รายงาน
เรื่อง ระบบและวิธีระบบ
วิชาวิธีระบบทางเทคโนโลยกี ารศึกษา รหสั 1032104
จดั ทาโดย
นางสาวสมฤทยั ขติฌานงั
ปี 2 หมู่ 1 รหสั 620113189025
เสนอโดย
อาจารยก์ รนาริน สาริยา
คณะครุศาสตร์ สาขาเทคโนโลยแี ละคอมพวิ เตอร์เพอื่ การศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ ีรัมย์
ปี การศึกษาท่ี 2 / 2563
คำนำ
รายงานเลม่ น้ีจดั ทาข้ึนเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าวิธีระบบทางเทคโนโลยกี ารศึกษา ช้นั ปี ที่ 2
เพอ่ื ใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรื่องระบบและวิธีระบบและไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพ่ือเป็นประโยชนก์ บั การเรียน
ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ า่ น หรือนกั เรียน นกั ศึกษา
ที่กาลงั หาขอ้ มลู เรื่องน้ีอยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา
ณ ท่ีน้ีดว้ ย
ผจู้ ดั ทา
นางสาวสมฤทยั ขติฌานงั
สำรบัญ 1
1
วธิ ีระบบ 1
ลกั ษณะสาคญั ของวิธีระบบ 2
องคป์ ระกอบของระบบ 2
3
การวิเคราะห์ 3
ข้นั ตอนของการวเิ คราะห์ระบบ 3
3
ลกั ษณะของระบบที่ดี 4
ระบบเปิ ดและระบบปิ ด 4-5
6
ระบบเปิ ด
ระบบปิ ด
วธิ ีระบบท่ีนามาใชใ้ นการสอน
ระบบการเรียนการสอน
อา้ งอิง
1
วิธีระบบ (System Approach)
ความหมายของคาวา่ "ระบบ"
คอื ภาพส่วนรวมของโครงสร้างหรือของขบวนการอยา่ งหน่ึงที่มีการจดั ระเบียบความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งองคป์ ระกอบต่าง ๆ ที่รวมกนั อยใู่ นโครงการหรือขบวนการน้นั (รศ.ดร.เปรื่อง กุมุท)
คือ การรวมสิ่งต่าง ๆ ท้งั หมายท่ีมนุษยไ์ ดอ้ อกแบบและสร้างสรรคข์ ้ึน
เพือ่ ดาเนินงานท้งั หลายใหบ้ รรลเุ ป้าหมายที่วางไว้ (เบวา เอช เบนาที Banathy)
ลกั ษณะสำคญั ของวธิ ีระบบ
1. เป็นการทางานร่วมกนั เป็นคณะของบคุ คลที่เก่ียวขอ้ งในระบบน้นั ๆ
2. เป็นการแกป้ ัญหาโดยการใชว้ ิธีการทางวทิ ยาศาสตร์
3. เป็นการใชท้ รัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งเหมาะสม
4. เป็นการแกป้ ัญหาใหญ่ โดยแบง่ ออกเป็นปัญหาย่อย ๆ
เพื่อสะดวกในการแกป้ ัญหาอนั จะเป็นผลใหแ้ กป้ ัญหาใหญ่ไดส้ าเร็จ
5. มุ่งใชก้ ารทดลองใหเ้ ห็นจริง
6. เลือกแกป้ ัญหาท่ีพอจะแกไ้ ขไดแ้ ละเป็นปัญหาเร่งด่วนก่อน
องค์ประกอบของระบบ
1. ส่ิงที่ป้อนเข้ำไป ( Input ) หมายถึง สิ่งตา่ ง ๆ ท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นกระบวนการหรือโครงการตา่ ง ๆ
เช่น ครู นกั เรียน ช้นั เรียน หลกั สูตร ตารางสอน วธิ ีการสอน เป็นตน้
2. กระบวนกำรหรือกำรดำเนนิ งำน (Process) หมายถึง การนาเอาสิ่งที่ป้อนเขา้ ไปมาจดั กระทา
เพอื่ ใหเ้ กิดผลบรรลุตามวตั ถุประสงคท์ ่ีตอ้ งการ เช่น การสอนของครู การใหน้ กั เรียนทากิจกรรม เป็นตน้
3. ผลผลติ หรือกำรประเมินผล (Output) หมายถึง ผลที่ไดจ้ ากการกระทาในข้นั ท่ีสอง ไดแ้ ก่
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน ผลงานของนกั เรียน เป็นตน้
2
กำรวิเครำะห์ระบบ (System Analysis)
เป็นวิธีการนาเอาผลท่ีได้ (Feed Back) จากผลผลิตหรือการประเมินผล (Evaluation)
มาพิจารณาปรับปรุงระบบใหม้ ีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน ฉะน้นั จะเห็นไดว้ า่ วธิ ีระบบเป็นขบวนการต่อเน่ือง
และีมี ีลกั ษณะเช่นเดียวกบั วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์
ข้นั ตอนของกำรวิเครำะห์ระบบ
ดร.เลห์แมน (Lehmam) ไดก้ ลา่ วถึงข้นั ตอนของวิธีระบบไวด้ งั น้ี
1. ปัญหำ (Identify Problem) คือ การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่แทจ้ ริงในการปฏิบตั ิวา่ คืออะไร
หาความแตกต่างระหวา่ งสิ่งท่ีควรจะเป็นกบั ส่ิงท่ีมีอยู่
แลว้ มาจดั ลาดบั และกาหนดระดบั ความสาคญั ของปัญหา
2.จดุ ม่งุ หมำย (Objectives) การระบจุ ุดมุ่งหมายจะตอ้ งชดั เจน สามารถวดั ได้ และสอดคลอ้ งกบั ปัญหา
3. ศึกษำข้อจำกดั ต่ำง
ๆ (Constraints) เป็นการศึกษาและทารายการขอ้ จากดั เก่ียวกบั ทรัพยากร (Resources) ท่ีมีอยู่
4. ทำงเลือก (Alternatives) คอื การสร้างทางเลือกสาหรับใชใ้ นการแกป้ ัญหา
5.
กำรพจิ ำรณำทำงเลือกท่ีเหมำะสม (Selection) เป็นการประเมินหาทางเลือกท่ีจะส่งผลต่อจุดมุ่งหมายที่ตอ้ งก
ารมากท่ีสุด และดว้ ยทุนท่ีนอ้ ยท่ีสุด
6. กำรทดลองปฏิบัติ (Implementation)
เป็นการนาเอาทางเลือกท่ีไดไ้ ปทดลองเพอื่ ดูว่าสามารถนาไปปฏิบตั ิไดห้ รือไม่
7.
กำรประเมินผล (Evaluation) เป็นการประเมินผลการทดลองเพ่ือพจิ ารณาดูวา่ ไดผ้ ลตามวตั ถุประสงคท์ ่ีวางไ
วห้ รือไม่
8.
3
กำรปรับปรุงแก้ไข (Modification) คือการนาขอ้ บกพร่องที่พบจากการประเมินผลมาปรับปรุงแกไ้ ขจนเป็น
ท่ีพอใจ แลว้ จึงนาไปใชก้ บั การแกป้ ัญหาในระบบ
ลกั ษณะของระบบท่ีดี
ระบบท่ีดีสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ (efficiency) และมีความยง่ั ยนื (sustainable) ตอ้ งมีลั
กษณะ 4 ประการคอื
1. มีปฏิสมั พนั ธก์ บั ส่ิงแวดลอ้ ม (interact with environment) ระบบทกุ ๆ
ระบบจะมีปฏิสัมพนั ธ์กบั สิ่งรอบ ๆ ตวั ที่ เรียกวา่ "สิ่งแวดลอ้ ม"
ซ่ึงทาใหร้ ะบบดงั กล่าวกลายเป็นระบบเปิ ด (Open system) คอื
ระบบจะรับปัจจยั นาเขา้ (input) จากสิ่งแวดลอ้ ม เช่น พลงั งาน อาหาร ขอ้ มูล
แลว้ เปลี่ยนแปลงปัจจยั นาเขา้ น้ีใหก้ ลายเป็นผลผลิต (output) แลว้ จึงส่งกลบั ไปใหส้ ่ิงแวดลอ้ มอีกทีหน่ึง
2. มีจุดหมายหรือเป้าประสงค์ (purpose) คือ
ระบบจะตอ้ งมีจุดมงุ่ หมายท่ีชดั เจนแน่นอนสาหรับตวั ของมนั เอง เช่น ระบบการดาเนินชีวติ ของมนุษย์
กม็ ีจุดมุ่งหมายอยา่ งชดั เจนวา่ "เพ่อื รักษาสภาพการมีชีวิตไวใ้ หไ้ ด้ใหด้ ีที่สุด"
3. มีการรักษาสภาพตนเอง (self-
regulation) ทาไดโ้ ดยการแลกเปล่ียน input และ output กนั ระหวา่ งองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ
ของระบบหรือระบบยอ่ ย เช่น ระบบยอ่ ยอาหารของร่างกายมนุษยซ์ ่ึงประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบยอ่ ย
หรือระบบยอ่ ยต่าง ๆ เช่น ปาก น้ายอ่ ย น้าดี หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ฯลฯ
4. มีการแกไ้ ขตนเอง (self-correction ) เพอื่ การรักษาสภาพของตนเอง เช่น
การปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งร่างกายกบั อากาศหนาว (สภาพแวดลอ้ ม) อาจจะทาใหเ้ กิดอาการหวดั ข้ึนได้
ในสถานการณ์น้ีถา้ ระบบร่างกายไม่สามารถท่ีจะรักษาสภาพตวั เองไดอ้ ยา่ งดี
ร่างกายก็จะตอ้ งผลิตภมู ิคมุ้ กนั ออกมาตา้ นหวดั เพื่อที่จะต่อสูก้ บั อาการหวดั น้นั
ระบบเปิ ดและระบบปิ ด
ระบบเปิ ด (open system) คือ
ระบบท่ีมีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอนท้งั พลงั งานและมวลใหก้ บั ส่ิงแวดลอ้ ม
หรือมวลของระบบไม่คงท่ีเมื่อเกิดการเปล่ียนแปลง เช่น การตม้ น้าในภาชนะเปิ ดบนเตาไฟ ระบบคือ
ภาชนะเปิ ดที่มีน้าบรรจุอยเู่ ตาไฟและอากาศท่ีลอ้ มรอบท้งั หมดคอื ส่ิงแวดลอ้ ม
ระบบท่ีมีการรับความร้อนจากเตาไฟและคายความร้อนใหก้ บั สิ่งแวดลอ้ ม(มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอนพลั
งงาน) เมื่อชง่ั น้าหนกั ของภาชนะกบั น้าก่อนการตม้ และหลงั การตม้ จะไมเ่ ท่ากนั (มวลของระบบไมค่ งที่)
4
ระบบปิ ด (closed system) คือ ระบบที่มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอนพลงั งานกบั สิ่งแวดลอ้ มได้
แตถ่ ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนมวลกบั ส่ิงแวดลอ้ มไมไ่ ด้ หรือมวลของระบบคงที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น
การตม้ น้าในภาชนะปิ ดบนเตาไฟ ระบบคือภาชนะท่ีมีน้าบรรจุอยภู่ ายใน
ส่วนเตาไฟและอากาศท่ีลอ้ มรอบท้งั หมดเป็นสิ่งแวดลอ้ ม
ระบบจะรับความร้อนจากเตาไฟแลว้ กลายเป็นไอคายพลงั งานใหก้ บั ส่ิงแวดลอ้ ม (มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโ
อนพลงั งาน) เม่ือชงั่ น้าหนกั ของภาชนะที่บรรจุน้าก่อนการตม้ และหลงั การตม้ ในภาชนะปิ ดจะเท่ากนั (มวลข
องระบบคงที่)
วธิ รี ะบบที่นำมำใช้ในกำรสอน
ประกอบดว้ ยข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี
1. การประเมินความจาเป็น
2. การเลือกทางแกป้ ัญหา
3. การต้งั จุดมุ่งหมายทางการสอน
4. การวิเคราะหง์ านและเน้ือหาที่จาเป็นต่อผลสมั ฤทธ์ิตามจุดมงุ่ หมาย
5. การเลือกยทุ ธศาสตร์การสอน
6. การลาดบั ข้นั ตอนของการสอน
7. การเลือกส่ือ
8. การจดั หรือกาหนดแหล่งทรัพยากรที่จาเป็น
9. การทดสอบ และ/หรือ ประเมินค่าประสิทธิภาพของแหลง่ ทรัพยากรเหลา่ น้นั
10. การปรับปรุงแกไ้ ขแหล่งทรัพยากรจนกวา่ จะเกิดประสิทธิภาพ
11. การเดินตามวฏั จกั รของกระบวนการท้งั หมดซ้าอีก
ระบบกำรเรียนกำรสอน
ระบบการเรียนการสอน ก็คอื การจดั องคป์ ระกอบของการเรียนการสอนใหม้ ีความสมั พนั ธก์ นั
เพื่อสะดวกต่อการนาไปสู่จุดหมายปลายทางของการเรียนการสอนที่ไดก้ าหนดไว้
องคป์ ระกอบของระบบการเรียนการสอน
ระบบการเรียนการสอนประกอบดว้ ยส่วนยอ่ ยๆ ต่าง ๆ ซ่ึงมีความเก่ียวพนั กนั และกนั ส่วนท่ีสาคญั คือ
กระบวนการเรียนการสอน ผสู้ อนและผเู้ รียน
ยเู นสโก ( UNESCO ) ไดเ้ สนอรูปแบบขององคป์ ระกอบของระบบการเรียนการสอนไว้
โดยมีองคป์ ระกอบ 6 ส่วน คือ
1. องคป์ ระกอบของการสอนจะประกอบดว้ ย ผสู้ อน ผเู้ รียน ส่ือ การเรียนการสอน
วธิ ีสอนซ่ึงทางานประสานสมั พนั ธก์ นั อนั จะเป็นพาหะหรือแนวทางผสมกลมกลืนกบั เน้ือหาวิชา
5
2. กิจกรรมการเรียนการสอน
จะตอ้ งมีส่ือการเรียนการสอนและแหลง่ ท่ีมาของส่ือการเรียนการสอนเหล่าน้นั
3. ผสู้ อนตอ้ งหาแนวทาง แนะนาช่วยเหลือผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่ีดีที่สุด
4. การเสริมกาลงั ใจ การจูงใจแก่ผเู้ รียน นบั วา่ มีอิทธิพลตอ่ การที่จะเสริมสร้างความสนใจ
ใหก้ ารเรียนการสอนมีคุณภาพ
5. การประเมินผล ผลท่ีออกมาอยา่ งมีประสิทธิภาพโดยการประเมินท้งั ระบบ
เพอ่ื ดูวา่ ผลท่ีไดน้ ้นั เป็นอยา่ งไร
เป็นการนาขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริงมาเปรียบเทียบกบั ประสิทธิผลของระบบ เพื่อการแกไ้ ขปรับปรุงตอ่ ไป
6. ผลที่ไดร้ ับท้งั ประเมิน
เพอ่ื ประเมินผลในการปรับปรุงและเปรียบเทียบกบั การลงทุนในทางการศึกษาวา่ เป็นอยา่ งไร นอกจากน้ี
บุญชม ศรีสะอาด ไดก้ ลา่ วถึงองคป์ ระกอบของระบบการเรียนการสอน
ไดแ้ ก่ ตวั ป้อน กระบวนการ และผลิต ดงั ภาพ
6
อ้ำงองิ
https://sites.google.com/site/supoldee/supoldee/snthes-na-ru-wan-khea-phrrsa/rabb-laea-withi-rabb
https://www.st.ac.th/av/inno_system.htm
https://senarak.tripod.com/system.htm?fbclid=IwAR1FsKVFmt96ZT87QjHD255OZ4YgfZ29BDCOQvB
uzS1yEvrj_1jmqphqAEM#3