The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนที่ และการแปลความหมายแผนที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by loveron_ron, 2021-10-05 10:00:20

แผนที่ และการแปลความหมายแผนที่

แผนที่ และการแปลความหมายแผนที่

แผนที่และการแปลความ
หมายแผนที่

สารบัญ หน้า

เรื่อง 1-3
4-8
1 ความหมายของแผนที่และ

ประวัติแผนที่

2 องค์ประกอบของแผนที่

3 การจำแนกชนิดของแผนที่ 9-13

4 การหาระยะบนแผนที่ 14-15

5 การอ่านและแปลความในแผนที่ 16

6 ประโยชน์ของแผนที่ 17

1

พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ความหมายของแผนที่
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
แผนที่
ให้ความหมายของแผนที่ไว้ว่า
“แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของ หมายถึง การนำเอารูปภาพสิ่งต่างๆ บน
พื้ นผิวโลกทั้งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและ พื้นผิวโลก (Earth’ surface) มาย่อส่วน
ที่ปรุงแต่งขึ้ นโดยแสดงลงในพื้ นแบน ให้เล็กลง แล้วนำมาเขียนลงกระดาษ
ราบด้วยการย่อให้เล็กลงตามขนาดที่ แผ่นราบ สิ่งต่างๆ บนพื้นโลกประกอบไป
ต้องการและอาศัยเครื่องหมายกับ ด้วยสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
สัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น” (nature) และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
(manmade) สิ่งเหล่านี้แสดงบนแผนที่
โดยใช้สี เส้นหรือรูปร่างต่างๆ ที่เป็น
สัญลักษณ์แทน

2

ประวัติความเป็นมามกใปนีปราโอถะรดึทดงะัยี่ยวงตมุัีคมตจกีิกกกะาลาเารปรรา็คน้พทงนัแกำฒพผแานบรผนเาบรแนทิั่ีแม่นผทกีลจ่นทลไึะัาดทกบ้ีปก่มเทถีีรรแู่ืหัท่กบอผลำคงปันกจรรรทุีฐาาอ่งกกาวบแานกใผงรนบรำนัเะบนดดท้ิดีรทวน่ิอึาเียกเวกษรอเืณคอปอำราทาันี้่งไปมาิวใ้รจนนไุุสมทษส่แตายม่์ลังอำยศะกาใดาวศหิ่ัสนายมน่เอโห3ายดูน0จ่ีจย0ยนน0ว

ความสามารถในการทำแผนที่เป็นสัญชาติญาณอย่างหนึ่งของมนุษญ์
ชาติ พฤติกรรมที่แสดงออกทางแผนที่มีมานานแล้วพวกเอสกิโม
รู้จักการทำแผนที่ด้วยการใช้ไม้สลักติดลงบนหนังแมวน้ำแสดงแหล่ง
ล่าสัตว์ตกปลาชาวเกาะมาร์แชลใช้เปลือกหอยแทนเกาะก้าน
มะพร้าวแทนเส้นทางการเดินเรือละบริเวณที่มีคลื่นจัด พวก
NOMAD ที่เร่ร่อนทะเลทรายตามที่ต่างๆจะใช้โดยขีดบนผืนทราย

3

ประวัติแผนที่ประเทศไทย

แผนที่ปโตเลมีฉบับที่เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ.693 เรียกบริเวณที่ตั้งประเทศไทยปัจจุบันว่า
AUREA KHERSONESUS ซึ่งแปลว่า แหลมทอง (GLODEN PENINSULAR) แผนที่

ภายในประเทศที่เก่าแก่ที่สุดคือ แผนที่ยุทธศาสตร์สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
พ.ศ.1893-1912

การทำแผนที่ภายในเริ่มเมื่อปลายรัชสมัย 1
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2411 ได้มีการทำแผนที่บริเวณชาย ภาพแผนที่ปโตเล พ.ศ.693 เรียกบริเวณที่ตั้งประเทศไทยปัจจุบันว่า
พระราชาอาณาเขตด้านตะวันตกของไทย AUREA KHERSONESUS
เพื่อใช้กำหนดแนวเขตพรมแดนไทยกับ
พม่า พ.ศ. 2413 ทำแผนที่กรุงเทพฯ และ

กรุงธนบุรี โดยชาวต่างประเทศ

ภาพแผนที่พระนครศรีอยุธยาที่ชาวต่างชาติ สมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2418 ได้ทรงตั้งกองทำ
ซึ่งเข้ามาติดต่อค้าขายได้เขียนขึ้นไว้ แผนที่ขึ้นตามคำแนะนำของนายเฮนรี อาลาบา
สเตอร์ ที่ปรึกษาส่วนพระองค์ เพื่อใช้ในการ
ตัดถนนสายต่างๆ ในกรุงเทพฯ การวางสาย
โทรเลขจากกรุงเทพฯ ไปพระตะบอง และทำ
แผนที่ปากอ่าวเพื่อการเดินเรือ ใน พ.ศ. 2424
ได้จ้างชาวอังกฤษ คือ แมคคาร์ธี มาเป็นเจ้า

กรมแผนที่

ภาพแผนที่พระราชอาณาจักรสยาม ฉบับแมคคาร์ธี
เป็นผู้รวบรวมพิมพ์ขึ้นครั้งแรกใน พ.ศ.๒๔๓๒

โดยอาศัยข้อมูลจากการสำรวจทั่วประเทศ
กับแผนที่ที่อังกฤษและฝรั่งเศสในสมัยนั้นใช้ประกอบในการจัดทำ

4

องอค์งปค์รปะรกะอกอบบขขอองงแแผผนนททีี่่

ที่ปรากฏอยู่บนแผ่นแผนที่ ซึ่งผู้ผลิต
แผนที่จัดแสดงไว้ โดยมีความมุ่งหมายที่จะ

ให้ผู้ใช้แผนที่ได้ทราบข่าวสารและราย
ละเอียดอย่างเพียงพอสำหรับการใช้แผนที่
นั้น แผนที่ที่จัดทำขึ้นก็เพื่อแสดงพื้นที่ใด

พื้นที่หนึ่งซึ่งเรียกว่า “ระวาง”


1. องค์ประกอบภายนอกขอบระวางแผนที่

2. องค์ประกอบภายในขอบระวางแผนที่

5

องค์ประกอบ ภายนอกขอบระวางแผนที่

หมายถึงองค์ประกอบต่างๆที่แสดงไว้นอกกรอบที่
เป็นขอบระวางแผนที่ซึ่งมีข้อมูลหลายอย่าง
ปรากฏอยู่ในแผนที่

1 ชื่อชุดของแผนที่

จะปรากฏอยู่บริเวณมุมซ้าย
ด้านบนของแผนที่

2 ชื่อแผนระวาง

ชื่อของระวางแผนที่ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งตามลักษณะเด่นทาง
ภูมิศาสตร์ภาพแผนที่ระหว่างนั้นปลุกกรุงเป็นที่ตั้ง
จังหวัดหรืออำเภอก็ใช้ชื่อจังหวัดหรืออำเภอเป็นชื่อแผน
ระวางซึ่งแผนที่ทุกระหว่างจะมีชื่อแผนระหว่างไม่ซ้ำกัน

3 เลขหมายแผนระวาง

4 เลขหมายประจำชุด ใช้เป็นเลขหมายในการเรียกแผนที่แต่ละระวาง
ซึ่งเป็นเหล็กไม้อ้างอิงเพื่อความสะดวกในการ
เก็บรักษาและการค้นหาเลขหมายแผ่นระหว่าง

ประกอบด้วยตัวเลข
4 ตัว

จะบอกถึงภูมิภาคที่แผนที่ฉบับนั้นครอบคลุมและบอกถึง
มาตราส่วนตลอดจนลำดับที่ทำแผนที่มาตราส่วนเดียวกัน
ที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกันซึ่งหมายเลขลำดับชุดปรากฏอยู่ที่

มุมขวาบนของมุมล่างซ้าย

6

องค์ประกอบ ภายนอกขอบระวางแผนที่

5 มราตราส่วน

ในแผนที่ l7018 ได้แสดงมาตราส่วนไว้ตรง 6 สารบัญระวางติดต่อ
กลางของขอบล่างโดยแสดงไว้ 2 ลักษณะคือ
บอกมาตราส่วนที่เป็นตัวเลขและอีกแบบบอก แสดงเป็นผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัศอยู่บริเวณ
ด้วยการสร้างรูปบรรทัด มุมล่างด้านขวาของแผนที่เป็นสารบาญ
ให้ทราบถึงแผนที่ระวางอื่นๆที่อยู่โดยรอบ
7 สารบัญแสดงแนวแบ่งเขตการ
ปกครอง แผนที่ฉบับนั้น

ปรากฏอยู่บริเวณขอบล่างด้านขวาใกล้สารบาญ
ระหว่างติดต่อ เป็นรูปสีเหลี่ยมเล็กๆแทนแผนที่
ระวางนั้นภายในจะมีเส้นแบ่งเขตการปกครองให้
เห็นสังเขปว่าแผนที่ระวางนั้นครอบคลุมพื้นที่ใน

เขตการปกครองของอำเภอใด จังหวัดใด

8 ทิศทางหรือแผนผังมุม
มอง

แสดงเป็นแผนผังอยู่ทางด้านขวาของขอบล่าง เพื่อ
แสดงสัมพันธ์ระหว่างทิศเหนือ 3 ทิศ

7

องค์ประกอบ ภายนอกขอบระวางแผนที่

9 คำแนะนำเกี่ยวกับระดับสูง
แสดงไว้บริเวณด้านหน้าทางขวาติดกับ
สารบัญระหว่างติดต่อเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
ภายในบอกความสูงของพูมิประเทศโดย

ประมาณใช้แถบสีเทาดำเข้มและจางลงจงถึงสี
ขาวแสดงความสูงต่ำของภูมิประเทศโดยแบ่ง
ออกเป็นสามระดับคือสูงปานกลางและต่ำ

10 บันทึกสำหรับผู้ใช้แผนที่

เขียนไว้ที่ขอบล่างด้านขวาบอกความต้องการ 11 ศัพท์ทานุกรมท้ายระหว่าง
ขอความร่วมมือในการแก้ไขผิดพลาดต่างๆของ
แผนที่จากผู้ใช้แผนที่ในแผนที่ปรากฏข้อความ
ว่าขอให้ผู้ใช้ได้กรุณาแจ้งข้อแก้ไขและความเห็น
ในอันที่จะทำให้ประโยชน์ของแผนที่ระหว่างนี้

เพิ่มพูนขึ้น

ประเทเนศื่อไทงจยาไดก้จแัดผทนำทีข่ึช้นุดเป็Lน7แ0ผ1น8ที่สขอองงภาษา
คืคอมวีบทั้คงู่ภกัานษไปาภไทายษแาลอัะงภกาฤษษาทอีั่พงิกมฤพ์ษขึพ้นิมนี้พ์

เป็นการสะกดทัพศัพท์ภาษาไทย

8

องค์ประกอบ
ภายในขอบระวางแผนที่

หมายถึงรายละเอียดต่างๆที่แสดงถึงลักษณะของผิวพิ ภพที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นภายในกรอบซึ่งล้อมรอบด้วยเส้น
กรอบระวางแผนที่

1 สัญลักษณ์แผนที่ 2 สี

1.1 สัญลักษณ์ประเภทจุด เป็นสิ่งที่ใช้แทนรายละเอียดภายในขอบระวางมัก
1.2 สัญลักษณ์ประเภทเส้น จะเลือกสี่ให้สอดคล้องกับรายละเอียดที่ใช้แทน
1.3 สัญลักษณ์ประเภทพื้นที่
แผนที่มาตรฐานของไทยมี5สี
สีดำ สีแดง สีน้ำเงิน สีน้ำตาล สีเขียว




3 ชื่อภูมิศาสตร์ 4 ระบบอ้างอิงในการกำหนด
ตำแหน่ง
เทหปป็ารรนืงอาตจกสัีิว่นฏงอนัใับก้น้นาษแเนรรผีแยทีน่มกบ่ทกีวอ่่จไลากวะอ้าใมดีหงะ้้ชวไืหท่รอยลรเภชวาู่มนบงิศเวข่สาาัาญสสแตถกล้ัราวก์กนแษำทมีณ่่กนน์ัั้้บทนำี่
หกข้คำาอุคนกณัมัู้นวบลลามไัเีวกมชท้ิีเษ่สงสอัพณมมยืู้่พนทอะีั่อทเแนืีพ่่นืนทธ่ี่์่อไนเอดชใ้ิอยหูงค่้นใทตนนแำรพรลืูแา้ปนะบหสขโนวลอ่า่างมกงวใัสาจนตรถะรถตถุาะ้หหอคนรำวงืท่ีอ่มานตีสังิ้พว่งงิกณัหกขนัรดอืไอดง้
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ระบบพิกัดกริด

9

การจำแนกชนิ
ดของแผนที่

ปัจจุบันการจำแนกชนิดของแผนที่ อาจจำแนกได้หลาย
แบบแล้วแต่จะยึดถือสิ่งใดเป็นหลักในการจำแนก เช่น

1. การจำแนกชนิดของ 2. การจำแนกชนิดของ
แผนที่ตามลักษณะที่ แผนที่ตามขนาดของ
ปรากฏบนแผนที่ แบ่ง มาตราส่วน ประเทศต่าง ๆ
อาจแบ่งชนิดของแผนที่ตาม
ได้เป็น 3 ชนิด ขนาดมาตราส่วนไม่เหมือน
กัน ที่กล่าวต่อไปนี้เป็นการ
3. การจำแนกชนิด แบ่งแผนที่ตามขนาด
แผนที่ตามลักษณะการ มาตราส่วนแบบหนึ่งเท่านั้น
ใช้งานและชนิดของราย
4. การจำแนกตาม
ละเอียดที่แสดงไว้ใน มาตรฐานของสมาคม
แผนที่ คาร์โตกร๊าฟฟี่ ระหว่าง
ประเทศ(ICA) สมาคม
คาร์โตกร๊าฟฟี่ ระหว่าง
ประเทศ ได้จำแนกชนิด
แผนที่ออกเป็น 3 ชนิด

การจำแนกช
นิดของแผนที่ 10

1. การจำแนกชนิดของแผนที่ตามลักษณะที่ปรากฏบน
แผนที่ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ

1.1 แผนที่ลายเส้น 1.2 แผนที่ภาพถ่าย
( Line Map ) ( Photo Map )

เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดในพื้นที่ด้วยเส้นและ เป็นแผนที่ซึ่งมีรายละเอียดในแผนที่ที่ได้จากการ
องค์ประกอบของเส้น ซึ่งอาจเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง ถ่ายภาพด้วยกล้องถ่ายภาพ ซึ่งอาจถ่ายภาพ
ท่อนเส้น หรือเส้นใดๆ ที่ประกอบเป็นรูปแบบต่างๆ จากเครื่องบินหรือดาวเทียม การผลิตแผนที่ทำ
เช่น ถนนแสดงด้วยเส้นคู่ขนาน อาคารแสดงด้วย ด้วยวิธีการนำเอาภาพถ่ายมาทำการดัดแก้ แล้ว
เส้นประกอบเป็นรูปสี่เหลี่ยม สัญลักษณ์ที่แสดง
รายละเอียดเป็นรูปที่ประกอบด้วยลายเส้น แผนที่ นำมาต่อเป็นภาพแผ่นเดียวกันในบริเวณที่
ลายเส้นยังหมายรวมถึงแผนที่แบบแบนราบและ ต้องการ แล้วนำมาใส่เส้นโครงพิกัด ใส่ราย
ละเอียดประจำขอบระวาง แผนที่ภาพถ่าย
แผนที่ทรวดทรง ซึ่งถ้ารายละเอียดที่แสดง สามารถทำได้รวดเร็ว แต่การอ่านค่อนข้างยาก
ประกอบด้วยลายเส้นแล้วถือว่าเป็นแผนที่ลายเส้น เพราะต้องอาศัยเครื่องมือและความชำนาญ

ทั้งสิ้น

1.3 แผนที่แบบผสม ( Annotated Map )

เป็นแบบที่ผสมระหว่างแผนที่ลายเส้นกับแผนที่ภาพถ่าย โดยรายละเอียดที่เป็นพื้นฐาน
ส่วนใหญ่จะเป็นรายละเอียดที่ได้จากการถ่ายภาพ ส่วนรายละเอียดที่สำคัญๆ เช่น แม่น้ำ
ลำคลอง ถนนหรือเส้นทาง รวมทั้งอาคารที่ต้องการเน้นให้เห็นเด่นชัดก็แสดงด้วยลายเส้น
พิมพ์แยกสีให้เห็นเด่นชัดปัจจุบันนิยมใช้มาก เพราะสะดวกและง่ายแก่การอ่าน มีทั้งแบบ

แบนราบ และแบบพิมพ์นูน ส่วนใหญ่มีสีมากกว่าสองสีขึ้นไป

การจำแนกช
นิดของแผนที่ 11

2. การจำแนกชนิดของแผนที่ตามขนาดของมาตราส่วน ประเทศ
ต่าง ๆ อาจแบ่งชนิดของแผนที่ตามขนาดมาตราส่วนไม่เหมือนกัน
ที่กล่าวต่อไปนี้เป็นการแบ่งแผนที่ตามขนาดมาตราส่วนแบบหนึ่ง

เท่านั้น

2.1 แบ่งมาตราส่วนสำหรับ
นักภูมิศาสตร์

2.1.1 แผนที่มาตราส่วนเล็ก ได้แก่ แผนที่
มาตราส่วนเล็กว่า 1:1,000,000
2.1.2 แผนที่มาตราส่วนกลาง ได้แก่
แผนที่มาตราส่วนตั้งแต่ 1:250,000 ถึง
1:1,000,000
2.1.3 แผนที่มาตราส่วนใหญ่ ได้แก่ แผนที่
มาตราส่วนใหญ่กว่า 1:250,000




2.2 แบ่งมาตราส่วน
สำหรับนักการทหาร

2.2.1 แผนที่มาตราส่วนเล็ก ได้แก่
แผนที่มาตราส่วน 1:600,000 และ
เล็กกว่า
2.2.2 แผนที่มาตราส่วนกลาง ได้แก่
แผนที่มาตราส่วนใหญ่กว่า
1:600,000 แต่เล็กกว่า 1:75,000
2.2.3 แผนที่มาตราส่วนใหญ่ ได้แก่
แผนที่มาตราส่วนตั้งแต่ 1:75,000
และใหญ่กว่า

การจำแนกช
นิดของแผนที่ 12

3. การจำแนกชนิดแผนที่ตามลักษณะการใช้งานและ
ชนิดของรายละเอียดที่แสดงไว้ในแผนที่

3.1 แผนที่ทั่วไป (General Map) เป็นแผนที่พื้นฐานที่
ใช้อยู่ทั่วไปหรือที่เรียกว่า Base map

3.1.1 แผนที่แสดงแบนราบ (Planimetric Map) เป็นแผนที่แสดงรายละเอียด
ที่ปรากฏบนผิวโลกเฉพาะสัณฐานทางราบเท่านั้น
3.1.2 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) เป็นแผนที่แสดงรายละเอียด
ทั้งทางแนวราบและแนวดิ่ง หรืออาจแสดงให้เห็นเป็น 3 มิติ




3.2 แผนที่พิเศษ (Special
Map or Thematic Map)

สร้างขึ้นบนแผนที่พื้นฐาน เพื่อใช้ในกิจการเฉพาะอย่าง

การจำแนกช
นิดของแผนที่ 13

4. การจำแนกตามมาตรฐานของสมาคมคาร์โตกร๊าฟฟี่ระหว่าง
ประเทศ(ICA) สมาคมคาร์โตกร๊าฟฟี่ระหว่างประเทศ ได้จำแนก

ชนิดแผนที่ออกเป็น 3 ชนิด

4.1 แผนที่ภูมิประเทศ
(Topographic map)

รวมทั้งผังเมืองและแผนที่ภูมิศาสตร์ เป็นแผนที่ที่ให้รายละเอียด
โดยทั่วๆ ไป ของภูมิประเทศ โดยสร้างเป็นแผนที่ภูมิประเทศ

มาตราส่วนขนาดเล็ก กลาง และขนาดใหญ่ และได้ข้อมูลมาจาก
ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม แผนที่มาตราส่วน
เล็กบางทีเรียกว่าเป็นแผนที่ภูมิศาสตร์ (Geographical map)
แผนที่ทั่วไป (General map) และแผนที่มาตราส่วนเล็กมากๆ ก็

อาจอยู่ในรูปของแผนที่เล่ม (Atlas map)

4.2 ชาร์ตและแผนที่เส้นทาง
(Charts and road map)

เป็นแผนที่ที่สร้างขึ้นเป็นเครื่องมือประกอบการเดินทาง โดยปกติจะเป็น
แผนที่มาตราส่วนกลาง หรือมาตราส่วนเล็ก และแสดงเฉพาะสิ่งที่เป็นที่น่า

สนใจของผู้ใช้ เช่น ชาร์ตเดินเรือ ชาร์ตด้านอุทกศาสตร์

4.3 แผนที่พิเศษ (Thematic
and special map)

ปัจจุบันมีความสำคัญมากขึ้น เพราะสามารถใช้ประกอบการทำวิจัย
เชิงวิทยาศาสตร์ การวางแผนและใช้ในงานด้านวิศวกรรม แผนที่

ชนิดนี้จะแสดงข้อมูลเฉพาะเรื่องลงไป เช่น แผนที่ดิน แผนที่
ประชากร แผนที่พืชพรรณธรรมชาติ แผนที่ธรณีวิทยา

14

การหาระยะของแผนที่

ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ระยะบน
แผนที่ คือ ระยะราบ (Horizontal
Distance) เพราะแผนที่คือ การฉาย

(Project) รายละเอียดภูมิประเทศจริงลง
บนพื้นระนาบหรือพื้นราบ ฉะนั้นแผนที่จะมี
มาตราส่วนเดียวกันหมดทั้งระวาง การหา
ระยะทางบนแผนที่จึงสามารถกระทำได้ 2 วิธี

1. การหาระยะโดยอาศัยมาตราส่วน 2. การหาระยะโดยอาศัยมาตราส่วน
ของแผ
นที่ แบบบรรทัด

เช่น เราวัดระยะบนแผนที่มาตราส่วน 1:
50,000 ได้ 3 เซนติ
เมตร เพราะฉะนั้นระยะ
ราบในภูมิประเทศจริงคือ 3 X 50000 =
150,000 ซ.ม. หรือ 1,500 เมตร หรือ 1.5 ก.ม.

2.1 ให้กระทำโดยนำขอบบรรทัดหรือขอบ
กระดาษเรียบๆ วางทาบให้ผ่านจุดสองจุดที่

ต้องการหาระยะทางบนแผนที่แล้วทำ
เครื่องหมายไว้ที่ขอบกระดาษแสดงตำแหน่ง

ของจุดทั้งสอง

2.2 นำขอบกระดาษไปวางทาบที่มาตราส่วนเส้น
บรรทัด อันมีหน่วยวัดระยะตามต้องการแล้วอ่าน
ระยะบนมาตราส่วนเส้นบรรทัด ระยะที่ได้จะเป็น

ระยะราบในภูมิประเทศจริง

15

การหาระยะของแผนที่

3.หลักการย่อและขยายแผนที่

3.1 การย่อและขยายแผนที่โดยยึดมาตรส่วนเป็นหลัก การย่อแผนที่ในกรณีนี้เราหาอัตราส่วนการย่อ
หรือขยายโดยคำนวณจากมาตราส่วน ซึ่งเราสามารถหาอัตราส่วนการย่อหรือขยายได้ โดยการใช้
มาตราส่วนของแผนที่ใหม่หารด้วยมาตราส่วนของแผนที่เดิม
3.2 การย่อและขยายแผนที่โดยยึดด้านกว้าง-ด้านยาวของแผนที่เป็นหลัก ด้านกว้างและด้านยาวเป็น
สิ่งที่มีมิติเดียวเช่นเดียวกันมาตราส่วน ดังนั้นสักษณะการย่อและการขยายจึงทำได้เช่นเดียวกับวิธี
การย่อและขยายโดยยึดมาตราส่วนเป็นหลัก
3.3 การย่อและขยายแผนที่โดยยึดพื้นที่ของแผนที่เป็นหลัก การย่อและขยายแผนที่โดยยึดพื้นที่เป็น
หลัก เราคำนวณอัตราส่วนการย่อ-ขยายได้โดยการหารพื้นที่ของแผนที่ใหม่ด้วยพื้นที่ของแผนที่เดิม

สูตรการหาระยะทาง Scale = MD

GD

MD = ระยะทางบนแผนที่ (Map Distance)
GD = ระยะทางในภูมิประเทศจริง (Ground distance)

ตัวอย่าง สมมุติว่าแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 วัดระยะระหว่างจุด ก. ถึง จุด ข.
ได้ 3.5 เซนติเมตร จงหาระยะทางในภูมิประเทศจากสูตร

ตอบ นั่นคือ ระยะในแผนที่ 3.5 เซนติเมตร แทนระยะทางในภูมิประเทศจริง 1.75 กิโลเมตร

การอ่านและแปลความในแผนที่ 16

ขป้กัจอใจใานหามจู้รกกถุลบูอลแากั่เนบาาผรตื้น้ยนอกนอัแเกำงทสงีล้ต่หวเไน้ิสะดชนนี้ซแยึาอดท่ปีงก่กยเตเ่ล่ปปอาา็ำ็คนรนนงแวไอสแหดาเผ้งมนพคมื่ค่ิบนง์อดูหปทรทีมหเี่รณ่ชพจื่าาะ์้นนะรกยแโะฐอขพดปบิาอบยกลบนังขเดคแทแฉอีภล่วผใพงูชาะมนแ้าิสอมศัผทะญียห่แาูนใ่แมหผสญท้ีพเาต่นข้ยรลแทรา่ัี์ห่แกลใภ(จูลละษมGทะาิณeปจใำย์ชoำร้คทใปีนgเะ่วเปเรปโr็ทา็ลนaะนมศโกpตยส้เแhอขชาบ้iางนกcบ์รใูลจ้ แผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ นอกจาก
Co(oLrใaดdtiๆni(taLบuotนdeneพsืg้)น)itหผเิuปรว็ืdนอพิeทรีภ่)ะเพรบีหยสบรกืาออ้วมาท่ีาาง่เรอรีิเยถสง้บกนกนวข่ำานผหิาวเนสนพ้ดินภแดเ้พมลวอะยตเรสคิำ้่เนาดแีลลหยอะนนต่งิงจจขูิดจอูดงจุด แสดงให้ทราบถึงตำแหน่งที่ตั้ง ระยะทาง
และทิศทาง สิ่งสำคัญของแผนที่ชนิดนี้
1 คือ แสดงความสูงต่ำ และทรวดทรงแบบ
ต่างๆ ของภูมิประเทศ การแสดงลักษณะ
2เงา ภูมิประเทศบนแผนที่ มีหลายวิธี เช่น

การเขียนเงานั้นตามธรรมดานั้น จะเขียน วันที่: 16 ตุลาคม 2
ในลักษณะที่มีแสงส่องมาจากทางด้าน
หนึ่ง ถ้าเป็นที่สูงชันลักษณะเงาจะเข้ม ถ้า 1 แถบสี
เป็นที่ลาดเงาจะบาง วิธีเขียนเงาจะทำให้
จินตนาการถึงความสูงต่ำได้ง่ายขึ้น ใช้แถบสีแสดงความสูงต่ำของ
แภูสมิดปงรพะื้เนททศี่รทีา่แบตกสีตเ่หาลงือกังนจนเช่ถนึงสสีีสเ้ขมียว
แสดงบริเวณที่เป็นที่สูง สีน้ำตาลเป็น
บริเวณที่เป็นภูเขา

3 เส้นลาดเขา 4. แผนที่ภาพนูน 5. เส้นชั้นความสูง

เป็นการเขียนลายเส้นเพื่อแสดง แผนที่ชนิดนี้ถ้าใช้ประกอบ คือเส้นสมมุติที่ลากไปตาม
ความสูงต่ำของภูมิประเทศ กับแถบสี จะทำให้เห็น ระพืด้ันบผนิว้ำโทละกเลที่ปคาวนามกลสูางจงาเกท่า
ลักษณะเส้นจะเป็น เส้นสั้นๆ ลาก กัน เส้นชั้นความสูงแต่ละเส้น
ขนานกัน ความหนาและช่วงห่าง ลักษณะภูมิประเทศได้ชัดเจน จึงแสดงลักษณะและรูปต่าง
ของเส้นมีความหมายต่อการแสดง ยิ่งขึ้น ของพื้นที่ ณ ระดับความสูง
พื้นที่ คือ ถ้าเส้นหนาเรียงค่อนข้าง
ชิด แสดงภูมิประเทศที่สูงชัน ถ้า หนึ่งเท่านั้น
ห่างกันแสดงว่าเป็นที่ลาด

ประโยชน์ของแผนที่ 17

1. ด้านปกกาครเรมอืองงการ
2. ด้านการทหาร

เพื่อรักษาความมั่นคงของประเทศชาติ ให้คงอยู่ ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตร์
จำเป็นจะต้องมีความรู้ในเรื่องภูมิศาสตร์การเมือง ของทหาร จำเป็นต้อง หาข้อมูลหรือ
หรือที่เรียกกันว่า "ภูมิรัฐศาสตร์" และเครื่องมือที่ ข่าวสารที่เกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์ และ
สำคัญของนักภูมิรัฐศาสตร์ ก็คือ แผนที่ เพื่อใช้ ตำแหน่งทางสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องแน่นอน
ศึกษาสภาพทางภูมิศาสตร์และนำมาวางแผน เกี่ยวกับระยะทาง ความสูง เส้นทาง
ดำเนินการเตรียมรับหรือแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญ
ได้ อย่างเช่น แนวพรมแดนระหว่างประเทศ

3. ด้านเศสัรงษคมฐกิจและ 4. ด้านสังคม

ด้านเศรษฐกิจ เป็นเครื่องบ่งชี้ความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อมทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลง
ของประชาชนภายในชาติ เพราะฉะนั้นทุก ภูมอิศยู่าเสสมตอร์ ซทึี่่งเหท็นำชใัหด้สคืภอาสพภแาวพดแลว้อดมล้ทอามงทสัางงคม
ประเทศก็มุ่งที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของตนเพื่อ เปลี่ยเปนลแี่ยปนลแงตป้อลงงอไปากศัายรแศผึกนษทีา่เสป็ภนาสพำคกัาญร และ
ความมั่งคั่ง และมั่นคง การดำเนินงานเพื่อ อาจชส่ัวงยคใมห้เกป็านรไดปำในเนแินนกวาทราวงาที่งถแูกผตน้อพังฒนา
พัฒนา เศรษฐกิจของแต่ละภูมิภาคที่ผ่านมา
แผนที่ เป็นสิ่งแรกที่ต้องผลิตขึ้นมาเพื่อการใช้
งานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติ

5. ด้านการเรียนการสอน 6. ด้านส่งเเทสี่รยิมวการท่อง

แผนที่เป็นตัวส่งเสริมกระตุ้นความสนใจ และก่อให้เกิด แผนที่มีความจำเป็นต่อนักท่องเที่ยวใน
ความเข้าใจในบทเรียนดีขึ้นใช้เป็นแหล่งข้อมูลทั้งทาง อันที่จะทำให้รู้จักสถานที่ท่องเที่ยวได้ง่าย
ด้านกายภาพ ภูมิภาค วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สถิติ สะดวกในการวางแผนการเดินทาง หรือ
และการกระจายของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งปรากฏการณ์ เลือกสถานที่ท่องเที่ยวตามความเหมาะสม
ทางธรรมชาติ และปรากฏการณ์ต่าง ๆใช้เป็นเครื่อง
ช่วยแสดงภาพรวมของพื้นที่หรือของภูมิภาค อันจะนำ
ไปศึกษาสถานการณ์และวิเคราะห์ความแตกต่าง หรือ

ความสัมพันธ์ของพื้นที่

แบบทดสอบเรื่องแผนที่
และการแปลความหมายแผนที่

วีดีโอเรื่องแผนที่
และการแปลความหมายแผนที่

เสนอ

คุณครูทัศนียา สุกกระ

ครูพี่เลี้ยงสาขาสังคมศึกษา ม.2
วุฒิการศึกษา คบ.สังคมศึกษา
ประสบการณ์การสอน 28 ปี
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี

นายอาดีลันห์ เจะนะ

ผู้ช่วยครูพี่เลี้ยงสาขาสังคมศึกษา ม.2
วุฒิการศึกษา กำลังศึกษาสาขาสังคมศึกษา ปี 5
นักศึกษาฝึกสอนสาขาสังคมศึกษา ปี 5
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี

จัดทำโดย

นางสาวซูนีซ๊ะ ยูโซ๊ะ

นักศึกษาสังเกตการสอนสาขาสังคมศึกษา ม.2
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี
วุฒิการศึกษา กำลังศึกษาสาขาสังคมศึกษา ปี 4
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ภาคเรียนที่ 1/2564


Click to View FlipBook Version