The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรม ม.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by katunchalee Aekwoot, 2021-05-18 22:52:33

หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรม ม.4

หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรม ม.4

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ การเขียนโปรแกรม (Coding)

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ าคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ว ๓๑๒๑๒

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๘ ชั่วโมง

____________________________________________________________________________________________________________________

๑.มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พื่อการดำรงชวี ิตในสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลง อย่างรวดเรว็
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแกป้ ัญหาหรือพฒั นางานอย่างมี
ความคดิ สรา้ งสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถึง
ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม

๒. ตัวช้ีวดั

ว ๔.๑ ม.๔/๕ ใช้ความรแู้ ละทกั ษะเกีย่ วกบั วัสดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ และเทคโนโลยี
ท่ซี บั ซ้อนในการแก้ปญั หาหรือพฒั นางาน ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๓.๑ อธบิ ายวธิ กี ารเขียนโปรแกรมแสดงขอ้ มูลได้อยา่ งถูกต้อง (K)
๓.๒ สามารถเขยี นโปรแกรมแสดงขอ้ ความ รูปภาพได้ (P)
๓.๓ เหน็ ความสำคญั ของการเขียนโปรแกรมแสดงขอ้ มูลและรปู ภาพด้วย Micro bit (A)
๓.๔ อธิบายวธิ ีการเขยี นโปรแกรมวดั ความชนื้ ดนิ ได้อย่างถูกต้อง (K)
๓.๕ สามารถเขียนโปรแกรมวัดความชน้ื ดนิ ได้ (P)
๓.๖ เห็นความสำคญั ของการเขียนโปรแกรมวดั ความชน้ื ดินด้วย Micro bit (A)
๓.๗ อธบิ ายวธิ กี ารเขยี นโปรแกรมเสียงเพลงได้อย่างถูกต้อง (K)
๓.๘ สามารถเขยี นโปรแกรมแสดงเสียงเพลงได้ (P)
๓.๙ เห็นความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมแสดงเสียงเพลงดว้ ย Micro bit (A)
๓.๑o อธิบายวธิ กี ารเขียนโปรแกรมวัดอุณหภมู ิได้อย่างถูกต้อง (K)
๓.๑๑ สามารถเขยี นโปรแกรมวัดอุณหภูมิได้ (P)
๓.๑๒ เหน็ ความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมวัดอุณหภูมิด้วย Micro bit (A)

๔. จุดประสงค์การเรียนร้บู รู ณาการทกั ษะชีวิต

๔.๑ นกั เรยี นเกดิ การตระหนกั รู้และเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผอู้ นื่
๔.๒ นกั เรียนมีพฤตกิ รรมการมองตนเองและผูอ้ ่ืนในแง่บวก
๔.๓ นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมการภาคภมู ิใจในตนเองและผู้อื่น
๔.๔ นักเรยี นมีทกั ษะในการกำหนดเป้าหมายและทิศทางสู่ความสำเร็จ
๔.๕ นกั เรยี นเกดิ การคดิ วเิ คราะห์ ตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์
๔.๖ นักเรียนมีพฤติกรรมเลอื กรับข้อมูลข่างสารอยา่ งไตรต่ รองและรูเ้ ท่าทนั สงั คมท่เี ปลย่ี นแปลง
๔.๗ นกั เรยี นมีพฤติกรรมการตัดสนิ ใจในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ ผชญิ อย่างมเี หตุผลและรอบคอบ
๔.๘ นักเรยี นมีจนิ ตนาการและความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์
๔.๙ นักเรยี นมีทกั ษะในการแสวงหาข้อมูลและใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์
๔.๑o นกั เรียนเกดิ การจดั การกับอารมณ์และความเครยี ด
๔.๑๑ นักเรยี นมพี ฤติกรรมการประเมินและรู้เทา่ ทันสภาวะอารมณ์ทีเ่ กดิ ขน้ึ กับตนเอง
๔.๑๒ นกั เรียนมพี ฤติกรรมการรจู้ ักคลายเครยี ดดว้ ยวธิ ีการท่ีสร้างสรรค์
๔.๑๓ นกั เรยี นร้จู ักสร้างความสขุ ใหก้ บั ตนเองและผู้อืน่
๔.๑๔ นักเรียนเกิดการสรา้ งสมั พนั ธภาพท่ีดกี บั ผู้อืน่
๔.๑๕ นกั เรยี นมีพฤติกรรมการยนื ยนั ความต้องการของตนเองปฏเิ สธและต่อรองบนพื้นฐานของความถูกตอ้ ง
๔.๑๖ นกั เรียนมีพฤติกรรมกล้าแสดงความคดิ เหน็ อย่างสรา้ งสรรค์
๔.๑๗ นกั เรียนสามารถทำงานร่วมกับผูอ้ นื่ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๔.๑๘ นักเรยี นสร้างสัมพนั ธภาพที่ดีกับผูอ้ ่ืน ดว้ ยการสอ่ื สารเชิงบวก
๔.๑๙ นักเรียนใหค้ ำปรกึ ษาแกผ่ ู้อ่ืนได้

๕. สาระสำคญั
การเขยี นโปรแกรมเพ่อื แก้ปัญหาดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เปน็ การส่งเสรมิ ทักษะการคิดเชงิ คำนวณ

เพื่อแกป้ ัญหาหรือพัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ซง่ึ การคดิ
เชงิ คำนวณ (computational thinking) ทจ่ี ะพัฒนาให้ เด็ก ๆ เกิดกระบวนการคิดเชงิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งเป็น
ระบบด้วยเหตผุ ลอยา่ งเป็นข้ันเปน็ ตอนเพอื่ แก้ปญั หา ตา่ ง ๆ สามารถนำไปปรบั ใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาในสาขาวิชา
ตา่ ง ๆ ได้ท้งั คณติ ศาสตร์ มนุษยศาสตร์ หรอื วิชา อืน่ ๆ

๖. สาระการเรียนรู้
๖.๑ การเขยี นโปรแกรมแสดงขอ้ มูล
๖.๒ แสดงขอ้ มลู ในลักษณะของข้อความอักษร
๖.๓ แสดงขอ้ มูลในลกั ษณะรปู ภาพ
๖.๔ โปรแกรมวดั ความช้นื ดิน
๖.๕ การเขียนโปรแกรมแต่งเพลงดว้ ย Micro Bit
๖.๖ การแสดงผลดว้ ยเสียงผ่านลำโพง Buzzer
๖.๗ การอา่ นคา่ อณุ หภมู แิ บบองศาเซลเซยี ส
๖.๘ การเรยี นรกู้ ารใชง้ าน on shake
๖.๙ การประกาศตวั แปรแบบ Local variables
๖.๑o การใชง้ าน show number

๗. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น
๗.๑ ความสามารถในการสอื่ สาร
๗.๒ ความสามารถในการคิด
๗.๓ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๗.๔ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๗.๕ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

๘. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
๘.๑ มวี นิ ัย
๘.๒ ใฝ่เรียนรู้
๘.๓ ม่งุ มั่นในการทำงาน

๙. องค์ประกอบทักษะชวี ติ
๙.๑ องค์ประกอบทกั ษะชีวติ : องค์ประกอบท่ี ๑ การตระหนกั รู้และเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผอู้ น่ื
กิจกรรม : กจิ กรรมสำรวจความรู้สึกด้วยภาพแสดงอารมณ์แทนใจกบั โปรแกรม Micro bit
พฤตกิ รรมท่ีคาดหวัง

๑. นักเรียนมพี ฤติกรรมการมองตนเองและผ้อู ืน่ ในแง่บวก
๒. นกั เรียนมพี ฤติกรรมการภาคภูมใิ จในตนเองและผู้อนื่

๓. นกั เรียนมที ักษะในการกำหนดเปา้ หมายและทิศทางสู่ความสำเร็จ
ตัวชี้วัดทักษะชีวิต

๑. สะทอ้ นมุมมองทด่ี ีของตนเองและผู้อ่ืนได้
๒. แสดงความรสู้ กึ ภาคภูมิใจในความสามารถ ความดขี องตนเองและผู้อืน่
๓. แสดงความสามารถและความดงี ามทีต่ นเองภาคภมู ิใจให้ผูอ้ ื่นรบั รู้ได้
๔. กำหนดทศิ ทางและวางแผนการดำเนินชวี ิตไปสูเ่ ป้าหมายหรือความสำเรจ็ ทต่ี นเองคาดหวงั ได้
๕. ปฏิบัตติ ามแผนการดำเนนิ ชวี ติ ท่กี ำหนดไว้และปรบั ปรุงให้มีโอกาสประสบความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายได้
๙.๒ องค์ประกอบทักษะชวี ิต : องค์ประกอบที่ ๒ การคดิ วิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ และแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
กิจกรรม : กจิ กรรมหมดปัญหาการเกษตรกับ Smart Farm ยคุ ใหม่
พฤตกิ รรมท่ีคาดหวัง
๑. นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมเลือกรับขอ้ มลู ขา่ งสารอย่างไตรต่ รองและรู้เท่าทันสงั คมท่ีเปล่ยี นแปลง
๒. นกั เรยี นมีพฤติกรรมการตดั สนิ ใจในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่เี ผชิญอย่างมเี หตผุ ลและรอบคอบ
๓. นกั เรยี นมีจนิ ตนาการและความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์
๔. นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาข้อมลู และใช้ข้อมลู ให้เปน็ ประโยชน์
ตวั ชี้วัดทักษะชีวิต
๑. วิเคราะห์ประโยชน์และคุณคา่ ของข้อมลู ข่าวสารเลือกใช้ขอ้ มลู ข่าวสารเพอื่ สรา้ งภูมิความรู้และการตดั สนิ ใจ

เม่อื เผชญิ สถานการณ์รอบตวั
๒. ประเมินสถานการณต์ ่าง ๆ ทเี่ ผชิญดว้ ยขอ้ มูลและเหตุผลทถี่ ูกต้อง
๓. สร้างสรรค์ผลงานและแสดงพฤติกรรมไดเ้ ปน็ ท่ียอมรับ
๔. แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ ดว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลายถกู ต้องและเหมาะสม นำมาใชป้ ระโยชน์

กับตนเองและผ้อู ่ืน
๙.๓ องค์ประกอบทกั ษะชวี ิต : องค์ประกอบที่ ๓ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด
กจิ กรรม : กิจกรรมเพลงสขุ ใจกับดนตรีจากโปรแกรม Micro bit
พฤติกรรมท่ีคาดหวงั

๑. นกั เรยี นมพี ฤติกรรมการประเมินและรู้เท่าทันสภาวะอารมณท์ ่เี กดิ ข้นึ กบั ตนเอง
๒. นกั เรยี นมพี ฤติกรรมการรูจ้ กั คลายเครยี ดดว้ ยวธิ กี ารที่สรา้ งสรรค์
๓. นกั เรียนรจู้ กั สร้างความสุขใหก้ ับตนเองและผ้อู น่ื
ตวั ช้ีวดั ทักษะชีวติ
๑. สำรวจและประเมินอารมณ์ท่ีมีอิทธิพลตอ่ พฤติกรรมของตนเองได้
๒. เลอื กวิธีการจัดการหรือควบคมุ อารมณ์ของตนเองได้เหมาะสม

๓. มีวธิ ีการคลายความเครียดอย่างสรา้ งสรรค์
๔. ปรับความคิด ความร้สู ึก อารมณ์ ทเี่ กดิ ขึ้นในสถานการณต์ า่ ง ๆ ที่อาจก่อใหเ้ กิดความไม่พอใจ
หรอื ความเครียดได้ดว้ ยวิธีการทถี่ ูกต้องและสร้างสรรค์
๙.๔ องค์ประกอบทกั ษะชีวิต : องค์ประกอบท่ี ๔ การสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ ีกับผู้อน่ื
กิจกรรม : กิจกรรมวัดอุณหภูมดิ ้วยโปรแกรม Micro bit
พฤตกิ รรมทคี่ าดหวงั
๑. นักเรียนมีพฤตกิ รรมการยืนยันความตอ้ งการของตนเองปฏเิ สธและตอ่ รองบนพ้ืนฐานของความถูกต้อง
๒. นกั เรยี นมีพฤติกรรมกล้าแสดงความคิดเหน็ อย่างสร้างสรรค์
๓. นกั เรียนสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู น่ื ตามวิถปี ระชาธิปไตย
๔. นักเรียนสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ ีกบั ผอู้ น่ื ด้วยการส่ือสารเชงิ บวก
๕. นักเรียนใหค้ ำปรึกษาแก่ผูอ้ น่ื ได้
ตัวชวี้ ดั ทักษะชีวติ
๑. ยนื ยันความตอ้ งการของตนเองบนพน้ื ฐานของความถูกตอ้ ง
๒. ปฏเิ สธและต่อรองบนพ้ืนฐานของความถูกต้อง
๓. กลา้ แสดงความคิดเหน็ ของตนเองต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งมเี หตุผลและหลกั วิชาการท่ีเหมาะสม
๔. ทำงานรว่ มกับผู้อ่นื บนพื้นฐานของความเปน็ ประชาธิปไตยได้อยา่ งราบร่นื
๕. มวี ธิ ีส่อื สารกับผ้อู ่ืนทัง้ ทางดา้ นภาษาพดู ภาษากาย ด้วยความสภุ าพและเป็นมติ ร
๖. ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำท่ถี ูกต้องแก่ผู้อ่ืน

๑o. แผนการจัดการเรียนรู้
๑o.๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ โปรแกรมแสดงภาพและข้อความดว้ ย Micro bit
๑o.๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ โปรแกรมวดั ความช้ืนดิน
๑o.๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ โปรแกรมเสียงเพลง
๑o.๔ แผนการจัดการเรียนรู้ โปรแกรมวดั อุณหภมู ิ

๑๑. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
๑๑.๑ สื่อนำเสนอตัวอยา่ งผลลพั ธ์การเขยี นโปรแกรม
๑๑.๒ แผงวงจร Micro bit และโปรแกรม https://makecode.microbit.org/
๑๑.๓ โปรแกรมวงล้อเสีย่ งทาย https://wordwall.net/
๑๑.๔ หอ้ งคอมพวิ เตอร์ท่เี ชื่อมต่อเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต

๑๑.๕ แหลง่ การเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
๑๑.๖ วดิ ทิ ศั น์ Smart Farm เรอ่ื งท่ี ๑ https://www.youtube.com/watch?v=a92O-v7FGxY
๑๑.๗ วดิ ทิ ัศน์ Smart Farm เรอ่ื งท่ี ๒ https://www.youtube.com/watch?v=6HTct5uMGzk
๑๑.๘ วดิ ิทัศน์ Smart Farm เรือ่ งท่ี ๓ https://www.youtube.com/watch?v=eO3UhQFr5kg
๑๑.๙ QR Code
๑๑.๑o อปุ กรณว์ ัดความชื้นดิน
๑๑.๑๑ ตน้ ไม้จำนวน ๒ ต้น ทม่ี คี วามชน้ื ของดินแตกตา่ งกัน
๑๑.๑๒ กระดานแสดงความคดิ เห็น Mentimeter
๑๑.๑๓ Computer และ Smartboard







รหสั วิชา ว ๓๑๒๑๒ รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ม.๔

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง การเขียนโปรแกรม (Coding) เวลา ๘ ชั่วโมง

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง โปรแกรมแสดงภาพและข้อความดว้ ย Micro bit เวลา ๒ ชั่วโมง

ชอ่ื ผู้สอน นางสาวกตญั ชลี เอกวุธ

______________________________________________________________________________________

๑. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวติ ในสงั คมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็
ใชค้ วามรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่ืน ๆ เพื่อแกป้ ญั หาหรือพฒั นางานอยา่ งมี
ความคิดสรา้ งสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม โดยคำนงึ ถงึ
ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม

๒. ตวั ชว้ี ัด

ว ๔.๑ ม.๔/๕ ใชค้ วามร้แู ละทักษะเกยี่ วกับวสั ดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมือ กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์และ
เทคโนโลยีท่ีซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน ได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ อธบิ ายวธิ ีการเขยี นโปรแกรมแสดงข้อมลู ได้อยา่ งถกู ต้อง (K)
๓.๒ สามารถเขียนโปรแกรมแสดงข้อความ รปู ภาพได้ (P)
๓.๓ เหน็ ความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมแสดงข้อมูลและรูปภาพดว้ ย Micro bit (A)

๔. จุดประสงค์การเรยี นรูบ้ รู ณาการทกั ษะชีวิต

๔.๑ นกั เรยี นเกิดการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผอู้ ื่น
๔.๒ นักเรยี นมพี ฤติกรรมการมองตนเองและผ้อู ่นื ในแง่บวก
๔.๓ นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมการภาคภมู ใิ จในตนเองและผู้อื่น
๔.๔ นักเรยี นมีทักษะในการกำหนดเปา้ หมายและทิศทางส่คู วามสำเร็จ

๕.องค์ประกอบทักษะชวี ิต : องค์ประกอบท่ี ๑ การตระหนักรู้และเหน็ คณุ ค่าในตนเองและผ้อู ่ืน

พฤติกรรมท่คี าดหวงั
๑. นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมการมองตนเองและผอู้ น่ื ในแง่บวก
๒. นักเรยี นมพี ฤติกรรมการภาคภมู ิใจในตนเองและผู้อนื่
๓. นกั เรยี นมที ักษะในการกำหนดเป้าหมายและทิศทางสคู่ วามสำเร็จ

ตวั ชีว้ ดั ทักษะชีวิต
๑. สะทอ้ นมุมมองที่ดีของตนเองและผอู้ ื่นได้
๒. แสดงความรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จในความสามารถ ความดขี องตนเองและผู้อ่ืน
๓. แสดงความสามารถและความดีงามท่ีตนเองภาคภมู ิใจให้ผู้อนื่ รับรไู้ ด้
๔. กำหนดทิศทางและวางแผนการดำเนนิ ชวี ติ ไปส่เู ปา้ หมายหรือความสำเรจ็ ที่ตนเองคาดหวังได้
๕. ปฏิบตั ติ ามแผนการดำเนนิ ชีวติ ที่กำหนดไว้และปรบั ปรงุ ให้มโี อกาสประสบความสำเร็จตามเปา้ หมายได้

๖. สาระสำคญั
บอรด์ Micro bit ถกู ออกแบบให้เขียนโปรแกรมและคอมไพล์ผา่ นทางเว็บบราวน์เซอร์ สามารถใชง้ าน

รว่ มกบั ระบบอื่น ๆ ได้หลายระบบ เช่น คอมพวิ เตอร์ (ใช้ได้ท้งั android, iOS) อีกท้ังยงั มีเซ็นเซอร์พนื้ ฐานสำหรบั
การเรยี นรู้ อาทเิ ช่น เซน็ เซอร์วดั แสง เซน็ เซอรว์ ดั ความเร่ง เซน็ เซอร์เขม็ ทิศ รวมทง้ั ปุม่ กด และ LED แสดงผล
ติดตงั้ มาใหเ้ รียบร้อยซึ่งสามารถทำ การเขียนโปรแกรมดว้ ย Micro bit แสดงข้อความ อักษร ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

สาระการเรียนรู้ ประเดน็ คำถามเพ่อื การเรยี นรู้

๑. การเขยี นโปรแกรมแสดงขอ้ มูล ๑. นกั เรยี นเคยเขยี นโปรแกรมโดยใช้ Micro
๑.๑ แสดงข้อมูลในลักษณะของขอ้ ความอักษร bitเพ่ือแสดงข้อความและรูปภาพหรือไม่ และ
๑.๒ แสดงขอ้ มลู ในลักษณะรูปภาพ นักเรยี นคดิ วา่ การเขียนโดยใช้ Micro bit
แสดงข้อความและรูปภาพมีความแตกต่างกนั
หรอื ไม่

๗. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ขนั้ นำ

๗.๑ นกั เรียนและครรู ่วมกนั แลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยครใู ช้คำถามเพื่อเปิดประเดน็ การเรยี นรู้และทบทวนองค์
ความรูเ้ ดมิ โดยครูถามนกั เรยี นวา่ นักเรียนคดิ ว่าการเขยี นโปรแกรมดว้ ย Micro Bit ใหแ้ สดงผลเป็นข้อความ
และรปู ภาพ มีความเหมือนและแตกต่างกนั หรือไม่ นกั เรียนคิดวา่ จะใชห้ ลักการเขียนโปรแกรม เหมือนหรอื
แตกต่างกนั อยา่ งไร

ข้นั สอน

๗.๒ นักเรียนและครรู ่วมแลกเปลย่ี นเรียนร้ดู ้วยการดูตัวอย่างผลลัพธ์จากการเขียนโปรแกรมด้วย Micro
bit ใหแ้ สดงผลเปน็ ขอ้ ความและตัวอย่างผลลัพธ์การเขยี นโปรแกรมด้วย Micro bit ให้แสดงผลเปน็ รูปภาพ
สญั ลักษณต์ ่าง ๆ จากสอ่ื นำเสนอของครู เพื่อส่งเสริมให้นักเรยี นเห็นถึงเปา้ หมายในการเรียนรู้ และกระตุ้นให้
นกั เรียนเกดิ ความภาคภูมิใจ ในตนเอง เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่นื ตามองค์ประกอบทักษะชวี ติ องค์ประกอบ
ที่ ๑ การตระหนกั รู้และเห็นคุณคา่ ในตนเองและผู้อืน่ นักเรียนจะเกดิ ความรูส้ กึ ภาคภูมิใจ เมื่อสามารถสรา้ ง
ชิน้ งาน ไดต้ าม จุดประสงค์การเรยี นรู้

๗.๓ นกั เรียนและครรู ว่ มเรียนรวู้ ิธกี ารเขียนโปรแกรมให้แสดงผลเป็นรปู ภาพและข้อความโดยมคี รทู ำการ
สาธติ วธิ ีการเขยี นโปรแกรม ให้แสดงผลเปน็ ภาพลักษณะรูปหัวใจแทนความร้สู ึกซึ่งเปน็ ส่วนหน่ึงของกจิ กรรม
การเรียนรู้สง่ เสรมิ ทกั ษะชีวติ กจิ กรรมสำรวจความรู้สกึ ดว้ ยภาพแสดงอารมณ์แทนใจกับโปรแกรม Micro bit

๗.๔ นักเรียนฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนโปรแกรมแสดงผลเป็นข้อความอักษร ดว้ ยโปรแกรม Micro bit และ
การเขียนโปรแกรมแสดงผลเป็นภาพดว้ ยโปรแกรม Micro bit

๗.๕ ครแู บ่งกลมุ่ นักเรียนออกเป็นท้งั หมด ๕ กลมุ่ เพือ่ ทำการส่มุ ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัตติ ิตามโจทย์ทจี่ ะใช้ใน
การเขียนโปรแกรมให้แสดงผลเปน็ ข้อความและรูปภาพด้วยโปรแกรม Micro Bit ในลักษณะต่าง ๆ โดย ทำ
การจับเวลา กลุม่ ละ ๑o นาที ให้สามารถเขยี นโปรแกรมแสดงผล ตามทีโ่ จทยก์ ำหนด ซง่ึ เปน็ การกระตนุ้
และการสง่ เสริมทกั ษะชีวิตของนักเรียน ให้สะท้อนมุมมองท่ีดขี องตนเองและผู้อื่นมีทักษะในการกำหนด
เปา้ หมายและทิศทางสคู่ วามสำเร็จ

๗.๖ ครูทำการสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มให้ออกมาแสดงการเขียนโปรแกรม Micro bit ตามทโ่ี จทยก์ ำหนด
ด้วยการสมุ่ อตั โนมตั โิ ดยใช้โปรแกรมวงลอ้ เสี่ยงทาย

๗.๗ นกั เรยี นสง่ ชนิ้ งานการฝึกปฏบิ ัติเป็นรายบคุ คลผา่ นหอ้ งเรยี นออนไลนบ์ นเครือขา่ ยสังคมออนไลน์
ซง่ึ จะเป็นช่องทางการแสดงผลงานสสู่ าธารณะช่วยให้นักเรียนเกดิ ความภาคภมู ิใจในผลงานของตนเองและ
ชน่ื ชมผลงานของผ้อู ่นื

ขั้นสรปุ

๗.๘ นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ องค์ความร้วู ธิ กี ารเขียนโปรแกรมให้แสดงผลเปน็ ข้อความและวธิ ี
การเขียนโปรแกรมใหแ้ สดงผลเปน็ รปู ภาพดว้ ยโปรแกรม Micro bit รว่ มกนั เพ่ือจดั ระเบยี บองค์ความรู้
ของนักเรยี นให้ถูกต้องและตรงกัน

๗.๙ นกั เรียนและครรู ว่ มกัน แสดงความยนิ ดีกบั กลุม่ ทีช่ นะในกิจกรรม สำรวจความรสู้ ึกดว้ ยภาพแสดง
อารมณ์แทนใจ กับโปรแกรม Micro bit โดยมเี พอ่ื นๆและครู ใหร้ างวัลและคำชน่ื ชม ซึง่ จะชว่ ยให้นกั เรียนได้มี
โอกาสในการแสดงความรูส้ ึกภาคภมู ิใจในความสามารถความดีของตนเองและผูอ้ น่ื ซึง่ ตรงกับองค์ประกอบ
ท่ี ๑ การตระหนักรู้และเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อ่นื ของการบรู ณาการทักษะชีวติ

๘. การพัฒนาทักษะชีวิตโดยใช้คำถาม R-C-A
สะท้อน R (Reflect)

นกั เรียนคดิ วา่ การเขียนโปรแกรมแสดงผลเปน็ ขอ้ ความและรูปภาพดว้ ยโปรแกรม Micro Bit ของตนเอง
มจี ุดเดน่ และจุดด้อยอย่างไร อยากปรับปรงุ ชิ้นงาน หรือพัฒนาชิน้ งานเพิ่มเตมิ อย่างไร
นักเรียนมคี วามรสู้ ึกอยา่ งไรต่อชน้ิ งานของตนเองและช้นิ งานกลมุ่

เช่อื มโยง C (Connect)

นกั เรยี นคดิ วา่ การเขยี นโปรแกรมแสดงผลเป็นข้อความและรูปภาพด้วยโปรแกรม Micro Bit
มลี กั ษณะคลา้ ยกับการทำงานของอุปกรณใ์ ดบา้ ง

ปรับใช้ A (Apply)

นกั เรียนคดิ วา่ การเขยี นโปรแกรมแสดงผลเปน็ ข้อความและรูปภาพดว้ ยโปรแกรม Micro Bit
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างไร
หากนักเรยี นมีความร้สู ึกไม่พอใจกับชนิ้ งานตนเองและชนิ้ งานกลมุ่ จะจดั การความรสู้ ึกนั้นอย่างไร

๙. สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้
๙.๑ สื่อนำเสนอตัวอย่างผลลพั ธ์การเขียนโปรแกรม
๙.๒ แผงวงจร Micro bit และโปรแกรม https://makecode.microbit.org/
๙.๓ โปรแกรมวงลอ้ เสี่ยงทาย https://wordwall.net/
๙.๔ หอ้ งคอมพวิ เตอรท์ ีเ่ ชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็
๙.๕ แหล่งการเรียนรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น

๑o. กจิ กรรมสำรวจความรู้สึกดว้ ยภาพแสดงอารมณแ์ ทนใจกับโปรแกรม Micro bit

๑๑. การวัดและประเมนิ การเรยี นรู้
๑. เชงิ พฤติกรรม

พฤตกิ รรมทต่ี ้องการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์
ความรู้ (K) แบบประเมินกจิ กรรม (ประเมินตามสภาพจรงิ )

กระบวนการ/ทักษะ (P) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน
รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
กลมุ่
แบบประเมินทกั ษะชีวติ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
คุณลักษณะ ฯ (A)
สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้
และมุ่งมน่ั ในการทำงาน

ทักษะชีวติ
สงั เกตพฤตกิ รรม การตอบ
คำถาม การแสดงความรูส้ ึก

๒. ชน้ิ งานหรือภาระงาน ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน
ประเดน็ ทปี่ ระเมนิ
ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรุง (๑)
กิจกรรมสำรวจความรสู้ กึ ด้วยภาพ
แสดงอารมณแ์ ทนใจ นักเรยี นเขียนโปรแกรม นกั เรยี นเขยี น นักเรยี นเขยี น
กับโปรแกรม Micro bit โปรแกรมแสดงผล
แสดงผลข้อมูลและ โปรแกรมแสดงผล ข้อมลู และรปู ภาพ
ได้ถูกตอ้ ง บางสว่ น
รปู ภาพ ไดถ้ ูกต้อง ขอ้ มลู และรูปภาพ

ครบถ้วน ชดั เจน ไดถ้ ูกต้อง

สมบรู ณ์

ลงชอ่ื ..................................................ครูผสู้ อน
(นางสาวกตญั ชลี เอกวุธ)
……/…………./……….

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

ชื่อ-สกลุ นักเรียน.....................................................................หอ้ ง..............................เลขที่…….

ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
๔๓๒๑

๑ การแบง่ หนา้ ที่กนั อยา่ งเหมาะสม
๒ ความร่วมมือกนั ทำงาน
๓ การแสดงความคิดเห็น
๔ การรับฟงั ความคิดเหน็
๕ ความมีนำ้ ใจช่วยเหลอื กนั

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมิน
............../.................../................
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ให้ ๑ คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๒ - ๑๕ ดี

๘ - ๑๑ พอใช้

ต่ำกวา่ ๘ ปรับปรงุ

แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ชอ่ื -สกุล...........................................................................หอ้ ง..............................เลขท.่ี ......................

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน

อันพงึ ประสงค์ ๓ ๒ ๑o

๑. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ มีความรกั และภมู ิใจในความเปน็ ชาติ
กษัตรยิ ์ ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามหลกั ของศาสนา
๑.๓ แสดงออกถึงความจงรกั ภักดตี อ่ สถาบนั พระมหากษัตริย์
๒. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ ๒.๑ ปฏิบตั ิตามระเบียบการสอน และไมล่ อกการบา้ น
๒.๒ ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงตอ่ ความเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเอง
๓. มวี ินยั ๒.๓ ประพฤติ ปฏบิ ัตติ รงตอ่ ความเปน็ จรงิ ตอ่ ผ้อู ่ืน
๓.๑ เข้าเรยี นตรงเวลา
๔. ใฝ่หาความรู้ ๓.๒ แต่งกายเรยี บร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
๓.๓ ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บของหอ้ ง
๕.อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ
๔.๒ มกี ารจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเป็นระบบ
๖. ม่งุ ม่ันใน ๔.๓ สรปุ ความรไู้ ดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล
การทำงาน ๕.๑ ใช้ทรพั ย์สนิ และสง่ิ ของของโรงเรียนอย่างประหยัด
๕.๒ ใช้อุปกรณ์การเรยี นอย่างประหยัดและร้คู ณุ ค่า
๗.รักความเป็นไทย ๕.๓ ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ
๖.๑ มีความตง้ั ใจ และพยายามในการทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
๘.มจี ติ สาธารณะ ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ
๗.๑ มีจิตสำนึกในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย
๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทย
๘.๑ รู้จกั การให้เพื่อส่วนรวม และเพอื่ ผอู้ ื่น
๘.๒ แสดงออกถึงการมีน้ำใจหรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลือผูอ้ ่นื
๘.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพอ่ื ส่วนรวมเม่ือมโี อกาส

ลงช่ือ......................................................................ผูป้ ระเมิน สรปุ ผลการประเมิน  ผา่ น

(.....................................................................) ระดบั  ดเี ยยี่ ม  ดี
........... /................................/......................  ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

- พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน  ไม่ผ่าน ระดบั  ปรับปรุง
- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิชดั เจนและบอ่ ยครั้ง ให้ ๒ คะแนน

- พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิบางคร้ัง ให้ ๑ คะแนน

- พฤตกิ รรมทไ่ี มไ่ ดป้ ฏิบัติ ให้ o คะแนน ร้อยละ ๕o - ๖๖ ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม (๓)

รอ้ ยละ ๔o - ๔๙ ระดบั คณุ ภาพ ดี (๒)

รอ้ ยละ ๒o - ๓๙ ระดบั คณุ ภาพพอใช้ (๑)

ร้อยละ o - ๑๙ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ (o)

แบบประเมินทักษะชวี ติ ของนกั เรยี น

ชือ่ ..................................................นามสกลุ .................................................ชน้ั ...............เลขท.่ี ...........

พฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ
ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
ทกั ษะชีวติ ท่ี รายการประเมนิ (๔) (๓) (๒) (๑)

คาดหวัง รวม .......... คะแนน ระดบั ...........

องคป์ ระกอบท่ี ๑ การตระหนักรูแ้ ละเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผูอ้ น่ื รวม .......... คะแนน ระดับ ..........
รวม .......... คะแนน ระดบั ...............
๑.คน้ พบความถนัด ความสามารถและบคุ ลิกภาพของตนเอง
รวม .......... คะแนน ระดับ ...............
๒.ค้นพบจุดเดน่ จุดดอ้ ยของตนเอง

๓. ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างตนเองและผอู้ ื่น

๔.มองตนเองและผอู้ นื่ ในแง่บวก

๕.รักและเหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ ่ืน

๖.มีความภมู ใิ จในตนเองและผู้อ่นื

๗. มีความเชือ่ มนั่ ในตนเองและผูอ้ ื่น

๘. เคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อ่ืน

๙. มีทักษะในการกำหนดเป้าหมายและทศิ ทางสู่ความสำเรจ็

สรุปผลการประเมิน

องคป์ ระกอบท่ี ๒ การวิเคราะห์ ตดั สินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

๑.เลอื กรบั ข้อมูลข่าวสารอยา่ งไตรต่ รองและรู้เท่าทันสงั คมที่เปล่ยี นแปลง

๒.ตัดสนิ ใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี ผชญิ อยา่ งมเี หตผุ ลและรอบคอบ

๓.แกป้ ญั หาในสถานการณ์วกิ ฤตไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ

๔.มจี นิ ตนาการและความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์

๕.มองโลกในแง่ดี

๖.มีทักษะในการแสวงหาขอ้ มลู และใชข้ ้อมลู ให้เป็นประโยชน์

๗.ประเมนิ และสรา้ งข้อสรปุ บทเรียนชวี ติ ของตนเอง

สรุปผลการประเมนิ

องค์ประกอบท่ี ๓ การจัดการกบั อารมณแ์ ละความเครียด

๑.ประเมนิ และรเู้ ท่าทนั สภาวะอารมณ์ท่เี กดิ ข้ึนกับตนเอง

๒.จดั การความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยวธิ ที ี่เหมาะสม

๓.รูจ้ กั คลายเครยี ดดว้ ยวิธกี ารที่สรา้ งสรรค์

๔.ร้จู ักสรา้ งความสขุ ให้กบั ตนเองและผอู้ นื่

สรปุ ผลการประเมิน

องคป์ ระกอบที่ ๔ การสรา้ งสัมพันธภาพทด่ี ีกบั ผูอ้ ่นื

๑.ยืนยนั ความตอ้ งการของตนเองปฏเิ สธและตอ่ รองบนพ้นื ฐานของความถกู ตอ้ ง

๒.กล้าแสดงความคิดเหน็ อยา่ งสรา้ งสรรค์

๓.ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย

๔.มจี ติ อาสาชว่ ยเหลือผู้อื่น

๕.สร้างสมั พันธภาพท่ีดกี บั ผู้อน่ื ดว้ ยการสื่อสารเชงิ บวก

๖.เคารพกฎกตกิ าของสังคม

๗.ใหค้ ำปรกึ ษาแก่ผู้อ่ืนได้

สรุปผลการประเมนิ

สรุปผลการประเมนิ รายชนั้ เรียน

ชน้ั .......................................ปีการศึกษา.........................
โรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม อำเภอโนนสวุ รรณ จงั หวัดบรุ รี มั ย์

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒

รายชื่อนักเรียน การตระหนัก ู้รและเห็นคุณค่าใน
ตนเองและ ู้ผ ่ือน


การคิด ิวเคราะห์ ัตด ิสนใจ และ ะ
แก้ปัญหาอ ่ยางส ้รางสรรค์ ัด

การจัดการ ักบอารมณ์และ ุค
ความเค ีรยด ณ


การส ้ราง ัสมพันธภาพที่ ีด ักบ ู้ผ ่ือน า


รวม

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

๙.

๑o.

๑๑.

๑๒.

๑๓.

๑๔.

๑๕.

หมายเหตุ ในแต่ละช่ององค์ประกอบทกั ษะชวี ิต ใหใ้ ส่คะแนนระดบั คณุ ภาพ เชน่ ดีมาก = ๔ คะแนน

ดี = ๓ คะแนน พอใช้ = ๒ คะแนน และตอ้ งปรบั ปรงุ = ๑ คะแนน

สรุปผลการประเมนิ รายชั้นเรียน

ดมี าก คดิ เปน็ ร้อยละ................. ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................

พอใช้ คิดเปน็ รอ้ ยละ................. ปรบั ปรุง คดิ เปน็ ร้อยละ.................





บันทึกหลังสอนแผนการสอนที่ ...............
กลุ่มสาระการเรยี นรู้........................................ รายวชิ า............................................ รหสั วิชา .....

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี …………… ภาคเรียนท.ี่ ................ ปีการศึกษา............................
1. ผลท่เี กิดกับผเู้ รียน

1.) การประเมนิ ผลความรู้(K)หลังการเรยี น โดย
ใช้……………………….............................................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการประเมินคิดเป็นรอ้ ยละ..........
ไม่ผา่ นเกณฑ์ข้ันต่ำที่กำหนดไวค้ ดิ เปน็ ร้อยละ....................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................... ...........................................
เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. .............................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการ(P) โดย
ใช…้ …………………….............................................................พบว่านักเรียนผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ...........
ไม่ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ....................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................... ...........................................
เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. .............................

3.) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) โดย
ใช…้ ……………………........................................................พบว่านักเรียนผา่ นการประเมินคิดเปน็ ร้อยละ...........….
ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนดไวค้ ดิ เปน็ รอ้ ยละ....................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................... ...........................................
เน่อื งจาก ............................................................................................................................. .............................
2. ปญั หาและอุปสรรค ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข

 ควรนำแผนไปปรบั ปรงุ เรอ่ื ง ......................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไม่ผ่านการประเมนิ ..................................................................................
 ไมม่ ีข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ............................................ ผสู้ อน
(...................................................)
วนั ท่.ี ......./.................../.................







รหัสวชิ า ว ๓๑๒๑๒ รายวชิ า คอมพิวเตอร์ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้น ม.๔

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรื่อง การเขยี นโปรแกรม (Coding) เวลา ๘ ชวั่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรื่อง โปรแกรมวัดความชืน้ ดิน เวลา ๒ ช่ัวโมง

ชอ่ื ผสู้ อน นางสาวกตญั ชลี เอกวธุ

______________________________________________________________________________________

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชวี ิตในสงั คมที่มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ เพ่ือแก้ปญั หาหรือพฒั นางานอย่างมี
ความคิดสร้างสรรค์ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถึง
ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม

๒. ตัวชว้ี ดั

ว ๔.๑ ม.๔/๕ ใช้ความรแู้ ละทักษะเกยี่ วกับวสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์และ
เทคโนโลยีที่ซบั ซอ้ นในการแก้ปัญหาหรอื พฒั นางาน ได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย

๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๓.๑ อธิบายวธิ ีการเขียนโปรแกรมวัดความชน้ื ดินไดอ้ ย่างถูกต้อง (K)
๓.๒ สามารถเขียนโปรแกรมวดั ความชน้ื ดินได้ (P)
๓.๓ เหน็ ความสำคญั ของการเขยี นโปรแกรมวัดความช้ืนดินด้วย Micro bit (A)

๔. จุดประสงค์การเรยี นรูบ้ รู ณาการทักษะชีวติ

๔.๑ นกั เรียนเกิดการคิดวเิ คราะห์ ตดั สินใจ และแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์
๔.๒ นักเรียนมพี ฤตกิ รรมเลือกรับข้อมลู ข่างสารอยา่ งไตรต่ รองและร้เู ท่าทันสงั คมที่เปลีย่ นแปลง
๔.๓ นักเรยี นมพี ฤติกรรมการตัดสนิ ใจในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีเผชิญอย่างมีเหตุผลและรอบคอบ
๔.๔ นกั เรยี นมีจนิ ตนาการและความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์
๔.๕ นักเรยี นมที กั ษะในการแสวงหาขอ้ มูลและใช้ข้อมลู ให้เป็นประโยชน์

๕.องคป์ ระกอบทักษะชวี ิต : องค์ประกอบที่ ๒ การคิดวเิ คราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์

พฤติกรรมที่คาดหวงั
๑. นกั เรียนมีพฤติกรรมเลือกรบั ขอ้ มลู ขา่ งสารอยา่ งไตรต่ รองและรู้เท่าทนั สังคมที่เปล่ียนแปลง
๒. นักเรยี นมพี ฤติกรรมการตดั สินใจในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี ผชิญอยา่ งมเี หตผุ ลและรอบคอบ
๓. นกั เรยี นมีจนิ ตนาการและความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์
๔. นักเรยี นมที กั ษะในการแสวงหาข้อมูลและใชข้ ้อมลู ให้เป็นประโยชน์

ตัวชว้ี ดั ทกั ษะชีวิต
๑. วเิ คราะหป์ ระโยชน์และคุณคา่ ของข้อมลู ขา่ วสารเลอื กใชข้ ้อมลู ข่าวสารเพื่อสร้างภูมิความรแู้ ละการตัดสนิ ใจ
เมือ่ เผชิญสถานการณ์รอบตัว
๒. ประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี ผชญิ ด้วยข้อมลู และเหตุผลทถ่ี ูกต้อง
๓. สร้างสรรค์ผลงานและแสดงพฤติกรรมไดเ้ ป็นท่ยี อมรับ
๔. แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ ด้วยวิธีการทีห่ ลากหลายถูกต้องและเหมาะสม นำมาใชป้ ระโยชน์
กับตนเองและผู้อนื่

๖. สาระสำคัญ
การวดั ความช้ืนดนิ ดว้ ยโปรแกรม Micro Bit สามารถทำไดโ้ ดยการเตรยี มอุปกรณ์ และวางแผนการเขียน

โปรแกรมอย่างเปน็ ข้ันตอน ซึ่ง ต้องใชแ้ ผงวงจร Micro Bit และ เซน็ เซอรว์ ัดความช้ืนของดนิ มกี ารเปรยี บเทยี บ
ทดลอง ต้งั สมมตุ ฐิ านตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

สาระการเรียนรู้ ประเดน็ คำถามเพ่อื การเรยี นรู้

๑. โปรแกรมวัดความชื้นดิน ๑. นกั เรยี นเคยเขียนโปรแกรมโดยใช้ Micro
bit เพือ่ วัดความชืน้ ดินของดินมาก่อนหรอื ไม่
และนกั เรียนคดิ วา่ การวัดความชืน้ ของดนิ
เป็นส่วนหน่ึงของการทำการเกษตร
แบบ Smart Farm หรอื ไม่

๗. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นำ

๗.๑ นักเรยี นและครู รว่ มกันทบทวนองค์ความรู้เดิมเก่ียวกับ ส่วนประกอบของโปรแกรม Micro Bit
และแผงวงจร Micro Bit

๗.๒ นักเรียนและครู ร่วมกัน สนทนาเกยี่ วกบั การเกษตรในรูปแบบ Smart Farm ยคุ ใหมใ่ นปัจจบุ ัน
โดยครู ใชค้ ำถามเกร่ินนำถามนกั เรยี นวา่ นกั เรยี นคดิ วา่ Smart Farm ในยุคใหมซ่ ่งึ เปน็ ยุคปัจจุบนั มีลักษณะ
เป็นอย่างไร และนักเรยี นเคยเห็นการเกษตร โดยใช้ Smart Farm มาก่อนหรือไม่ เพ่ือเป็นการเกริน่ นำเขา้
สบู่ ทเรยี น

ขน้ั สอน

๗.๓ นักเรยี น ชมวีดีทศั นก์ ารเกษตรกบั Smart Farm ที่ครู ได้นำมา นำเสนอกบั นักเรียนจำนวนท้ังหมด
๓ เร่อื งที่มีความแตกตา่ งกัน เพอ่ื ให้นักเรยี นเกิดทักษะการวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ไขปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
สามารถเลอื กรับข้อมูลขา่ วสารอย่างไตร่ตรองและรเู้ ท่าทนั สังคมท่ีเปล่ียนแปลง

๗.๔ ครูใชค้ ำถามกระตุน้ การเรยี นรู้กบั นักเรยี นว่า การเกษตรกบั Smart Farm ทั้ง ๓ วดี ที ัศนน์ ั้น
มีความเหมือนและแตกตา่ งกันอย่างไรและนักเรยี นคดิ ว่า จะนำมาใช้ในชวี ิตประจำวนั ของตนเองไดใ้ นรปู แบบ
ใดบ้างเพื่อสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นเกดิ การคดิ วเิ คราะห์

๗.๕ ครทู ำการส่มุ ให้นกั เรียนตอบคำถาม ข้างต้น เป็นรายบุคคล โดย คำถามดังกลา่ วจะช่วยใหน้ กั เรียน
ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเผชิญอยา่ งมีเหตุผลและรอบคอบสามารถประเมนิ สถานการณต์ า่ ง ๆ ที่เผชญิ
ดว้ ยข้อมูลและเหตุผลที่ถูกตอ้ ง

๗.๖ นกั เรยี นและครูรว่ มกันเรียนรวู้ ธิ ีการเขียนโปรแกรมด้วย Micro bit ให้สามารถวดั ความช้ืนของดนิ
ได้ โดยมคี รูเปน็ ผสู้ าธติ วธิ กี ารเขยี นโปรแกรม วดั ความชืน้ ของดินด้วยโปรแกรม Micro bit

๗.๗ ครทู ำการแบง่ กลมุ่ นักเรียนออกเปน็ ๕ กลุ่มและแจกอปุ กรณ์ทเ่ี กยี่ วกับการวัดความชืน้ ของดนิ
เช่น แผงวงจรด้วย Micro bit อปุ กรณส์ ำหรับวัดความชน้ื ดิน ตน้ ไม้จำนวน ๒ ต้น ท่มี คี วามช้ืนของดนิ
แตกต่างกนั

๗.๘ นักเรยี นแต่ละกลุ่มทำการเขยี นโปรแกรมด้วย Micro bit วัดความชนื้ ของดินและจดบนั ทึกลง
ในแบบบนั ทึกของกลุ่ม

๗.๙ ครูใช้คำถามกระตุน้ การเรียนร้ใู ห้นักเรยี นมีจนิ ตนาการและความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์โดยกำหนด
สถานการณ์ปัญหา คือ หากนักเรียนแตล่ ะกลุ่มเปน็ เจ้าของกจิ การเกษตรขนาดใหญ่ และตอ้ งใชห้ ลกั การ
ของ Smart Farm ท่เี กี่ยวกบั การวัดความชื้นของดิน นกั เรียนคดิ ว่าจะทำการเกษตรโดยปลกู พชื ชนดิ ใดและ
พืชที่นกั เรียนเลือกจะสามารถเจริญเติบโตไดใ้ นความชิน้ ในความชน้ื ของดิน และอากาศแบบใด

๗.๑o นกั เรยี นแต่ละกลุ่มวางแผนวาดภาพ Smart Farm ในฝันของกลุ่มตนเองจากสถานการณป์ ัญหา
ข้างต้นโดย ใช้การค้นหาขอ้ มูลท่ีเป็นประโยชน์ ผา่ นส่อื เทคโนโลยีซ่ึงส่งเสรมิ ให้นักเรียน มที กั ษะในการแสวงหา
ข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลายถกู ต้องและเหมาะสมนำมาใช้ประโยชนก์ บั ตนเอง
และผอู้ นื่

ข้ันสรุป

๗.๑๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ Smart Farm ในฝันของกลมุ่ ตนเอง หน้าช้นั เรยี น และแสดง
ความคดิ เห็นต่อสง่ิ ที่ไดเ้ รียนรู้ผา่ น กระดานแสดงความคิดเหน็ Mentimeter

๗.๑๒ นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ เกย่ี วกบั การเขียนโปรแกรมวัดความช้ืนของดิน
ด้วยโปรแกรม Micro bit และการประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั เพ่อื จดั ระเบยี บองค์ความรขู้ องนักเรียน
ใหถ้ ูกต้องและตรงกัน

๘. การพัฒนาทักษะชวี ิตโดยใชค้ ำถาม R-C-A
สะทอ้ น R (Reflect)

นักเรียนคิดวา่ การเขียนโปรแกรมวัดความชน้ื ของดนิ ด้วยโปรแกรม Micro Bit มีปัญหาในการดำเนินการ
อยา่ งไรบา้ ง
นกั เรียนมีความรู้สึกอยา่ งไรกับการเขียนโปรแกรมวัดความชื้นของดนิ
นักเรียนพอใจในผลงานของกลมุ่ หรือไม่

เช่อื มโยง C (Connect)

นักเรยี นคดิ วา่ การเขยี นโปรแกรมวดั ความชน้ื ของดินมีความจำเปน็ มากน้อยเพียงใด และมีความคล้าย
กับอุปกรณใ์ ดในชวี ติ ประจำวัน

ปรับใช้ A (Apply)
นักเรยี นคิดวา่ การเขยี นโปรแกรมวัดความชน้ื ของดนิ ด้วยโปรแกรม Micro Bit สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้
ในการเกษตรยุคใหม่และชวี ติ ประจำวันได้อย่างไรบา้ ง
นกั เรยี นมวี ิธกี ารจัดการกบั ความรูส้ กึ ไม่พอใจในผลงานของตนเองอย่างไร

๙. ส่ือการเรยี นรู/้ แหลง่ การเรียนรู้
๙.๑ วิดิทศั น์ Smart Farm

วดิ ิทศั น์ Smart Farm เรื่องท่ี ๑ https://www.youtube.com/watch?v=a92O-v7FGxY
วดิ ิทัศน์ Smart Farm เรอ่ื งที่ ๒ https://www.youtube.com/watch?v=6HTct5uMGzk
วดิ ทิ ศั น์ Smart Farm เรอื่ งที่ ๓ https://www.youtube.com/watch?v=eO3UhQFr5kg
๙.๒ QR Code
๙.๓ แผงวงจร Micro bit
๙.๔ อปุ กรณว์ ัดความชน้ื ดิน
๙.๕ ต้นไมจ้ ำนวน ๒ ตน้ ท่ีมคี วามช้นื ของดินแตกต่างกนั
๙.๖ โปรแกรม Micro bit
๙.๗ กระดานแสดงความคดิ เหน็ Mentimeter
๙.๘ Computer และ Smartboard

๑o. กิจกรรมหมดปญั หาการเกษตรกบั Smart Farm ยุคใหม่

๑๑. การวดั และประเมนิ การเรียนรู้
๑. เชิงพฤติกรรม

พฤติกรรมที่ต้องการวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์

ความรู้ (K) แบบประเมนิ กจิ กรรม (ประเมินตามสภาพจริง)

กระบวนการ/ทักษะ (P) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

คณุ ลกั ษณะ ฯ (A) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มัน่
ในการทำงาน

ทกั ษะชวี ติ แบบประเมินทกั ษะชวี ติ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรม การตอบคำถาม
การแสดงความร้สู ึก

๒. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน

ประเดน็ ทีป่ ระเมนิ ระดับคณุ ภาพ/คะแนน

ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)

กิจกรรมหมดปัญหาการเกษตรกบั นักเรยี นสามารถวางแผน นกั เรียนสามารถ นักเรยี นสามารถวางแผน
Smart Farm ยุคใหม่ วเิ คราะห์ เขียนโปรแกรม วางแผนวิเคราะห์ วเิ คราะห์ เขียนโปรแกรม
วัดความชน้ื ดิน ไดถ้ ูกต้อง เขียนโปรแกรม วดั ความช้นื ดนิ ไดถ้ ูกต้อง
ครบถว้ น ชัดเจน สมบรู ณ์ วัดความชน้ื ดินได้ บางส่วน

ถูกต้อง

ลงชื่อ..................................................ครผู สู้ อน
(นางสาวกตญั ชลี เอกวุธ)
……/…………./……….

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

ชื่อ-สกลุ นักเรียน.....................................................................หอ้ ง..............................เลขที่…….

ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
๔๓๒๑

๑ การแบง่ หนา้ ที่กนั อยา่ งเหมาะสม
๒ ความร่วมมือกนั ทำงาน
๓ การแสดงความคิดเห็น
๔ การรับฟงั ความคิดเหน็
๕ ความมีนำ้ ใจช่วยเหลอื กนั

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมิน
............../.................../................
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ให้ ๑ คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

๑๒ - ๑๕ ดี

๘ - ๑๑ พอใช้

ต่ำกวา่ ๘ ปรับปรงุ

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ชอื่ -สกุล...........................................................................หอ้ ง..............................เลขท.่ี ......................

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน

อันพึงประสงค์ ๓ ๒ ๑o

๑. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ มีความรกั และภมู ิใจในความเป็นชาติ
กษตั รยิ ์ ๑.๒ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
๑.๓ แสดงออกถึงความจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์
๒. ซ่ือสตั ย์สจุ รติ ๒.๑ ปฏบิ ัตติ ามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบา้ น
๒.๒ ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงตอ่ ความเปน็ จรงิ ต่อตนเอง
๓. มีวนิ ัย ๒.๓ ประพฤติ ปฏบิ ัติตรงต่อความเป็นจรงิ ต่อผอู้ น่ื
๓.๑ เข้าเรยี นตรงเวลา
๔. ใฝห่ าความรู้ ๓.๒ แตง่ กายเรียบรอ้ ยเหมาะสมกับกาลเทศะ
๓.๓ ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของห้อง
๕.อยู่อย่างพอเพียง ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ
๔.๒ มกี ารจดบนั ทกึ ความร้อู ย่างเปน็ ระบบ
๖. มงุ่ ม่นั ใน ๔.๓ สรปุ ความรไู้ ด้อย่างมีเหตุผล
การทำงาน ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ นิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั
๕.๒ ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยดั และรู้คุณคา่
๗.รกั ความเป็นไทย ๕.๓ ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงิน
๖.๑ มคี วามต้ังใจ และพยายามในการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมาย
๘.มีจติ สาธารณะ ๖.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ
๗.๑ มจี ติ สำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
๗.๒ เห็นคุณค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย
๘.๑ ร้จู ักการให้เพื่อส่วนรวม และเพอื่ ผอู้ ื่น
๘.๒ แสดงออกถึงการมนี ้ำใจหรือการใหค้ วามชว่ ยเหลือผู้อน่ื
๘.๓ เข้าร่วมกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพอ่ื สว่ นรวมเม่ือมีโอกาส

ลงช่ือ......................................................................ผปู้ ระเมนิ สรปุ ผลการประเมนิ  ผ่าน

(.....................................................................) ระดบั  ดีเยย่ี ม  ดี
........... /................................/......................  ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

- พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ ๓ คะแนน  ไม่ผ่าน ระดบั  ปรับปรุง
- พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั ชิ ดั เจนและบอ่ ยครงั้ ให้ ๒ คะแนน

- พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิบางคร้งั ให้ ๑ คะแนน

- พฤตกิ รรมทไี่ ม่ไดป้ ฏิบตั ิ ให้ o คะแนน รอ้ ยละ ๕o - ๖๖ ระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม (๓)

ร้อยละ ๔o - ๔๙ ระดับคณุ ภาพ ดี (๒)

ร้อยละ ๒o - ๓๙ ระดับคณุ ภาพพอใช้ (๑)

รอ้ ยละ o - ๑๙ ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง (o)

แบบประเมินทักษะชวี ติ ของนกั เรยี น

ชือ่ ..................................................นามสกลุ .................................................ชน้ั ...............เลขท.่ี ...........

พฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ
ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
ทกั ษะชีวติ ท่ี รายการประเมนิ (๔) (๓) (๒) (๑)

คาดหวัง รวม .......... คะแนน ระดบั ...........

องคป์ ระกอบท่ี ๑ การตระหนักรูแ้ ละเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผูอ้ น่ื รวม .......... คะแนน ระดับ ..........
รวม .......... คะแนน ระดบั ...............
๑.คน้ พบความถนัด ความสามารถและบคุ ลิกภาพของตนเอง
รวม .......... คะแนน ระดับ ...............
๒.ค้นพบจุดเดน่ จุดดอ้ ยของตนเอง

๓. ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างตนเองและผอู้ ื่น

๔.มองตนเองและผอู้ นื่ ในแง่บวก

๕.รักและเหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ ่ืน

๖.มีความภมู ใิ จในตนเองและผู้อ่นื

๗. มีความเชือ่ มนั่ ในตนเองและผูอ้ ื่น

๘. เคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อ่ืน

๙. มีทักษะในการกำหนดเป้าหมายและทศิ ทางสู่ความสำเรจ็

สรุปผลการประเมิน

องคป์ ระกอบท่ี ๒ การวิเคราะห์ ตดั สินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

๑.เลอื กรบั ข้อมูลข่าวสารอยา่ งไตรต่ รองและรู้เท่าทันสงั คมที่เปล่ยี นแปลง

๒.ตัดสนิ ใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี ผชญิ อยา่ งมเี หตผุ ลและรอบคอบ

๓.แกป้ ญั หาในสถานการณ์วกิ ฤตไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ

๔.มจี นิ ตนาการและความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์

๕.มองโลกในแง่ดี

๖.มีทักษะในการแสวงหาขอ้ มลู และใชข้ ้อมลู ให้เป็นประโยชน์

๗.ประเมนิ และสรา้ งข้อสรปุ บทเรียนชวี ติ ของตนเอง

สรุปผลการประเมนิ

องค์ประกอบท่ี ๓ การจัดการกบั อารมณแ์ ละความเครียด

๑.ประเมนิ และรเู้ ท่าทนั สภาวะอารมณ์ท่เี กดิ ข้ึนกับตนเอง

๒.จดั การความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยวธิ ที ี่เหมาะสม

๓.รูจ้ กั คลายเครยี ดดว้ ยวิธกี ารที่สรา้ งสรรค์

๔.ร้จู ักสรา้ งความสขุ ให้กบั ตนเองและผอู้ นื่

สรปุ ผลการประเมิน

องคป์ ระกอบที่ ๔ การสรา้ งสัมพันธภาพทด่ี ีกบั ผูอ้ ่นื

๑.ยืนยนั ความตอ้ งการของตนเองปฏเิ สธและตอ่ รองบนพ้นื ฐานของความถกู ตอ้ ง

๒.กล้าแสดงความคิดเหน็ อยา่ งสรา้ งสรรค์

๓.ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย

๔.มจี ติ อาสาชว่ ยเหลือผู้อื่น

๕.สร้างสมั พันธภาพท่ีดกี บั ผู้อน่ื ดว้ ยการสื่อสารเชงิ บวก

๖.เคารพกฎกตกิ าของสังคม

๗.ใหค้ ำปรกึ ษาแก่ผู้อ่ืนได้

สรุปผลการประเมนิ

สรุปผลการประเมนิ รายชนั้ เรียน

ชน้ั .......................................ปีการศึกษา.........................
โรงเรยี นโนนสุวรรณพิทยาคม อำเภอโนนสวุ รรณ จงั หวัดบรุ รี มั ย์

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒

รายชื่อนักเรียน การตระหนัก ู้รและเห็นคุณค่าใน
ตนเองและ ู้ผ ่ือน


การคิด ิวเคราะห์ ัตด ิสนใจ และ ะ
แก้ปัญหาอ ่ยางส ้รางสรรค์ ัด

การจัดการ ักบอารมณ์และ ุค
ความเค ีรยด ณ


การส ้ราง ัสมพันธภาพที่ ีด ักบ ู้ผ ่ือน า


รวม

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

๙.

๑o.

๑๑.

๑๒.

๑๓.

๑๔.

๑๕.

หมายเหตุ ในแต่ละช่ององค์ประกอบทกั ษะชวี ิต ใหใ้ ส่คะแนนระดบั คณุ ภาพ เชน่ ดีมาก = ๔ คะแนน

ดี = ๓ คะแนน พอใช้ = ๒ คะแนน และตอ้ งปรบั ปรงุ = ๑ คะแนน

สรุปผลการประเมนิ รายชั้นเรียน

ดมี าก คดิ เปน็ ร้อยละ................. ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................

พอใช้ คิดเปน็ รอ้ ยละ................. ปรบั ปรุง คดิ เปน็ ร้อยละ.................





บันทึกหลังสอนแผนการสอนที่ ...............
กลุ่มสาระการเรยี นรู้........................................ รายวชิ า............................................ รหสั วิชา .....

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี …………… ภาคเรียนท.ี่ ................ ปีการศึกษา............................
1. ผลท่เี กิดกับผเู้ รียน

1.) การประเมนิ ผลความรู้(K)หลังการเรยี น โดย
ใช้……………………….............................................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการประเมินคิดเป็นรอ้ ยละ..........
ไม่ผา่ นเกณฑ์ข้ันต่ำที่กำหนดไวค้ ดิ เปน็ ร้อยละ....................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................... ...........................................
เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. .............................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการ(P) โดย
ใช…้ …………………….............................................................พบว่านักเรียนผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ...........
ไม่ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ....................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................... ...........................................
เนอ่ื งจาก ............................................................................................................................. .............................

3.) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) โดย
ใช…้ ……………………........................................................พบว่านักเรียนผา่ นการประเมินคิดเปน็ ร้อยละ...........….
ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนดไวค้ ดิ เปน็ รอ้ ยละ....................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................... ...........................................
เน่อื งจาก ............................................................................................................................. .............................
2. ปญั หาและอุปสรรค ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข

 ควรนำแผนไปปรบั ปรงุ เรอ่ื ง ......................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไม่ผ่านการประเมนิ ..................................................................................
 ไมม่ ีข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ............................................ ผสู้ อน
(...................................................)
วนั ท่.ี ......./.................../.................







รหสั วชิ า ว ๓๑๒๑๒ รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ม.๔

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เร่ือง การเขียนโปรแกรม (Coding) เวลา ๘ ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง โปรแกรมเสียงเพลง เวลา ๒ ช่ัวโมง

ชอื่ ผสู้ อน นางสาวกตญั ชลี เอกวธุ

______________________________________________________________________________________

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวติ ในสังคมที่มกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ เพื่อแกป้ ญั หาหรือพัฒนางานอยา่ งมี
ความคดิ สร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม โดยคำนึงถงึ
ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสง่ิ แวดล้อม

๒. ตวั ชี้วัด

ว ๔.๑ ม.๔/๕ ใชค้ วามรแู้ ละทักษะเก่ยี วกบั วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละ
เทคโนโลยที ซี่ บั ซ้อนในการแก้ปัญหาหรอื พฒั นางาน ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภยั

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ อธบิ ายวิธีการเขียนโปรแกรมเสียงเพลงได้อยา่ งถูกต้อง (K)
๓.๒ สามารถเขียนโปรแกรมแสดงเสยี งเพลงได้ (P)
๓.๓ เห็นความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมแสดงเสียงเพลงด้วย Micro bit (A)

๔. จุดประสงค์การเรียนรบู้ ูรณาการทกั ษะชีวิต

๔.๑ นกั เรยี นเกดิ การจดั การกับอารมณ์และความเครยี ด
๔.๒ นกั เรียนมพี ฤติกรรมการประเมินและรู้เท่าทนั สภาวะอารมณ์ทีเ่ กิดขน้ึ กบั ตนเอง
๔.๓ นักเรยี นมีพฤตกิ รรมการรจู้ กั คลายเครียดดว้ ยวธิ ีการทส่ี รา้ งสรรค์
๔.๔ นกั เรียนรู้จกั สร้างความสขุ ให้กับตนเองและผอู้ ่นื

๕.องค์ประกอบทักษะชีวติ : องค์ประกอบท่ี ๓ การจัดการกับอารมณแ์ ละความเครียด

พฤตกิ รรมทคี่ าดหวงั
๑. นกั เรยี นมีพฤติกรรมการประเมินและรู้เท่าทนั สภาวะอารมณท์ เี่ กิดขนึ้ กบั ตนเอง
๒. นักเรียนมีพฤติกรรมการร้จู กั คลายเครยี ดดว้ ยวิธกี ารที่สร้างสรรค์
๓. นักเรียนรู้จกั สรา้ งความสขุ ให้กับตนเองและผอู้ นื่

ตวั ช้วี ดั ทักษะชีวติ
๑. สำรวจและประเมินอารมณ์ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของตนเองได้
๒. เลอื กวธิ ีการจดั การหรอื ควบคมุ อารมณ์ของตนเองได้เหมาะสม
๓. มีวธิ กี ารคลายความเครียดอย่างสรา้ งสรรค์
๔. ปรับความคิด ความรสู้ กึ อารมณ์ ที่เกดิ ขึ้นในสถานการณต์ า่ ง ๆ ที่อาจก่อใหเ้ กิดความไม่พอใจหรอื
ความเครยี ดไดด้ ว้ ยวิธีการทถ่ี ูกต้องและสร้างสรรค์

๖. สาระสำคญั
Micro bit สามารถทำการเช่ือมตอ่ กบั ลำโพงข้างนอก ซ่ึงสามารถสงั่ การใหเ้ สียงออกเปน็ ดนตรโี นต้ ตา่ ง ๆ ได้

ทำให้สามารถสร้างเครอ่ื งดนตรี หรือแตง่ เป็นเพลงต่าง ๆ ไดเ้ ช่นกนั โดยอาศยั การเรยี นรู้ การแสดงผลดว้ ยเสยี ง
ผ่านลำโพง Buzzer

สาระการเรยี นรู้ ประเดน็ คำถามเพื่อการเรยี นรู้

๑. การเขียนโปรแกรมแตง่ เพลงดว้ ย Micro bit ๑. นกั เรยี นเคยเขียนโปรแกรมโดยใช้ Micro
๒. การแสดงผลดว้ ยเสยี งผา่ นลำโพง Buzzer bit เพ่ือแต่งเพลงหรอื ไม่ และนกั เรียนคดิ วา่
ผลลัพธ์จากการแต่งเพลงดว้ ย Micro bit
จะมีความคลา้ ยกบั เสยี งบรรเลงจากเคร่ือง
ดนตรีอืน่ ๆ หรอื ไม่

๗. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นำ

๗.๑ นักเรียนและครู รว่ มกนั ทบทวนองคค์ วามรู้เดิม เกย่ี วกับส่วนประกอบของโปรแกรมวธิ ีการเขยี น
โปรแกรม Micro bit ให้แสดงผลในรูปแบบอักษร

๗.๒ นกั เรียนและครรู ่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั การประยุกต์ใช้โปรแกรม Micro bit ใหแ้ สดงผลในรปู แบบ
ของเสยี งโดย ครูถามนักเรียนวา่ นักเรียนเคยเขียนโปรแกรม Micro bit ให้แสดงผลเป็นรูปแบบของเสียงมา
กอ่ นหรือไม่และนักเรยี นคดิ ว่าโปรแกรม Micro bit จะสามารถแสดงผลเป็นรูปแบบของเสยี งเพลง ไดห้ รือไม่

ขั้นสอน

๗.๓ นักเรยี นและครู ร่วมกัน ชมตวั อย่างผลลัพธ์การเขียนโปรแกรมจาก Micro bit ใหแ้ สดงผล
ในรูปแบบของเสียงในลักษณะของเสียงเพลง

๗.๔ ครูทำการสุ่มถามนักเรยี นเปน็ รายบุคคลว่า นกั เรียนชื่นชอบเพลงใดและเพลงใดทแ่ี สดงแทน
ความรสู้ ึกในปจั จบุ ัน ของนักเรียนมากที่สุด ซง่ึ จะส่งผลให้นักเรยี นสามารถจดั การกบั อารมณ์และความเครียด
ประเมินและรเู้ ทา่ ทันสภาวะอารมณท์ ีเ่ กดิ ขน้ึ กบั ตนเอง จากการบอกช่อื ของเพลงกบั ครู

๗.๕ ครูสาธิตวธิ ีการเขยี นโปรแกรมด้วย Micro bit ให้แสดงผลในรูปแบบของเสียงในลักษณะของเพลง
ให้นกั เรยี นปฏิบัตชิ นิ้ งาน เป็นรายบุคคลตามตวั อย่างท่ีครไู ด้ทำการสาธิต (เพลงหนูมาลี)

๗.๖ เมื่อนกั เรยี นเกดิ องค์ความรู้ นกั เรียน รวมกลุ่มและ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพลงสขุ ใจกับดนตรีจาก Micro
bit ของกลุม่ ตนเอง โดยให้นกั เรียนเสนอเพลง และเลือกเพลงมาเขียนโปรแกรมดว้ ย Micro bit แสดงผลเพลง
ทน่ี ักเรียนช่ืนชอบและแทนความร้สู กึ ในปจั จุบันของสมาชิกในกลมุ่ จำนวน ๑ เพลง

ขัน้ สรุป

๗.๗ นักเรียนและครูร่วมกันสรปุ องค์ความรู้ เกีย่ วกับการเขียนโปรแกรม Micro bit แสดงผลในรูปแบบ
ของเสยี ง เพอื่ เป็นการจดั ระเบยี บองค์ความรู้ของนักเรียนใหถ้ ูกต้องและตรงกัน

๘. การพฒั นาทกั ษะชีวติ โดยใช้คำถาม R-C-A
สะทอ้ น R (Reflect)

นักเรียนคิดวา่ การเขียนโปรแกรมเสียงเพลง ดว้ ยโปรแกรม Micro Bit มีปญั หาในการดำเนินการ
อยา่ งไรบ้าง
นักเรยี นมคี วามรสู้ ึกอยา่ งไรในการทำกจิ กรรมน้ี
นักเรียนรสู้ กึ อยา่ งไรจึงเลอื กเพลงนน้ั ในการเขียนโปรแกรม

เชอ่ื มโยง C (Connect)

นกั เรียนคิดวา่ การเขยี นโปรแกรมเสยี งเพลงและมคี วามคล้ายกับอุปกรณใ์ ดในชวี ิตประจำวัน
ทำไมนักเรยี นถงึ รสู้ ึกเช่นนั้น

ปรับใช้ A (Apply)
นักเรียนคดิ ว่าการเขยี นโปรแกรมเสยี งเพลง ดว้ ยโปรแกรม Micro Bit สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้
ในชวี ิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง
หากนักเรียนรสู้ ึกเครียดจะมีวธิ ีจัดการความเครียดอยา่ งไร

๙. สือ่ การเรยี นรู/้ แหลง่ การเรยี นรู้
๙.๑ แผงวงจร Micro Bit
๙.๒ โปรแกรม Micro Bit
๙.๓ Computer และ Smartboard

๙.๔ ลำโพง Buzzer

๑o. กิจกรรมเพลงสุขใจกับดนตรีจากโปรแกรม Micro bit

๑๑. การวัดและประเมนิ การเรียนรู้
๑. เชิงพฤตกิ รรม

พฤติกรรมท่ีต้องการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์

ความรู้ (K) แบบประเมนิ กจิ กรรม (ประเมินตามสภาพจรงิ )

กระบวนการ/ทักษะ (P) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์

คณุ ลักษณะ ฯ (A) แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สงั เกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมนั่
ในการทำงาน

ทักษะชีวิต แบบประเมนิ ทักษะชีวติ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรม การตอบคำถาม
การแสดงความรู้สึก

๒. ช้นิ งานหรือภาระงาน

ประเด็นทีป่ ระเมิน ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน

ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)

กจิ กรรมเพลงสุขใจกับดนตรจี าก นักเรียนสามารถวางแผน นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถวางแผน
โปรแกรม Micro bit
วิเคราะห์ เขยี นโปรแกรม วางแผนวิเคราะห์ วเิ คราะห์ เขยี นโปรแกรม

แสดงผลเสยี งเพลงได้ เขียนโปรแกรม แสดงผลเสยี งเพลงได้ถกู ต้อง

ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน แสดงผลเสียงเพลงได้ บางสว่ น

สมบรู ณ์ ถกู ต้อง

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(นางสาวกตญั ชลี เอกวุธ)
……/…………./……….

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม

ชื่อ-สกลุ นักเรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขท่ี…….

ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
๔๓๒๑

๑ การแบง่ หนา้ ท่ีกนั อยา่ งเหมาะสม
๒ ความรว่ มมือกันทำงาน
๓ การแสดงความคดิ เห็น
๔ การรับฟังความคดิ เหน็
๕ ความมีนำ้ ใจช่วยเหลอื กนั

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมนิ
............../.................../................
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ ๒ คะแนน
ให้ ๑ คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ

๑๒ - ๑๕ ดี

๘ - ๑๑ พอใช้

ตำ่ กว่า ๘ ปรับปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ชอ่ื -สกุล...........................................................................หอ้ ง..............................เลขท่.ี ......................

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน

อันพงึ ประสงค์ ๓ ๒ ๑o

๑. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ มีความรกั และภมู ใิ จในความเปน็ ชาติ
กษัตรยิ ์ ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามหลักของศาสนา
๑.๓ แสดงออกถึงความจงรักภกั ดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์
๒. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ ๒.๑ ปฏิบตั ิตามระเบียบการสอน และไมล่ อกการบา้ น
๒.๒ ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงตอ่ ความเปน็ จริงตอ่ ตนเอง
๓. มวี ินยั ๒.๓ ประพฤติ ปฏบิ ัตติ รงต่อความเป็นจริงต่อผ้อู ื่น
๓.๑ เข้าเรยี นตรงเวลา
๔. ใฝ่หาความรู้ ๓.๒ แต่งกายเรยี บร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
๓.๓ ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บของหอ้ ง
๕.อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ
๔.๒ มกี ารจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเป็นระบบ
๖. ม่งุ ม่ันใน ๔.๓ สรปุ ความรไู้ ดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล
การทำงาน ๕.๑ ใช้ทรพั ย์สนิ และสิง่ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั
๕.๒ ใช้อุปกรณ์การเรยี นอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่
๗.รักความเป็นไทย ๕.๓ ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงิน
๖.๑ มีความตง้ั ใจ และพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
๘.มจี ติ สาธารณะ ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพือ่ ใหง้ านสำเร็จ
๗.๑ มีจิตสำนึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย
๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย
๘.๑ รู้จกั การให้เพื่อส่วนรวม และเพอื่ ผอู้ ่นื
๘.๒ แสดงออกถึงการมีน้ำใจหรือการใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้อ่นื
๘.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพอ่ื สว่ นรวมเมื่อมโี อกาส

ลงช่ือ......................................................................ผปู้ ระเมิน สรปุ ผลการประเมิน  ผา่ น

(.....................................................................) ระดบั  ดเี ย่ยี ม  ดี
 ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน
........... /................................/......................
 ไม่ผา่ น ระดบั  ปรับปรงุ
เกณฑ์การใหค้ ะแนน

- พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน

- พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิชดั เจนและบอ่ ยครัง้ ให้ ๒ คะแนน

- พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิบางคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ร้อยละ ๕o - ๖๖ ระดับคุณภาพ ดเี ยย่ี ม (๓)
- พฤตกิ รรมทไ่ี มไ่ ดป้ ฏิบัติ ให้ o คะแนน

รอ้ ยละ ๔o - ๔๙ ระดับคณุ ภาพ ดี (๒)

ร้อยละ ๒o - ๓๙ ระดับคณุ ภาพพอใช้ (๑)

ร้อยละ o - ๑๙ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง (o)


Click to View FlipBook Version