกฎหมาย ซง่ึ ยังไมบ่ รรลุนติ ิภาวะ หรอื บรรลนุ ติ ภิ าวะแล้ว แตเ่ ป็นคนไร้ความสามารถ
หรือเสมอื นคนไร้ความสามารถ(ศาลสง่ั ) ไมร่ วมบุตรบญุ ธรรมหรอื บุตรซ่งึ ได้ยกเปน็ บุตรบญุ ธรรมบุคคล
อ่ืนแล้ว
3. ผูม้ ีสทิ ธิ หมายถึง ข้าราชการ ลกู จ้างประจำ ผุร้ บั เบี้ยหวดั บำนาญ และลูกจา้ งชาวต่างประเทศซ่ึงไดร้ ับ
ค่าจ้างจากเงินงบประมาณ
คา่ รักษาพยาบาบ แบ่งเป็น 2 ประเภท
ประเภทไข้นอก หมายถงึ เข้ารบั การรกั ษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไม่ไดน้ อนพกั
รกั ษาตัว นำใบเสร็จรบั เงินมาเบิกจ่าย ไม่เกนิ 1 ปี นบั จากวันทจ่ี ่ายเงิน
ประเภทไขใ้ น หมายถึง เขา้ รับการรักษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรอื สถานพยาบาลของทาง
ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใช้ใบเสรจ็ รับเงินนำมาเบกิ จ่ายเงิน พรอ้ มใหแ้ พทยร์ บั รอง “หากผปู้ ว่ ยมิได้เจ้ารับ
การรกั ษาพยาบาลในทันทีทันใด อาจเปน็ อนั ตรายถงึ ชวี ิต” และสถานพยาบาลทางราชการ ใช้หนังสือรบั รองสิทธิ
กรณียังไม่ไดเ้ บกิ จ่ายตรง
การศกึ ษาบตุ ร
ค่าการศึกษาของบุตร หมายความว่า เงินบำรุงการศกึ ษา หรอื เงนิ คา่ เล่าเรียน หรือเงินอ่นื ใดท่ีสถานศึกษา
เรียกเก็บและรฐั ออกให้เปน็ สวสั ดิการกบั ขา้ ราชการผู้มีสทิ ธิ
1. ระเบียบและกฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง
1.1 พระราชราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเกีย่ วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบกิ จา่ ยเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกบั การศกึ ษาของบุตร พ.ศ. 2547
1.3 หนงั สอื เวียนกรมบัญชีกลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2552 เรือ่ ง
ประเภทและอัตราเงนิ บำรุงการศกึ ษาในสถานศึกษาของทางราชการ และค่าเลา่ เรียนในสถานศึกษาของ
เอกชน และกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0422.3/ว 226 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2552 เรื่องการ
เบกิ งนิ สวสั ดิการเกย่ี วกับการศกึ ษา่ ของบตุ ร
2. ผ้ทู ่มี สี ิทธิรบั เงนิ คา่ การศึกษาของบุตร
2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายไุ ม่เกิน 25 ปบี ริบรู ณ์ ในวันท่ี 1 พฤษภาคมของทุกปี ไม่รวมบุตรบญุ
ธรรม หรือบตุ รซงึ่ ไดย้ กให้เป็นบตุ รบญุ ธรรมคนอื่นแล้ว
2.2 ใช้สิทธเิ บกิ ได้ 3 คน เวน้ แตบ่ ตุ รคนที่ 3 เป็นฝาแฝดสามารถนำมาเบิกได้ 4 คน
2.3 เบิกเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกับศึกษาบตุ รภายใน 1 ปี นบั ตั้งแตว่ นั เปิดภาคเรยี นของแตล่ ะภาค
จำนวนเงินทเ่ี บิกได้
1. ระดบั อนุบาลหรือเทียบเท่า เบกิ ได้ปลี ะไมเ่ กนิ 4,650 บาท
2. ระดบั ประถมศึกษาหรอื เทยี บเท่า เบิกไดป้ ีละไม่เกนิ 3,200 บาท
3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น/มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) หรอื
เทียบเท่า เบิกได้ปีละไม่เกนิ 3,900 บาท
4. ระดบั อนุปริญญาหรือเทียบเท่า เบิกไดป้ ีละไม่เกิน 11,000 บาท
ค่าเช่าบ้าน
1. ระเบียบและกฎหมายท่เี กยี่ วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎกี าค่าเชา่ ช้านข้าราชการ พ.ศ. 2550
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบิกจ่ายเงินคา่ เชา่ บา้ น พ.ศ. 2549
2. สทิ ธิการเบิกเงินคา่ เชา่ บ้าน
2.1 ได้รับคำสัง่ ใหเ้ ดนิ ทางไปประจำสำนกั งานใหม่ในตา่ งทอ้ งท่ี เวน้ แต่
2.1.1 ทางราชการได้จดั ที่พักอาศยั ใหอ้ ยูแ่ ล้ว
2.1.2 มเี คหสถานเป็นของตนเองหรือคูส่ มรส
2.1.3 ได้รับคำส่ังใหเ้ ดินทางไปประจำสำนักงานใหม่ในตา่ งทอ้ งทตี่ ามคำร้องขอของตนเอง
2.2 ข้าราชการผ้ไู ดร้ ับคำสง่ั ใหเ้ ดินทางไปประจำสำนกั งานในท้องท่ที ร่ี บั ราชการครัง้ แรกหรือท้องท่ีที่กลบั เขา้
รบั ราชการใหม่ ให้มสี ิทธไิ ด้รับเงนิ ค่าเช้าบ้าน (พระราชกฤษฎกี าเชา่ บา้ น 2550 (ฉบับที่ 2) มาตรา
7)
2.3 ข้าราชการมสี ทิ ธไิ ด้รับเงินคา่ เชา่ บา้ นตง้ั แต่วันที่เชา่ อยู่จริง แต่ไม่กอ่ นวนั ท่ีรายงานตัวเพ่ือเข้ารับหนา้ ท่ี
(พระราชกฤษฎีกาค่าเชา่ บ้าน 2547 มาตรา 14)
2.4 ข้าราชการซง่ึ มสี ิทธไิ ด้รับเงนิ ค่าเชา่ บา้ นได้เชา่ ซื้อหรือผอ่ นชำระเงินกเู้ พ่ือชำระราคาบา้ นที่ค้างชำระอยู่
ในทอ้ งที่ท่ีไปประจำสำนักงานใหม่ มสี ทิ ธนิ ำหลกั ฐานการชำระคา่ เช่าซื้อหรือค่าผอ่ นชำระเงนิ กู้ฯ มา
เบกิ ได้ (พระราชกฤษฎีกาคา่ เชา่ บา้ น 2547 มาตรา 17)
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
1. กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง
1.1 พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 3 ในพระราชบญั ญัติน้ี (สว่ นทเ่ี ก่ียวข้อง)
บำนาญ หมายความว่า เงนิ ทจี่ ่ายใหแ้ กส่ มาชกิ เปน็ รายเดือนเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง
บำเหนจ็ ตกทอด หมายความว่า เงนิ ทจี่ า่ ยใหแ้ ก่สมาชิก โดยจ่ายใหค้ ร้ังเดยี วเมื่อสมาชกิ ภาพ
ของสมาชิกสนิ้ สดุ ลง
บำเหนจ็ ตกทอด หมายความวา่ เงนิ ทจี่ ่ายให้แก่ทายาทโดยจ่ายให้ครง้ั เดียวในกรณีทสี่ มาชิก
หรือผู้รับบำนาญถงึ แก่ความตาย
1.2 พ.ร.บ.กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2542
2. ข้าราชการทุกประเภท (ยกเว้นราชการทางการเมือง) มสี ิทธิสมคั รเปน็ สมาชกิ กบข. ได้แก่ ขา้ ราชการครู
ขา้ ราชการใหม่ ไดแ้ ก่ ผูซ้ งึ่ เข้ารบั ราชการหรือโอนมาเป็นราชการตั้งแต่วนั ท่ี 27 มีนาคม 2540 เป็นตน้ จะตอ้ ง
เปน็ สมาชกิ กบข. และสะสมเงินเขา้ กองทุน สมาชกิ ท่ีจา่ ยสะสมเขา้ กองทุนในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงินเดือนเปน็
ประจำทุกเดือน รฐั บาลจะจา่ ยเงินสมทบให้กับสมาชกิ ในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงินเดือนเป็นประจำทุกเดอื น
เชน่ เดยี วกนั และจะนำเงินดังกลา่ วไปลงทุนหาผลประโยชน์เพื่อจา่ ยให้กับสมาชิกเมื่อกอกจากราชการ
ระเบียบสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารและสวสั ดิภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษาว่า
ด้วยการฌาปนกิจสงเคราะห์เพอ่ื นครูและบคุ ลากรทางการศึกษา(ช.พ.ค.)
ในระเบยี บน้ี ช.พ.ค. หมายความว่า การฌาปนกิจสงเคราะหช์ ่วยเพอ่ื นครูและบุคลากรทางการศึกษาการ
จัดตัง้ ช.พ.ค. มคี วามมุง่ หมายเพอ่ื เปน็ การกศุ ลและมีวตั ถุประสงค์ใหส้ มาชิกได้ทำการสงเคราะหซ์ ่ึงกนั และกันในการ
จัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค. ท่ีถึงแก่กรรมหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจา่ ยเงนิ คา่ จัดการศพและ
เงินสงเคราะห์ครอบครวั ให้เป็นไปตามทค่ี ณะกรรมการ ช.พ.ค. กำหนด
ครอบครวั ของสมาชิก ช.พ.ค หมายถงึ บุคคลตามลำดบั ดังนี้
1. คูส่ มรสท่ชี อบด้วยกฎหมาย บุตรทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย บตุ รบุญธรรม บุตรนอกสมรสที่บิดารับรองแล้ว
และบดิ ามารดาของสมาชิก ช.พ.ค.
2. ผอู้ ยใู่ นอุปการะอยา่ งบตุ รของสมาชกิ ช.พ.ค.
3. ผู้อปุ การะสมาชิก ช.พ.ค.
ผ้มู ีสทิ ธไิ ดร้ ับการสงเคราะห์ตามวรรคหนึ่งยังมีชีวิตอยู่ หรือมผี รู้ ับมรดกยังไมข่ าดสายแลว้ แต่กรณใี น
ลำดับหนึง่ ๆ บุคคลที่อยใู่ นลำดบั ถัดไปไม่มสี ทิ ธิได้รับเงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ระเบียบนี้
การสงเคราะห์ครอบครวั ของสมาชิก ช.พ.ค. สำหรบั บตุ รให้พจิ ารณาให้บุตรสมาชิก ช.พ.ค. ไดร้ บั
ความชว่ ยเหลือเป็นเงนิ ทุนสำหรบั การศกึ ษาเลา่ เรียนเป็นลำดบั แรก
สมาชกิ ช.พ.ค. ต้องระบุบคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ หรือหลายคน เปน็ ผมู้ ีสิทธิรบั เงนิ สงเคราะห์
สมาชิก ช.พ.ค. มีหน้าทด่ี ังต่อไปนี้
1. ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามระเบยี บนี้
2. ส่งเงินสงเคราะห์รายศพ เมื่อสมาชิก ช.พ.ค. อน่ื ถงึ แก่กรรมศพละหนึง่ บาทภายใตเ้ ง่อื นไขดงั ต่อไปนี้
3. สมาชกิ ช.พ.ค. ท่เี ปน็ ข้าราชการประจำ ขา้ ราชการบำนาญและผู้ท่ีมเี งินเดอื นหรือรายได้ รายเดือน ต้อง
ยินยอมให้เจ้าหนา้ ที่ผจู้ า่ ยเงินเดือนหรอื เงนิ บำนาญเปน็ ผหู้ ักเงินเพื่อชำระเงนิ สงเคราะหร์ ายศพ ณ ที่จา่ ย
ตามประกาศรายช่ือสมาชิก ช.พ.ค. ที่ถงึ แก่กรรม
คำจำกดั ความ
แผนการปฏิบัตงิ าน และแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ หมายถงึ แผนแสดงรายละเอียดการปฎิบัติงาน และ
แสดงรายละเอยี ดการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจา่ ยตามแผนการปฏิบตั งิ านของโรงเรยี นบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวทิ ยา”
ในรอบปงี บประมาณ
การใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะ
วทิ ยา” เพอ่ื ดำเนินตามแผนการปฏบิ ตั งิ านในรอบปี
การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยตามพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพัน ทั้งนี้ อาจ
ดำเนินการโดยใชก้ ารอนุมตั ิเงินประจำงวดหรอื โดยวิธีการอ่ืนใดตามทีส่ ำนักงบประมาณกำหนด
เป้าหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง ผลสัมฤทธ์ิที่การใช้จ่ายงบประมาณต้องการจะใหเ้ กิดตอ่ นักเรียน บุคลากร
โรงเรยี นบ้านห้วงปลาไหล “สงิ หะวิทยา”
แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา” ในรอบ
ปงี บประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายสำหรับ
โรงเรยี นบา้ นหว้ งปลาไหล “สงิ หะวทิ ยา” เพื่อดำเนินงานตามแผนการปฏิบตั ิงานในรอบปงี บประมาณ
โครงการ หมายถึง โครงการที่กำหนดขึ้นเพือ่ ใชจ้ า่ ยเงินเปน็ ไปตามในระหวา่ งปงี บประมาณ
งบรายจา่ ย หมายถงึ กลมุ่ วัตถุประสงค์ของรายจ่าย ทีก่ ำหนดใหจ้ ่ายตามหลกั การจำแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณ
จำแนกงบรายจ่ายตามหลักจำแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจา่ ย ดงั น้ี
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ
เงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบ
รายจ่ายอืน่ ในลักษณะดังกล่าว
งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ
คา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ ค่าสาธารณูปโภค
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน
และสงิ่ กอ่ สรา้ ง
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุง หรือเพื่อช่วยเหลือสนุบสนุนการดำเนินงาน
ของหนว่ ยงานองค์กรตามรฐั ธรรมนญู หรือหนว่ ยงานของรัฐซึ่งมใิ ช่ส่วนราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการแผน่ ดิน หน่วยงานในกำกบั ของรฐั องค์การมหาชน รัฐวสิ าหกิจ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน สภาตำบล
องค์การระหว่างประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบ
พระมหากษตั รยิ ์ เงนิ อุดหนนุ การศาสนา และรายจา่ ยท่สี ำนกั งบประมาณกำหนดให้จา่ ยในงบรายจ่ายน้ี
งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่
สำนกั งบประมาณกำหนดให้ใช้จา่ ยในงบรายจ่ายน้ี เชน่
(1) เงนิ ราชการลับ
(2) เงนิ คา่ ปรบั ที่จา่ ยคืนให้แกผ่ ้ขู ายหรอื ผู้รบั จา้ ง
(3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง
ครภุ ณั ฑท์ ด่ี นิ หรือสง่ิ ก่อสร้าง
(4) ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
(5) คา่ ใช้จ่ายสำหรับหน่วยงานองคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ (ส่วนราชการ)
(6) ค่าใช้จา่ ยเพ่อื ชำระหนี้เงนิ กู้
(7) ค่าใช้จ่ายสำหรับกองทนุ หรอื เงินทุนหมนุ เวยี น
หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ
กลุ่มการบรหิ ารงบประมาณ
ปฏบิ ตั หิ น้าทห่ี ัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงบประมาณ มหี นา้ ทดี่ ูแล กำกบั ตดิ ตาม กลัน่ กรอง อำนวยความสะดวก ให้
คำแนะนำปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในกลุ่มบริหารงบประมาณ ตามขอบข่ายและภารกิจการ
บริหารงบประมาณ ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กรการประสานงานและให้บริการสนับสนุน
ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงบประมาณต่างๆ ในโรงเรียนสามารถบริหารจัดการและดำเนนิ การตามบทบาทภารกิจ อำนาจ
หน้าที่ด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษาและ
ทรัพยากรท่ใี ชใ้ นการจัดการศึกษาแกเ่ จา้ หน้าท่ขี องแตล่ ะฝา่ ยงานเพื่อให้ฝ่ายงานบริหารจัดการได้อยา่ งสะดวกคล่องตัว
มคี ุณภาพและเกิดประสิทธิผล
ขอบข่ายกล่มุ การบริหารงบประมาณ มีดังนี้
1. การจดั ทำแผนงบประมาณและคำขอตง้ั งบประมาณเพื่อเสนอต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
หน้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) จัดทำข้อมูลสารสนเทศทางการเงินของสถานศึกษา ได้แก่ แผนชั้นเรียน ข้อมูลครูนักเรียน และ
สง่ิ อำนวยความสะดวกของสถานศึกษา โดยความรว่ มมอื ของสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
2) จัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า และแผนงบประมาณ
3) เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อใช้เป็นคำ
ขอตง้ั งบประมาณตอ่ สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
2. การจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารใชจ้ า่ ยเงนิ ตามท่ไี ดร้ บั จัดสรรงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานโดยตรง
หนา้ ที่รบั ผดิ ชอบปฏิบตั ิงานและผ้รู ับผิดชอบโครงการฯ ดงั นี้
1) จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณภายใต้ความรว่ มมือของสำนักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา
2) ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน
3. การอนุมตั กิ ารใชจ้ า่ ยงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร
หนา้ ทีร่ ับผิดชอบเสนอโครงการดังนี้
- ผู้อำนวยการสถานศึกษาอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณตามงาน/โครงการที่กำหนดไว้ในแผนปฏบิ ตั ิ
การประจำปี และแผนการใช้จ่ายเงินภายใตค้ วามรว่ มมอื ของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
4. การขอโอนและการขอเปลีย่ นแปลงงบประมาณ
หนา้ ท่รี บั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณที่จำเป็นต้องขอโอนหรือเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับ
สถานศึกษาประเภทที่ 1 เสนอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วเสนอ ขอโอนหรือ
เปลย่ี นแปลงรายการงบประมาณตอ่ สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา เพอื่ ดำเนนิ การตอ่ ไป
5. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) รายงานผลการดำเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี ไปยังสำนักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษา
6. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชง้ บประมาณ
หน้าทรี่ ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) จดั การใหม้ ีการตรวจสอบและตดิ ตามให้ กลุม่ ฝ่ายงาน ในสถานศกึ ษา รายงานผลการปฏิบัตงิ าน
และผลการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแบบที่สำนัก
งบประมาณกำหนด และจัดส่งไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาที่สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษากำหนด
2) จัดทำรายงานประจำปีที่แสดงถึงความสำเร็จในการปฏิบัติงาน และจัดส่งให้สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาภายในระยะเวลาทสี่ ำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษากำหนด
7. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ
หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) ประเมินคณุ ภาพการปฏิบตั ิงานตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
2) วางแผนประเมินประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
3) วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรของ
หน่วยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพ่อื การศกึ ษา
หนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี
1) วางแผน รณรงค์ ส่งเสริมการระดมทุนการศึกษาและทุนเพ่ือการพัฒนาการศึกษาให้ดำเนินงาน
ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล คุม้ คา่ และมคี วามโปรง่ ใส
2) จัดทำข้อมูลสารสนเทศ และระบบการรับจ่ายทุนการศึกษาและเพื่อการพัฒนาการศึกษาให้
ดำเนนิ งานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล คมุ้ ค่า และมีความโปรง่ ใส
3) สรุป รายงาน เผยแพร่ และเชิดชูเกียรติผู้สนับสนุนทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา
สถานศึกษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
9. การบริหารจัดการทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา
หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั นี้
1) จดั ทำรายการทรัพยากรเพ่ือเป็นสารสนเทศได้แกแ่ หล่งเรยี นรู้ภายในสถานศึกษา แหลง่ เรียนรู้ใน
ท้องถิ่นทั้งที่เป็นแหล่งเรียนรูธ้ รรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานประกอบการ เพื่อการรับรู้ของ
บคุ ลากรในสถานศกึ ษา นกั เรยี นและบุคคลทั่วไปจำไดเ้ กิดการใช้ทรัพยากรร่วมกันในการจดั การศึกษา
2) วางระบบหรอื กำหนดแนวปฏิบัติการใช้ทรัพยากรร่วมกันกบั บคุ คล หน่วยงานรฐั บาลและเอกชน
เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ
3) กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก รวมทั้งให้บริการการใช้
ทรพั ยากรภายในเพอ่ื ประโยชน์ตอ่ การเรยี นร้แู ละสง่ เสริมการศึกษาในชมุ ชน
4) ประสานความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้าง
ทรัพยากรบุคคลทมี่ ีศกั ยภาพให้การสนับสนนุ การจดั การศึกษา
5) ดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการใช้ทรัพยากร
ร่วมกันเพือ่ การศึกษาของสถานศกึ ษา
10. การวางแผนพัสดุ
หน้าทีร่ ับผิดชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) การวางแผนพสั ดุลว่ งหน้า 3 ปี ใหด้ ำเนนิ การตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ
2) การจัดทำแผนการจัดหาพัสดุให้ฝ่ายที่ทำหน้าที่จัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้ดำเนินการ โดยให้ฝ่าย
ที่ต้องการใช้พัสดุ จัดทำรายละเอียดพัสดุที่ต้องการ คือรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือ
แบบรปู รายการและระยะเวลาที่ต้องการน้ีต้องเป็นไปตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี (แผนปฏบิ ัตงิ าน) และตามที่ระบุไว้
ในเอกสารประกอบพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจำปี สง่ ให้ฝ่ายท่ที ำหน้าทีจ่ ัดซื้อจดั จ้างเพื่อจัดทำแผนการ
จัดหาพสั ดุ
3) ฝ่ายที่จัดทำแผนการจดั หาพสั ดุทำการรวบรวมข้อมลู รายละเอียดจากฝา่ ยท่ีต้องการใช้พัสดุโดยมี
การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และความ
เหมาะสมของวิธีการจัดหาว่าควรเป็นการซื้อ การเช่าหรือการจัดทำเองแล้วจำนำข้อมูลที่สอบทานแล้วม าจัดทำ
แผนการจดั หาพสั ดใุ นภาพรวมของสถานศกึ ษา
11. การกำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้เงินงบประมาณเพ่ือ
สนองตอ่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี
1) กำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอตั้งงบประมาณ ส่งให้
สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
2) กรณีที่เป็นการจัดหาจากเงินนอกงบประมาณให้กำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ
ได้โดยให้พิจารณาจากแบบมาตรฐานก่อนหากไม่เหมาะสมก็ให้กำหนดตามความต้องการโดยยึดหลัก ความโปร่งใส
เป็นธรรมและเปน็ ประโยชน์กบั ทางราชการ
12. การจัดหาพัสดุ
หนา้ ทีร่ ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) การจดั หาพัสดุถือปฏบิ ัติตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุของสว่ นราชการและคำสัง่ มอบอำนาจของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
2) การจัดทำพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการให้สถานศึกษารับจัดทำรับ
บรกิ าร
13. การควบคุมดูแล บำรงุ รักษาและจำหนา่ ยพัสดุ
หน้าทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) จดั ทำทะเบียนคมุ ทรพั ยส์ นิ และบัญชวี ัสดุไมว่ ่าจะไดม้ าดว้ ยการจดั หาหรือการรบั บริจาค
2) ควบคมุ พสั ดุใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมการใช้งาน
3) ตรวจสอบพัสดุประจำปี และให้มีการจำหน่ายพัสดุที่ชำรุด เสื่อมสภาพหรือไม่ใช้ในราชการอีก
ตอ่ ไป
4) พัสดุที่เป็นที่ดินหรือสิ่งก่อสร้าง กรณีที่ได้มาด้วยเงินงบประมาณให้ดำเนินการขึ้นทะเบียน
เป็นราชพัสดุ กรณีที่ได้มาจากการรับบริจาคหรือจากเงินรายได้สถานศึกษาให้ขึ้นทะเบียนเป็นกรรมสิทธิ์ของ
สถานศึกษา
14. การรบั เงิน การเก็บรักษาเงนิ และการจา่ ยเงิน
หนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้
1) การปฏิบัติเก่ียวกบั การรับเงิน และการจา่ ยเงนิ ให้ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลังกำหนด
คอื ระเบยี บการเกบ็ รักษาเงินและการนำเงนิ สง่ คลงั ในหน้าที่ของอำเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศกึ ษาสามารถกำหนด
วิธปี ฏิบัติเพ่มิ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสมแต่ตอ้ งไมข่ ดั หรือแยง้ กับระเบยี บดงั กล่าว
2) การปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินให้ปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกำหนด
คือระเบียบการเกบ็ รักษาเงนิ และการนำเงนิ สง่ คลงั ในสว่ นของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนโุ ลม
15. การนำเงินส่งคลัง
หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดังนี้
1) การนำเงินส่งคลังให้นำส่งต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ตาม
ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังในหน้าที่ของอำเภอ พ.ศ. 2520 หากนำส่งเป็นเงินสดให้ต้ัง
คณะกรรมการนำส่งเงินด้วย
16. การจดั ทำบัญชีการเงิน
หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) ให้จัดทำบัญชีการเงินตามระบบที่เคยจัดทำอยู่เดิม คือ ตามระบบที่กำหนดไว้ในคู่มือการบัญชี
หนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรือตามระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544 แลว้ แตก่ รณี
17. การจดั ทำรายงานทางการเงินและงบการเงนิ
หนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) จัดทำรายงานตามท่ีกำหนดในคมู่ ือการบญั ชีสำหรับหนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรือ ตามระบบ
การควบคุมการเงินของหนว่ ยงานยอ่ ยพ.ศ. 2515 แลว้ แตก่ รณี
2) จัดทำรายงานการรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐานกำหนด คือ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการนำ
เงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคลรายได้สถานศึกษาไป
จา่ ยเป็นค่าใช้จ่ายในการจดั การของสถานศกึ ษาทีเ่ ปน็ นิตบิ ุคคลในสังกัดเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
18. การจัดทำและจัดหาแบบพมิ พ์บัญชี ทะเบียนและรายงาน
หนา้ ทีร่ ับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี
1) แบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและแบบรายงานให้จัดทำตามแบบที่กำหนดในคู่มือการบัญชีสำหรับ
หน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรือตามระบบการควบคุมการเงนิ ของหนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544