The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wongluksr2015, 2021-04-26 12:26:15

Bestตำบลวังลึก 64

Bestตำบลวังลึก 64

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

1

Best Practice กศน.ตำบลวังลึก

ชือ่ ผลงาน การเรียนรู้ทักษะชีวติ การส่งเสริมสขุ ภาวะการออกกำลังกายที่เหมาะสม สู่ความเปน็ อาสาสมคั ร
ชุมชนคนต้นแบบตำบลวงั ลกึ
ชือ่ ผู้จดั ทำ นางสาวนันทณา ประทุมพันธ์
สังกดั ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอศรีสำโรง
สำนักงาน กศน.จังหวัดสุโขทัย

*********************************************

1.ทม่ี าความสำคญั
จากนโยบายรัฐบาลท่ีเก่ียวข้องกับการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา)

1.1 นโยบายรัฐบาลหลักด้านการศึกษา ข้อที่ 4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ข้อท่ี 4.10
ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกท่ีดี และยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 2.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพคน 1) พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 2) การยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี
คุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง 4) การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี 5) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย
2.4 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสงั คม 1) สร้างความม่ันคงและการลดความ
เหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม 2) พัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ3) มีสภาพแวดล้อมและ
นวัตกรรมที่เอ้ือต่อการดำรงชีวิตในสังคมสูงวัย 4) สร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและ
ความเข้มแข็งของชุมชน และปรับตัวให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19 พบว่าประเทศไทยมีตัวเลขผู้ติดเชื้อที่ค่อนข้างสูง ไม่ว่าจะเป็นการติดจากภายในประเทศ
หรือจากนอกประเทศ และกลุ่มคนที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสมากที่สุดและหากติดเชื้อจะมีอาการรนุ แรงก็คือในกลุ่ม
ของผู้ทท่ี ่มี ีโรคประจำตัว เชน่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดหวั ใจตีบ หัวใจเต้นผดิ จงั หวะ โรคเบาหวานโรคหอบ
หดื โรคปอดอักเสบเรอื้ รัง โรคตับแขง็ เร้ือรัง โรคอ้วน โรคภูมคิ ุ้มกนั บกพร่อง และทางการแพทย์ระบวุ า่ การรักษาหรือ
ป้องโรคต่างๆได้นั้น จำเป็นต้องออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ือง เพราะการออกกำลังกายจะช่วยทำให้
กล้ามเน้ือแข็งแรงช่วยขับของเสียออกจากร่างกาย และเพิ่มปริมาณการไหลเวียนของเลือด ทำให้เม็ดเลือดขาว
แข็งแรงและเกิดภูมิคุ้มกันท่ีเป็นเกราะป้องกันท่ีดีต่อร่างกาย ซ่ึงหมู่บ้าน ชุมชน จะมีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งท่ีเป็นผู้นำ
ผู้ช่วยดูแลในด้าน สุขภาวะ สุขภาพ ของคนในชุมชน กลุ่มคนเหล่านี้ย่ิงมีความเสี่ยงสูงท่ีจะรับเชื้อโรคได้ง่ายเพราะ
ต้องดูแลใกล้ชิดประชาชนที่หลากหลาย จำนวนมาก น่ันก็คือ อาสาสมัครสาธารณสุข หรือ อสม. และเพ่ือให้กลุ่ม

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

2

อสม. ผู้นำ หรือประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองการส่งเสริมสุขภาวะและวิธีการออกกำลังกายให้ร่างกาย
สมบูรณ์แข็งแรง ห่างไกลโรค นำไปปรับใช้ในการดูแล รักษา และออกกำลังกายสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเองได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสม ก่อนท่ีจะนำความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ ไปปฏิบัติหน้าที่ดูแลผู้อื่นในความรับผิดชอบ
ใหแ้ ขง็ แรงปลอดภัยห่างไกลโรค

ดังน้ันกศน.ตำบลวังลึก จึงได้จัดโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต เพ่ือส่งเสริมให้อสม.
ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสรมิ สุขภาวะและวธิ ีการออกกำลังกายให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ห่างไกล
โรค อันนำไปสู่การดำรงชีวิตท่ีปกติสุขของประชาชน อย่างต่อเนื่อง จนเกิดผลท่ีตามมาอย่างคุ้มค่า ประชาชาชน
ไดร้ ับการดแู ลเหมาะสมตามชว่ งวยั และเปน็ แบบอย่างที่ดีต่อผู้อนื่

» ลกั ษณะสำคญั ของวิธีหรือแนวทางปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลิศ
ลักษณะสำคัญของวิธีหรือแนวทางปฏิบัติการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ท่ีมุ่งเน้นในเร่ือง
ของการส่งเสริมสุขภาวะ การออกกำลังกาย การปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมตามช่วงวัย ที่กลุ่มเป้าหมายหลักคือกลุ่มท่ี
ปฏิบัติหน้าท่ีในการดูแลช่วยเหลือผู้อื่น นั่นคือกลุ่มอสม.ประจำหมู่บ้านของตำบลวังลึก โดยกิจกรรมที่จัดจะมีการ
ประยุกต์ ปรับตามสถานการณ์ ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคล่ือนการจัดกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้
ผ่านส่ือออนไลน์เพ่ือนำไปสู่การรับรู้ข่าวสารอย่างท่ัวถึงและหลายหลาย ภายใต้ความปลอดภัยของประชาชน และ
การดำเนินงานใช้ระบบการดำเนินงานในรูปแบบ PDCA ซึ่งการดำเนินงานน้ัน กศน.ตำบลวังลึกได้มีการดำเนินงาน
จัดการเรียนรทู้ ักษะชีวิตการส่งเสริมสขุ ภาวะการออกกำลังกาย การดำเนินชวี ิตท่ีเหมาะสม มาอย่างตอ่ เนื่อง ตั้งแต่ปี
2561 ถึง ปจั จุบนั ดงั นี้

ⵙ ปีงบประมาณ 2561 ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาทักษะชีวติ : กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้สุขภาพกาย-

ใจทด่ี ี

ⵙ ปงี บประมาณ 2562 ดำเนินการจดั โครงการพฒั นาทักษะชีวติ : การอบรมให้ความรู้เก่ยี วกับการให้

ความรเู้ ร่ืองการขบั ขี่ปลอดภยั ใส่ใจสขุ ภาพ

ⵙ ปีงบประมาณ 2563 ดำเนนิ การจัดโครงการพัฒนาทักษะชวี ิต : การส่งเสริมสขุ ภาวะสำหรบั ผ้สู งู วัย ใส่

ใจสุขภาพ

ⵙ ปีงบประมาณ 2564 ดำเนนิ การจดั โครงการพัฒนาทกั ษะชวี ิต : การให้ความรูส้ ง่ เสรมิ สุขภาวการณ์

ออกกำลังกายห่างไกลโรค

และจากการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมของ กศน.ตำบลวังลึกภายใต้โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา
ทักษะชีวิต ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาวะการออกกำลังกาย การดำเนินชีวิตท่ีเหมาะสม น้ันนำไปสู่การเป็นส่วนหนึ่ง
ของความเปน็ อาสาสมัครชมุ ชนคนต้นแบบตำบลวังลึก อสม.ดีเดน่ ระดับชาติ

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

3

» จุดมุ่งหมายและเป้าหมายการดำเนินงาน
-สง่ เสริมให้อสม.ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการสง่ เสริมสขุ ภาวะและวิธีการออกกำลงั กายให้
ร่างกายสมบรู ณ์แข็งแรง และสามารถถ่ายทอดให้ผ้อู นื่ ไดอ้ ย่างเหมาสมและถูกวิธี

เชงิ ปริมาณ

-อสม.ประชาชนทั่วไปตำบลวงั ลึกความรู้ความเขา้ ใจในการสง่ เสรมิ สุขภาวะและวิธกี ารออกกำลัง
กายใหร้ า่ งกายสมบูรณ์แข็งแรง และสามารถถา่ ยทอดให้ผู้อื่นไดอ้ ยา่ งเหมาสมและถูกวิธี

เชงิ คณุ ภาพ

-อสม.ประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลวังลึก มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาวะและวิธีการออก
กำลงั กายให้รา่ งกายสมบรู ณแ์ ขง็ แรง และสามารถถ่ายทอดใหผ้ ู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งเหมาสมและถูกวิธี

-อาสาสมัครชุมชนคนต้นแบบตำบลวังลึก อสม.ดีเด่นระดับประเทศ ท่ีมีผลงานเชิงประจักษ์และ
เป็นทีย่ อมรับ

2.ขัน้ ตอนการดำเนินงาน

P > ขั้นการวางแผน (Plan)

1.ศกึ ษา นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ จดุ เนน้ สภาพปัจจุบันของสถานการณแ์ ละวิเคราะห์บริบทชมุ ชน
2.วางแผนการดำเนนิ งาน

2.1 จดั ทำแผนการปฏบิ ัตงิ าน กศน.ตำบล จดั ทำโครงการเสนอการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการ กศน.ตำบล และผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา

2.2 ประชาสมั พันธ์ประสานกลมุ่ เป้าหมายเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.3 กำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต
ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาวะการออกกำลังกาย การดำเนินชีวิตท่ีเหมาะสม น้ันนำไปสู่ความความเป็นอาสาสมัคร
ชมุ ชนคนตน้ แบบตำบลวงั ลึก

1.กิจกรรมอบรมให้ความรสู้ ขุ ภาพกาย - ใจทดี่ ี
2.กจิ กรรมให้ความรู้เก่ยี วกบั การอบรมให้ความรเู้ ร่ืองการขับขปี่ ลอดภยั ใสใ่ จสุขภาพ
3.กจิ กรรมการส่งเสริมสขุ ภาวะสำหรับผู้สงู วัย ใส่ใจสขุ ภาพ
4.กิจกรรมการใหค้ วามรสู้ ่งเสรมิ สุขภาวการณ์ออกกำลงั กายหา่ งไกลโรค
-ความหมายความสำคญั ประโยชน์ของการรักษาสุขภาพและการออกกำลังกาย
-ประเภทของการออกกำลังกาย
-อปุ กรณส์ ง่ เสริมการออกกำลังกาย
-วธิ ีเทคนิคการสาธติ และฝึกปฏบิ ัติการออกกำลงั กายของแตล่ ะชว่ งวัย

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

4

D > ขน้ั การปฏบิ ัติ (Do)

1.ประสานวทิ ยากร ผู้เชีย่ วชาญ ประสานสถานที่การดำเนนิ กจิ กรรม
2.ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ ทม่ี งุ่ เนน้ การสง่ เสริมสุขภาวะการออก
กำลงั กาย การดำเนนิ ชวี ิตทีเ่ หมาะสมให้กับกลุ่มเป้าหมาย
C > ข้นั ติดตามและประเมิน (Check)
1.นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
2.ประเมินความพงึ พอใจจากกล่มุ เป้าหมายทีเ่ ขา้ รบั การถา่ ยทอดความรูท้ ักษะและประสบการณ์
A > ขั้นสรปุ ผลการดำเนนิ งาน (Action)
1.แลกเปล่ียนเรยี นรู้ สรปุ องค์ความรทู้ ่ีไดร้ บั และรว่ มกันหาแนวทางการพฒั นากิจกรรมหรอื
ดำเนนิ การในปีงบประมาณถัดไป และพจิ ารณาในการปรบั ปรุงกิจกรรมเพ่ือเกิด ประสิทธภิ าพตอ่ ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม
อยา่ งสูงสุด
2.สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

5

วิธปี ฏบิ ตั สิ ่คู วามเปน็ เลศิ Best Practice Model กศน.ตำบลวงั ลกึ

การเรียนรู้ทักษะชีวิตการสง่ เสริมสขุ ภาวะการออกกำลังกายทเ่ี หมาะสม
สู่ความเปน็ อาสาสมัครชุมชนคนต้นแบบ ตำบลวงั ลึก

ครูกศน.ตำบลวังลกึ ➢ ศกึ ษา นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ จดุ เนน้
➢ ศึกษาสภาพปัจจบุ นั ของสถานการณแ์ ละวเิ คราะหบ์ รบิ ทชุมชน

ⵙผู้บรหิ าร > จัดทำแผนการปฏบิ ตั งิ าน กศน.ตำบล จัดทำโครงการเสนอการเหน็ ชอบจาก
ⵙครู คณะกรรมการ กศน.ตำบล และผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ⵙผเู้ รียน ผูร้ ับบรกิ าร ประชาชน > ประชาสัมพนั ธป์ ระสานกลมุ่ เปา้ หมายเข้ารว่ มกิจกรรม
ทัว่ ไป > กำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ
ⵙคณะกรรมการ กศน.ตำบล ชีวิตทมี่ ุ่งเนน้ การสง่ เสริมสุขภาวะการออกกำลงั กาย การดำเนนิ ชีวติ ทเ่ี หมาะสม
ⵙเครือข่าย นนั้ นำไปสคู่ วามความเปน็ อาสาสมัครชุมชนคนต้นแบบตำบลวงั ลกึ
ⵙวทิ ยากร ภมู ปิ ัญญา >จัดทำแผนการปฏิบัติงาน กศน.ตำบล จัดทำโครงการเสนอการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการ กศน.ตำบล และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
>ประชาสมั พนั ธ์ประสานกลมุ่ เปา้ หมายเขา้ ร่วมกิจกรรม
>กำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะ
ชวี ิตทมี่ ุ่งเนน้ การส่งเสริมสุขภาวะการออกกำลังกาย การดำเนนิ ชีวิตทีเ่ หมาะสม
นำไปสู่ความความเป็นอาสาสมคั รชมุ ชนคนตน้ แบบตำบลวงั ลึก

ปรับปรุง/พฒั นา แนวทางการดำเนินงานการเรยี นร้ทู ักษะชวี ิตการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะการออกกำลงั กายที่เหมาะสมสู่ความ
เป็นอาสาสมคั รชุมชนคนตน้ แบบตำบลวงั ลึก
*กิจกรรมอบรมให้ความรู้สุขภาพกาย – ใจที่ดี
*กิจกรรมให้ความรเู้ กย่ี วกบั การอบรมใหค้ วามร้เู รื่องการขบั ขีป่ ลอดภัยใสใ่ จสขุ ภาพ
*กจิ กรรมการสง่ เสรมิ สุขภาวะสำหรบั ผสู้ งู วัย ใส่ใจสขุ ภาพ
*กจิ กรรมการใหค้ วามรสู้ ่งเสรมิ สขุ ภาวการณอ์ อกกำลังกายหา่ งไกลโรค

ⵙ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน/ติดตาม/ประเมินผล

เผยแพร่

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

6

3.ผลการดำเนินงาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชน์ทไี่ ด้รบั (วิธีปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ)
3.1 ผลการดำเนินงาน
การดำเนินงานโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุข

ภาวะการออกกำลงั กาย การดำเนนิ ชวี ติ ทีเ่ หมาะสม
1.กิจกรรมอบรมให้ความรสู้ ขุ ภาพกาย - ใจทดี่ ี
2.กิจกรรมให้ความร้เู กีย่ วกบั การอบรมให้ความรู้เร่อื งการขับขี่ปลอดภัยใสใ่ จสุขภาพ
3.กิจกรรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะสำหรับผูส้ งู วัย ใส่ใจสขุ ภาพ
4.กิจกรรมการให้ความรูส้ ง่ เสรมิ สขุ ภาวการณ์ออกกำลังกายหา่ งไกลโรค
-ความหมายความสำคัญ ประโยชน์ของการรักษาสขุ ภาพและการออกกำลงั กาย
-ประเภทของการออกกำลังกาย
-อุปกรณส์ ่งเสริมการออกกำลังกาย
-วธิ ีเทคนคิ การสาธติ และฝึกปฏบิ ตั ิการออกกำลังกายของแตล่ ะช่วงวัย
และจากการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมของ กศน.ตำบลวังลึกภายใต้โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา

ทักษะชีวิตต้ังแต่ปี 2561 ถึงปัจจุบัน ท่ีมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาวะการออกกำลังกาย การดำเนินชีวิตที่เหมาะสม
นำไปสู่ความความเป็นอาสาสมัครชุมชนคนต้นแบบตำบลวังลึก อสม.ดีเด่นระดับชาติ สาขานมแม่ อนามัยแม่และ
เด็ก ประจำปี 2564 ของหัวหน้า อสม.ตำบลวังลกึ นางทัศนยี ์วรรณ สรศกั ด์ิ

3.2 ประโยขนท์ ่ีไดร้ ับ

*ด้านสถานศกึ ษา

-มีอาสาสมัครที่เป็นต้นแบบและแบบอย่างที่ดี สามารถช่วยเหลืองานพัฒนางาน
กศน.ร่วมกันกบั ภาคเี ครือข่ายอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

*ดา้ นประชาชน ผรู้ บั บริการ

-ประชาชนได้รับการดูแลและมีสุขภาพกาย ใจ มีทักษะชีวิตท่ีดีเหมาะสมและ
ดำรงชวี ิตได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมปลอดภัย

4.ปัจจยั ความสำเรจ็
1.ความร่วมมือ ความอนุเคราะห์ จากภาคีเครอื ข่าย อสม. ผนู้ ำชมุ ชน ประชาชน
2.การพัฒนารูปแบบกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันตามนโยบาย กศน.และ

ยุทธศาสตร์ชาติ ผ่านกระบวนการจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปีท่ีผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการกศน.
ตำบลและผบู้ ริหารสถานศึกษา ท่นี ำไปสู่การปฏิบตั ไิ ด้จรงิ

3.วิทยากร แหล่งเรยี นรู้ที่มคี วามพรอ้ มและชำนาญการ
4.การติดตามและการส่งเสริมการใช้ความรู้ทักษะ ประสบการณ์ในการเป็นอาสาสมัครท่ีผ่าน
กระบวนการจดั กจิ กรรมของ กศน.ตำบลวังลกึ

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

7

5.แนวทางการพัฒนา

-ขยายผลการดำเนินงานสู่ชุมชนอื่นใกลเ้ คียงเพือ่ เป็นแบบอย่างของการจัดกจิ กรรมโครงการการจัด
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาวะการออกกำลังกาย การดำเนินชีวิตท่ีเหมาะสม นำไปสู่
ความความเปน็ อาสาสมัครชมุ ชนคนตน้ แบบของแตล่ ะชมุ ชน

6.การเผยแพร่
-การประชาสัมพันธ์ข้อมลู ผา่ นระบบออนไลน์
-การสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านประจำปี 2564

7.ภาคผนวก (ร่องรอย หลกั ฐาน ภาพถ่าย ผลงานความสำเรจ็ ฯลฯ)
ผลงานเด่น นวตั กรรมทีเ่ กิดขึน้

1. “โดรน เจ้าปญั ญา”
2. ติดตามหญิงต้ังครรภ์ท่ีฝากครรภ์ท่ีคลินิกเอกชนให้มาเข้าโรงเรียนพ่อแม่ ซ่ึงจะนำไปสู่การฝากครรภ์
คุณภาพ
3. การนำปราชญช์ มุ ชนเข้ามาชว่ ยส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
4. หญงิ ตงั้ ครรภไ์ ดร้ ับความรเู้ กย่ี วกับนมแม่และอนามัยแม่และเด็ก โดยใชส้ ือ่ โซเชียล
5. มกี ารใช้เครือข่ายในการทำงานนมแมแ่ ละอนามยั แมแ่ ละเดก็
6. ขยายเครอื ข่ายระดับอำเภอและระดบั จงั หวดั

คณุ ธรรมในการดำรงชีวิต
-ความเพยี ร ความเสยี สละ ความศรัทธา จิตอาสา อทุ ศิ ตนใหก้ ับชมุ ชน สังคม

สง่ิ ทเ่ี ป็นตวั อยา่ ง หรอื แบบฉบับทด่ี ีต่อผูอ้ ืน่ ได้
ความสามารถในการดำรงตำแหนง่ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บา้ น
การทำงานเป็นทีม

มีความสามารถในการประสานงานและเป็นผู้นำด้านการพฒั นาหมบู่ ้านและสถานบริการสาธารณสุขในพ้ืนท่ี
โดยการทำงานเน้นการมีส่วนร่วมโดยใช้หลักส่วนร่วม คือ ร่วมคิด, ร่วมทำ,ร่วมตัดสินใจ, ร่วมตรวจสอบ, ร่วมแก้ไข
ปัญหา และร่วมรับผิดชอบ ของชุมชนเป็นหลัก นอกจากนี้ยังเป็นแกนนำในการพัฒนางานด้านสาธารณสุขในสถาน
บริการ มีความเป็นผู้นำ เสียสละในการทำงาน ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อ่ืน จนทำให้การทำงานทุกอย่างบรรลุตาม
วัตถปุ ระสงค์ไปด้วยดี พรอ้ มทงั้ มที มี งานทเี่ ขม้ แข็งในชุมชนด้วย

เปน็ ผู้นำท่ีเปน็ ประชาธิปไตย
ในการดำเนินงานทุกอย่างถึง แม้ว่าจะเป็นประธานหรือหัวหน้า แต่ไม่ใช้อำนาจเผด็จการในการตัดสินใจ

อะไรคนเดียวโดยเฉพาะเร่ืองท่ีสำคัญ และมผี ลกระทบกบั คนส่วนมาก ในเวทีการประชุมจะแสดงความคิดเห็นท่ีเป็น
ประโยชน์ และเคารพความคิดเห็นของผู้อ่ืนเสมอ ถ้าหากเกิดความคิดเห็นท่ีไมต่ รงกันก็จะใช้เสียงของคนส่วนมากใน
การตัดสิน

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

8

การคน้ หาปัญหา
การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาของชุมชนร่วมกับแกนนำหมู่บ้าน ทำให้หมู่บ้านมีการค้นพบปัญหาด้าน

สุขภาพอย่างทันท่วงที โดยเฉพาะปัญหาด้านโรคติดต่อในชุมชน แกนนำด้านสุขภาพของชุมชน ได้แก่ องค์การ
บริหารสว่ นตำบลวังลึก และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บา้ น จะประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือเปน็ การป้องกนั และ
ควบคมุ โรค
การทำแผน

มกี ารดำเนนิ การจัดทำแผนเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาในหม่บู า้ น ไดแ้ ก่
1. จัดทำแผนงานโครงการพระราชดำริ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน ร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้านและ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคน เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมงาน แก้ปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน
งบประมาณ 20,000 บาท
2. จัดทำแผนกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพตำบลและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

การประสานงาน
1. มมี นษุ ยส์ มั พันธใ์ นการประสานงานกบั องค์กรต่างๆ
2. มที ักษะและกระบวนการในการสื่อสารที่ดี
3. มกี ารปรับใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารท่ีเหมาะสม
4. มคี วามสามารถในการประสานแหลง่ ทนุ ต่างๆ เพ่อื การดำเนนิ การด้านสขุ ภาพ

การมีสว่ นร่วมของชุมชน
ในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในชุมชน มักจะอาสาทำงานต่างๆ ในชุมชน และก็จะได้รับความไว้วางใจให้

ได้รับบทบาทหรือหน้าทที่ ่ีสำคญั เสมอ เช่น งานวัด โรงเรยี น โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลวังลึก ตลอดจนชุมชน
อืน่ ๆ หน่วยงานและองค์กรต่างๆ หลักการทำงานส่วนรวมโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม คือ ร่วมคิด, รว่ มตัดสินใจ, ร่วม
ตรวจสอบ, ร่วมแก้ไขปัญหา และร่วมรับผิดชอบ นอกจากนี้ยังเสียสละทรัพย์ส่วนตัวในการบำเพ็ญประโยชน์ต่อ
สว่ นรวมอยเู่ สมอ จนได้รบั การยอมรบั ยกยอ่ งเชิดชจู ากชมุ ชน และหน่วยงานองคก์ รต่างๆ ในชมุ ชน
การครองตน
การเปน็ ผูม้ ีสุขภาพดี

นางทัศนีย์วรรณ สรศักดิ์ มีโรคประจำตัวแต่รับประทานยาสม่ำเสม อพบแพทย์ตามนัด ไม่พบ
ภาวะแทรกซ้อน

ในฐานะท่ีดำรงตำแหน่งอาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน (อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหม่บู ้าน) เป็น
ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านป่าส้าว หมู่ที่ 1 ตำบลวังลึก ได้ใช้ความรู้ความสามารถท่ีได้รับ
ถ่ายทอดจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขด้านการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว พร้อมท้ังให้คำแนะนำแก่ประชาชนใน
ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ในเร่ืองการดูแลตนเอง เม่ือเจ็บป่วยเล็กน้อย ต้องไม่ซ้ือยาชุดกินเอง ถ้าจำเป็นต้องใช้ยา ให้

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

9

เลือกใช้ยาสามัญประจำบ้าน หรือไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขท่ีสถานบริการสาธารณสุข และต้องหมั่นดูแลสุขภาพ
ตนเอง ไดแ้ ก่

1. การรับประทานอาหารถูกหลักประโยชน์
2. การออกกำลังกายสมำ่ เสมอ
3. การดูแลตนเองและครอบครัวด้านสุขภาพจิต สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพร่างกาย ที่สมบูรณ์ แข็งแรง
มีสุขภาพจิตที่ดี มีการผ่อนคลายความเครียด นอกจากน้ีได้เข้าร่วมกิจกรรมประเพณีพื้นบ้าน เช่น รดน้ำดำหัว
ผ้สู ูงอายุ เม่ือมีปญั หาครอบครวั เกิดข้ึน สมาชิกในครอบครวั มีการพูดคยุ เพอ่ื หาแนวทางการแก้ไขปัญหารว่ มกัน
4. การดูแลตนเองด้านสุขภาพ มีการตรวจสุขภาพประจำปีอย่างต่อเน่ือง และหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ทจ่ี ะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา และเข้าร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพทุกอย่างของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล
วังลึก และกศน. ภาคเี ครอื ขา่ ย ซึ่งเป็นสถานบริการในเขตรบั ผิดชอบ
การเป็นแบบอยา่ งท่ีดี
นางทัศนีย์วรรณ สรศักด์ิ เป็นบุคคลที่ไม่เก่ียวข้องกับอบายมุขทุกประเภท โดยเฉพาะการส่งเสริมให้คนใน
ครอบครัวเปน็ แบบอย่างท่ีดใี นเรื่องการดูแลสุขภาพ เช่น ไม่เปน็ ผู้ตดิ สารเสพติดไมด่ ื่มสุราหรือเคร่อื งดมื่ ท่ีมีแอลกอฮอล์
ไม่สบู บุหรี่ ไม่เลน่ การพนัน เป็นต้น อีกท้ังยังปลูกผักสวนครัว ทป่ี ลอดสารพิษ สำหรับบริโภคในครัวเรือน และสง่ เสริม
การปลูกผักในครัวเรือน ตลอดจนดูแลรักษาสภาพแวดล้อมภายในครัวเรือนและหมู่บา้ นใหม้ ีส่ิงแวดล้อมที่ดี ปราศจาก
มลภาวะที่เป็นพษิ ซึ่งสง่ ผลให้สมาชกิ ในครอบครัวมภี าวะสขุ ภาพอนามยั ทด่ี ไี ม่มีโรคภัยไข้เจ็บ
การพัฒนาตนเอง
เป็นบุคคลท่ีมีความขยันหม่ันเพียร ใฝ่รอู้ ยู่เสมอ ศึกษาจบในระดับ ปวส.ที่โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ
นอกจากน้ียงั สนใจศึกษาหาความร้จู ากการเข้าร่วมประชุม การอบรม การอ่านหนังสือ คมู่ ือ วารสาร โดยจะเขา้ รว่ ม
ประชุมต่างๆ ที่ได้รับเชิญทุกคร้ังไม่เคยขาด พร้อมท้ังได้นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาถ่ายทอดให้แก่สมาชิก
ในครอบครัว และประชาชนในหมบู่ ้านผ่านทางการประชุมประจำเดือน หอกระจายข่าว ตลอดจนการพูดคุยในกลุ่ม
ย่อย
สร้างครอบครวั อบอุ่น
มีครอบครวั ท่อี บอุ่น สมาชกิ ในครอบครวั มีความรกั สามัคคแี ละมีการเอาใจใสด่ ูแลกันอยา่ งสมำ่ เสมอ
จากการประเมนิ ตามเกณฑ์ครอบครัวอบอ่นุ ผา่ นเกณฑ์ 12 ประการ เปน็ ผลให้
1. สมาชกิ ในครอบครัวมีความรกั ความเข้าใจ ไม่มปี ญั หาทะเลาะวิวาท ภายในครอบครัว
2. สมาชิกในครอบครัวรับประทานอาหารร่วมกันทุกวันในตอนเช้าและตอนเยน็
3. เปน็ ครอบครัวขยาย
4. สมาชกิ ในครอบครวั ไมม่ ีใครด่ืมเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ ไม่สูบบหุ รี่ ไม่เลน่ การพนนั

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

10

5. สมาชกิ ในครอบครัวเปน็ ท่ียอมรับของชมุ ชน
6. สมาชกิ ในครอบครัวมคี วามรัก ความเข้าใจและมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่เสมอ
มนุษย์สัมพนั ธ์และสัมพนั ธภาพที่ดี
เป็นผู้ท่ีมีความเป็นผู้นำ มีมนุษย์สัมพันธ์ดีเยี่ยม มีความเพียร มีความเสียสละ อุทิศตนให้กับสังคมตลอด
ระยะเวลาท่ีเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ปฏิบัติหน้าท่ีและเกิดผลงานจนเกิดความรัก นับถือ
ความศรัทธา ความไว้วางใจ จาก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านท่ีทำงานร่วมกันทั้งในระดับหมู่บ้านและ
หมู่บ้านอื่นๆในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก จนได้รับการแต่งต้ังเป็นประธานอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจำหมู่บา้ น บ้านปา่ ส้าว หมูท่ ี่ 1 ตำบลวงั ลึก
ครอบครวั มที ัศนคตทิ ่ีดีต่อการเปน็ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บา้ น และการเสียสละเพอื่ ส่วนรวม
จากการได้รับตำแหน่งต่างๆ ในหมู่บ้าน ทำให้ครอบครัวโดยเฉพาะสามีและบุตรมีความภาคภูมิใจในการ
ทำงานของภรรยาและมารดา ทำให้ นางทัศนีย์วรรณ สรศักดิ์ มีกำลังใจทจี่ ะเสยี สละทำงานเพ่อื ประโยชนส์ ่วนรวมมา
โดยตลอด
นอกจาก นางทัศนีย์วรรณ สรศักดิ์ จะเปน็ ผู้มจี ิตอาสาแล้วสมาชกิ ในครอบครัวทุกคนยงั ใหก้ ารสนับสนุนและ
ร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน เช่น งานด้านสาธารณสุขในชุมชน งานบุญประเพณี กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรค
ไขเ้ ลือดออก กจิ กรรมการออกกำลังกาย กฬี าตำบลต้านยาเสพติด เป็นต้น
การครองคน
เปน็ แกนนำจัดกจิ กรรมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสาธารณสขุ ของชุมชน
ด้านสาธารณสขุ
เป็นผู้นำด้านสาธารณสุข โดยดำรงตำแหน่งประธานอาสาสมัครสาธารณสุขระดับหมู่บ้าน เป็นแกนนำใน
การสร้างสุขภาพ มีความสามารถในการร่วมกับชุมชน จนได้รับการยอมรับจากชุมชน โดยมีตัวอย่างบทบาท
ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคและรณรงคต์ ่อตา้ นโรคตา่ งๆ ในหมบู่ า้ นเปน็ ประจำ
2. ส่งเสริมใหช้ าวบ้านรบั ประทานอาหารใหถ้ ูกสุขลกั ษณะอนามัยและด่ืมน้ำสะอาด
3. ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชน รณรงค์ทำลาย
แหล่งเพาะพนั ธลุ์ กู น้ำยุง ปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลอื ดออก
4. รว่ มรณรงคป์ อ้ งกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่ อาทิ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สงู โรคมะเร็ง และโรคไม่ติดตอ่ อ่นื ๆ
5. รว่ มรณรงค์เฝ้าระวงั และปอ้ งกันโรคไข้หวัดนกในชมุ ชน
6. ร่วมรณรงค์เฝา้ ระวังและป้องกันโรคไขห้ วัดใหญส่ ายพันธุ์ใหมใ่ นชุมชน
7. จัดบริการในศนู ย์สาธารณสขุ มูลฐานชุมชน เพื่อใหบ้ รกิ ารประชาชนในหมูบ่ ้าน

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

11

8. ส่งเสรมิ และสนับสนุนกิจกรรมสายใยรักแห่งครอบครัว
9. ส่งเสริมและสนับสนนุ กิจกรรมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านพัฒนาหมู่บ้าน
ในฐานะท่ีเป็นสมาชิกคนหนึ่งในชุมชน มักจะอาสาทำงานต่างๆ ในชุมชนและได้รับความไว้วางใจให้ได้รับ
บทบาทหรอื หน้าทีท่ ีส่ ำคญั เสมอ เชน่ งานวัด, โรงเรียน, โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลวังลึก ตลอดจนชมุ ชนอ่ืนๆ
หน่วยงานและองค์กรต่างๆ นอกจากนีย้ ังเสยี สละทรัพย์สว่ นตวั ในการบำเพญ็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวมอยูเ่ สมอ จนไดร้ ับ
การยอมรบั ยกยอ่ งเชดิ ชจู ากชุมชน และหนว่ ยงานองคก์ รต่างๆ ในชมุ ชน โดยมตี วั อย่างบทบาทหน้าที่ ดงั น้ี
1. เป็นเลขาฯ ชมรมสายใยรกั แหง่ ครอบครวั ตำบลวังลึก
2. ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บา้ น บา้ นป่าส้าว หมู่ที่ 1
3. กรรมการกลุ่มแมบ่ า้ นตำบลวงั ลึก
กระบวนการในการสร้างศรัทธา ชักชวนเพ่ือนบ้านให้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข เพ่ือนบ้านให้การ
ยอมรับ เชื่อมนั่ ในตนเองและผู้อนื่ กระตือรือร้นและเสียสละ
นางทัศนีย์วรรณ สรศักด์ิ มีความสามารถในการประสานงานและเป็นผูน้ ำดา้ นการพฒั นาหมู่บ้านและสถาน
บรกิ ารสาธารณสุขในพื้นท่ี โดยการทำงานเน้นการมีส่วนร่วมของชมุ ชนและชักชวนเพอื่ นบา้ นให้เข้ารว่ มกจิ กรรมเป็น
หลัก นอกจากนี้ยังเป็นแกนนำในการพัฒนางานด้านสาธารณสุขในสถานบริการ มีความเป็นผู้นำ เสียสละในการ
ทำงาน ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น มีจิตอาสา จนเพื่อนบ้านให้การยอมรับ มีความเชื่อม่ันในตนเองและเพื่อนร่วมงาน
ทำใหก้ ารทำงานทุกอย่างบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ไปดว้ ยดี พร้อมทั้งมที มี งานทเี่ ขม้ แข็งในชุมชนด้วย
ความเปน็ ประชาธิปไตย
ในการดำเนินงานทุกกิจกรรม ถึงแม้ว่า นางทัศนีย์วรรณ สรศักด์ิ จะเป็นประธานหรือแกนนำกลุ่มต่างๆ
แต่จะไม่ใช้อำนาจเผด็จการในการตัดสินใจอะไรคนเดียว โดยเฉพาะเร่ืองที่สำคัญ และมีผลกระทบกับคนส่วนมาก
ในเวทีการประชุมจะแสดงความคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ และเคารพความคิดเห็นของผู้อ่ืนเสมอ ถ้าหากเกิดความ
คิดเห็นท่ีไม่ตรงกันก็จะใช้เสียงของคนส่วนมากในการตัดสิน อีกทั้งยังสนับสนุนกระบวนการประชาธิปไตย โดยจะ
วางตวั เป็นกลาง และไปใชส้ ิทธิเ์ ลือกต้งั ทุกคร้งั อนั เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีแก่เพือ่ นบ้านและชุมชน
การครองงาน
ทักษะการบริหารจดั การงานสาธารณสขุ ในชมุ ชน
การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาของชุมชน ร่วมกับแกนนำหมู่บ้านคนอื่นๆ โดยใช้วธิ ีการประชาคม ทำให้
หมู่บ้านมีการค้นพบปัญหาด้านสุขภาพอย่างทันท่วงที โดยเฉพาะปญั หาด้านโรคติดต่อในชุมชน แกนนำด้านสุขภาพ
ของชุมชน ได้แก่ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวงั ลึก และอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน จะประชมุ ปรึกษาหารือ
กนั ตลอด เพ่อื ค้นหาปัญหาของสมาชิกในชุมชน

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

12

ทักษะในการจดั บรกิ ารสาธารณสุขมูลฐานในชุมชน
นางทัศนีย์วรรณ สรศักดิ์ เป็นผู้ที่มีความสนใจพัฒนาความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง และได้นำ

ความรูม้ าพัฒนาทมี งาน ใหม้ กี ารลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ ได้มกี ารจดั บริการในชุมชนอย่างตอ่ เนือ่ งและสมำ่ เสมอ

ทกั ษะในการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์
เนื่องจากเป็นผู้มีบทบาทในชุมชน ซึ่งได้รับความรู้จากหนว่ ยงานภาครัฐ ส่ือต่างๆ และสามารถนำความรู้มา

ถ่ายทอดร่วมกับทีมงานให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านได้ โดยผ่านทางการประชุมในวาระต่างๆ ทางหอกระจายข่าวใน
หมู่บ้าน ตลอดจนการพูดคยุ ในกลุ่มย่อยและบคุ คลในครอบครัว ดงั น้ี

1. การให้ความรู้เรอ่ื งโรคต่างๆ ในชุมชน ท้ังโรคติดต่อและโรคไม่ติดตอ่ และแจง้ ข่าวการระบาดของโรคผ่าน
ทางหอกระจายขา่ วหมู่บา้ น และในทปี่ ระชุม ประจำเดือนของหมบู่ ้านเป็นประจำ

2. เป็นแกนนำสตรีตรวจเต้านมด้วยตนเอง ได้ถ่ายทอดความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในหมู่บ้านให้สามารถ
ตรวจเตา้ นมได้ด้วยตนเอง
ความสามารถและทกั ษะในการพฒั นาชมุ ชนแบบผสมผสาน

ในฐานะท่ีเป็นประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รวมถึงการเป็นแกนนำกลุ่มต่างๆ ในชุมชน
จึงมักจะได้รับความไว้วางใจให้ได้รับบทบาทหรือหน้าท่ีท่ีสำคัญเสมอ เช่น งานวัด องค์การบริหารส่วนตำบลวังลึก
โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ตลอดจนชุมชนอื่นๆ หน่วยงานและองค์กรต่างๆ นอกจากน้ียัง
เสียสละทรัพย์ส่วนตัวในการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวมอยู่เสมอ จนได้รับการยอมรับยกย่องเชิดชูจากชุมชน
และหน่วยงานองค์กรต่างๆ ในชุมชน โดยได้บูรณาการงานต่างๆ ซึ่งมีการรวมกลุ่มของประชาชน ในการดำเนินการ
ควบคมุ และปอ้ งกนั โรคติดตอ่ ในชุมชน
การขยายบทบาทของการเปน็ ผู้นำ การเปน็ แบบอยา่ งในการพฒั นาฯ

ถึงแม้ว่าจะเป็นแกนนำในการพัฒนางานด้านสาธารณสุขในชุมชน และได้รับความไว้วางใจให้ได้รับบทบาท
หรอื หนา้ ที่ที่สำคัญเสมอ แต่ นางทศั นียว์ รรณ สรศักด์ิ ก็ใช้รูปแบบการทำงานเป็นทมี มีการมอบหมายงานรับผิดชอบ
กระจายงานและแบ่งงานแก่บุคคลอ่ืนๆ ซึ่งทำให้งานแต่ละอย่างสามารถดำเนินกิจกรรมลุล่วงไปได้ด้วยดี อีกทั้งยัง
เป็นแบบอย่างท่ีดีด้านสาธารณสุข เช่น ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนให้สะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

13

และส่งเสริมให้ครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเองตลอดทั้งปี บริโภคสมุนไพรหรือพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายโดยการทำงาน ใช้แรงตนเองมากข้ึน ลดการใช้เครอื่ งจักร ได้ทัง้ สขุ ภาพและลดคา่ ใช้จ่าย
การเป็นผ้นู ำหรอื มสี ่วนรว่ มในการจัดระบบสุขภาพชุมชน

มีการดำเนินการด้านสุขภาพอย่างเป็นระบบ คือ การค้นหาปัญหา การวิเคราะห์หาสาเหตุ การวางแผน
และดำเนินการ การแก้ไขปัญหา การประเมินผล การสรุปผล นำเสนอ รวมท้ังสามารถประสานความร่วมมือกับ
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ภาครฐั เอกชน เพอ่ื สนับสนุนการดำเนินการแก้ไขปญั หาของหมู่บา้ น
แรงบนั ดาลใจในการทำงาน

เกิดจากการที่บุตรสาวของดิฉันไปเรียนต่างจังหวัด และดิฉันไม่ได้ดูแลอย่างใกล้ชิดแล้วบุตรสาวของดิฉันมี
แฟนและได้ต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร กว่าบุตรสาวจะบอกว่าตั้งครรภ์ก็เข้าเดือนที่ 6 แล้วการฝากครรภ์และการดูแล
ตัวเองจงึ มีความลา่ ช้า เม่ือถึงกำหนดคลอด การให้นมบุตรจงึ ไมพ่ ร้อม ปัญหาต่างๆกต็ ามมา เช่น นำ้ นมไม่ไหล ทารก
ไม่สมบรู ณ์ และต่อมาเปน็ แมเ่ ลยี้ งเดีย่ ว ภาระคา่ ใชจ้ ่ายต่างๆกม็ ากขน้ึ

ดิฉันจึงมองเห็นปัญหาท่ีเกิดจากบุตรสาวของดิฉันและวัยรุ่นในสมัยน้ีที่มีพฤติกรรมเดียวกับบุตรสาวของดิฉัน
ทำใหด้ ฉิ นั อยากเปน็ แกนนำในการประกวด อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สาขานมแม่และอนามัยแม่และเดก็

กลวิธี/กิจกรรม การดำเนินงาน นวตั กรรม “โดรน เจา้ ปญั ญา”
สระ โอ คอื โครงสร้างมีเครือข่ายทเ่ี ข้มแข็ง

1. เครอื ขา่ ยองค์การบรหิ ารส่วนตำบลวงั ลึก ผสู้ นับสนนุ งบประมาณดำเนนิ การ เชน่ โครงการหนูนอ้ ยวยั ใส
ใส่ใจสุขภาพ และโครงการสง่ เสรมิ โภชนาการและสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก รวมท้ัง การรว่ มสร้างอาชพี แก่หญิงหลงั
คลอดและกลุม่ ผู้สงู อายุ และชว่ ยประชาสัมพันธก์ ิจกรรม

2. เครือข่ายผนู้ ำชุมชน รว่ มคดิ เพอ่ื ร่วมกันพฒั นาตำบลวังลกึ ทุกเดือน
3. เครือข่ายโรงเรียน นำนักเรียนเข้าร่วมเป็นทีมอาสาสอดส่อง ดูแลเพ่ือนนักเรียนกลุ่มเสี่ยง และร่วม
ส่งเสริมกิจกรรมเสริมความรเู้ รื่องเพศศึกษา
4. เครือข่ายกลุ่มวัยรุ่น จากสภาเยาวชนตำบลวังลึก ท่ีร่วมเป็นทีมอาสาสอดส่อง ดูแลเยาวชนกลุ่มเส่ียง
และเปน็ แกนนำจดั กิจกรรมสรา้ งสรรคแ์ กเ่ ยาวชนคนวังลกึ
5. เครือขา่ ยกลุ่มผ้สู งู อายุ รว่ มเป็นกำลังในการดูแลบุตรหลาน ใชภ้ ูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ช่วยขบั เคลอ่ื นชมุ ชน
6. เครือข่ายทีมหมอครอบครัว ร่วมเย่ียมหญิงหลังคลอดและเป็นพี่เลี้ยง ที่ปรึกษา ในการการหาแนว
ทางการดแู ลให้คำปรกึ ษา รวมทง้ั ประสานงานการดูแลผู้ป่วยต่อเนือ่ งท่บี ้าน
7. เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นกำลังในการออกเยี่ยมแนะนำให้ความรู้กลุ่มวัยรุ่น
กลุ่มเจรญิ พนั ธ์ุ กลมุ่ หญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละครอบครวั ของเด็กปฐมวยั

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

14

- ออกเยี่ยมหญิงหลังคลอดพร้อมทั้งมอบถุงรับขวัญคนชาววังแก่เด็กเกิดใหม่ “ถุงอุ่นรัก”, “โมบาย
สรา้ งสรรคส์ ง่ เสริมพฒั นาการเด็ก” และสง่ เสรมิ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

- ตดิ ตามการไดร้ บั วัคซนี ตามเกณฑแ์ ละการตรวจพฒั นาการด้วย “จดหมายนอ้ ยสะกดิ ใจ”
- เล่านิทานให้เด็กฟังในคลินิกเด็กดีและในศูนย์เด็กเล็กของ องค์การบริหารส่วนตำบลวังลึกวังลึก เดือน
ละ 1 คร้งั ด้วย “หมวกแดงเสรมิ ปัญญา”
- ส่งเสริมพัฒนาการตามชว่ งวัยโดยใช้วัสดุทมี่ ีอยู่ในชมุ ชน
8. เครอื ข่าย กศน.ตำบลวังลึกท่ีจดั กิจกรรมการพัฒนาทักษะชีวิตกจิ กรรมส่งเสริมสขุ ภาวะการออกกำลงั กาย
การดำเนนิ ชีวิตทเี่ หมาะสมทนี่ ำไปสู่ความความเปน็ อาสาสมัครชุมชนคนตน้ แบบตำบลวังลกึ

9. เครือข่ายผู้ประกอบการร้านค้าของชำ ท่ีจำหน่ายเกลือและเครื่องปรุงเสริมไอโอดีน และมีฟาร์มเล้ียงไก่
เสรมิ ไอโอดนี แหง่ เดยี วของจงั หวัดสโุ ขทยั

ด. เดก็ คือ เด็กไทยคณุ ภาพ

การเตรยี มความพร้อมก่อนตั้งครรภ์
1. มกี ารค้นหาและขน้ึ ทะเบียนคสู่ มรสใหม่เพ่อื เตรียมความพรอ้ มสำหรบั การตั้งครรภ์คณุ ภาพ
2. ประสัมพันธ์การเตรียมความพร้อมก่อนการต้ังครรภ์ และ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ทางหอกระจาย

ข่าว โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ่ ้านเช่ยี วชาญนมแม่
3. เดินรณรงค์การเตรียมพร้อมก่อนการต้ังครรภ์ และ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ในหมู่บ้าน โดย

อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บา้ น
4 ให้ความรูแ้ ก่เดก็ นักเรยี นเรื่องเพศศึกษา การเตรียมความพรอ้ มก่อนต้ังครรภ์ และการฝึกอาชพี
5. ร่วมแสดงความยินดีในงานแต่งงาน และแจกการ์ดสัญญาใจจะฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เม่ือทราบว่า

ตง้ั ครรภ์
6. แนะนำให้คู่สมรสท่ีพร้อมจะมีบุตร เข้ารับการปรึกษาในคลินิกเตรียมพร้อมก่อนการต้ังครรภ์ของ

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลวังลึก ซึ่งใหบ้ ริการทุกวันศุกร์

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

15

การขนึ้ ทะเบยี นคูส่ มรสใหม่เพือ่ เตรยี มความพร้อมสำหรับการต้ังครรภแ์ ละแจกการด์ สญั ญา
ใจจะฝากครรภก์ ่อน 12 สัปดาห์

ประชาสัมพันธ์เรือ่ งการเตรยี มความพรอ้ มก่อนการตง้ั ครรภแ์ ละฝากครรภก์ อ่ น 12 สัปดาห์

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

16

เดนิ รณรงคก์ ารเตรียมความพรอ้ มก่อนการตงั้ ครรภแ์ ละการฝากครรภ์ก่อน 12 สปั ดาห์

ให้ความรูแ้ ก่เดก็ นกั เรยี นเรือ่ งเพศศกึ ษา การเตรยี มความพร้อมก่อนตงั้ ครรภ์ และการฝึกอาชีพ

การฝากครรภค์ ณุ ภาพ
1. ค้นหาและข้ึนทะเบียนหญิงต้ังครรภ์รายใหม่ โดยแนะนำให้ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพ่ือรับบริการ

เจาะเลือดหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส ตามเกณฑ์การฝากครรภ์คุณภาพคร้ังท่ี 1 และติดตามหญิงตั้งครรภ์ท่ีฝากครรภ์
คลินิกเอกชนมาเขา้ ระบบโรงเรียนพอ่ แม่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลวงั ลกึ

2. ติดตามเย่ียมบ้านหญิงต้ังครรภ์ แนะนำการใช้สมุดสีชมพู การตรวจฟันหญิงตั้งครรภ์ สอนการออกกำลัง
กาย และอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้ “ส่ือโซเชียลเกี่ยวรัก” ซึ่งเน้ือหาประกอบไปด้วย การปฏิบัติตัวขณะ
ตั้งครรภ์ การออกกำลังกาย อาหารสำหรับหญิงตง้ั ครรภ์

3. แจกเกลือไอโอดีนแก่หญิงต้ังครรภ์พร้อมท้ังให้ความรู้เกี่ยวกับการเก็บรักษาเกลือไอโอดีนการใช้เกลือใน
ปริมาณทีเ่ หมาะสมเพอ่ื ปอ้ งกันภาวะขาดสารไอโอดนี

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

17

เยี่ยมบา้ นหญงิ ตั้งครรภ์ แนะนำการใชส้ มดุ สีชมพู การตรวจฟนั สอนการออกกำลังกาย และอาหาร
การใช้ “สอ่ื โซเชียลเกยี่ วรกั ” และแจกเกลือไอโอดีน

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

18

เตรยี มคลอดคณุ ภาพ
1. ให้คำแนะนำจัดส่ิงแวดล้อมทเี่ ออ้ื ต่อการมีสุขภาพท่ีดีและปลอดภยั ต่อหญงิ ตั้งครรภ์และทารกคลอดใหม่
2. ให้คำแนะนำเตรียมอุปกรณ์ ของใช้เพื่อการคลอด และเบอร์ติดต่อฉุกเฉินท่ีสามารถใช้บริการได้ เม่ือมี

อาการเจ็บครรภ์ พรอ้ มแนะนำอาการเจ็บครรภจ์ รงิ เจบ็ ครรภเ์ ตอื น โดยเนน้ การคลอดในสถานบริการสาธารณสุข
3. อบรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เตรียมคลอดคุณภาพ เน้นการเตรยี มตัวก่อนคลอด วิธีการ

อมุ้ ทารก/การให้นมบุตร
4. เตรียมความพร้อมและใหค้ วามรู้เร่อื งการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแมผ่ ่าน “สื่อโซเชยี ลเกยี่ วรัก”
5. ตอบคำถาม พูดคุย ปรึกษา สาระความรู้ปัญหา หญิงต้ังครรภ์ หญิงหลังคลอด ผ่านกลุ่มไลน์ “แม่มือ

อาชพี ”

แนะนำการจดั สิง่ แวดล้อมในและนอกบา้ นแก่หญิงต้ังครรภ์และทารกที่คลอดใหม่

การคลอดคณุ ภาพ ลกู เกิดรอด แม่ปลอดภัย (เก่ียวกับโรงพยาบาล)
ดำเนินการโดยโรงพยาบาล โดยปัจจุบันดำเนนิ การไดด้ ีในโรงพยาบาลทุกระดบั ตามแนวทางลูกเกดิ รอด แม่

ปลอดภยั และการใหบ้ รกิ ารห้องคลอดคณุ ภาพ
หลังคลอดคณุ ภาพ

เยีย่ มหลังคลอดรว่ มกับทีมหมอครอบครวั
- มอบถุงรบั ขวญั คนชาววังพรอ้ มโมบาย เน้นอปุ กรณก์ ระตนุ้ พฒั นาการด้านการมองเห็นและการได้ยิน
- ประเมินอาการผิดปกตมิ ารดาแลทารกหลงั คลอด
- ให้ความรู้แม่หลังคลอดและญาติ ตามคู่มือดูแลแม่หลังคลอด ค่มู ือการดูแลลูกรัก และการเลี้ยงลูกด้วย

นมแม่ ผ่าน “ส่ือโซเชียลเก่ียวรกั ” และแนะนำการดูดนมใหถ้ ูกวธิ ี ดูดเร็ว ดดู บ่อย ดูดถูกวธิ แี ละดูดเกลยี้ งเต้า
- แนะนำการหาข้อมูลเพ่มิ เติม ขอคำปรึกษา ผา่ นกลมุ่ ไลน์ “แม่มอื อาชพี ”

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

19

เยีย่ มบ้านหญิงหลังคลอดและมอบถงุ รับขวญั คนชาววัง

ให้ความรแู้ มห่ ลงั คลอดและญาติ ผ่าน “สื่อโซเชียลเก่ียวรกั ” และแนะนำการหาขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ
ขอคำปรึกษา ผา่ นกลุ่มไลน์ “แม่มืออาชีพ” พร้อมมอบโมบาย

การจดั กล่มุ ฝึกอาชพี ใหแ้ ก่หญงิ หลังคลอด

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

20

ร. เรือ คอื รา่ เริงสมวัยทง้ั 5 ด้าน

1. ด้านการเคลื่อนไหว

2. ดา้ นการใชก้ ลา้ มเนื้อและสติปัญญา

3. ด้านความเขา้ ใจภาษา

4. ดา้ นการใชภ้ าษา

5. ดา้ นการใชช้ ว่ ยเหลือตนเองและสงั คม

การเสริมสร้างพัฒนาการและสติปญั ญา

1. ตดิ ตามการได้รับวคั ซีนและตรวจพัฒนาการเดก็ ด้วยจดหมายน้อยสะกดิ ใจตามเกณฑ์อายุ
2. นำความรู้ทีไ่ ด้จากการอบรมตรวจพัฒนาการเด็กและติดตามกระตุน้ พฒั นาการเด็กทสี่ งสยั ล่าช้า
3. เฝา้ ระวงั ภาวะโภชนาการ เด็ก 0-6 ปี ทุก 3 เดือน
4. เสรมิ จินตนาการเด็กวัยก่อนเรยี น ด้วยกิจกรรมนิทานประกอบท่าทาง
5. เชือ่ มความสมั พนั ธ์ 2 วัย ระหว่างผสู้ งู อายุและเดก็ เลก็ ในกจิ กรรม กนิ กอด เลน่ เลา่
6. สอนการดูแลสุขภาพช่องปาก และแนะนำหาขอ้ มูลเพิม่ เติมไดต้ ามคูม่ ือการดูแลลูกรัก ผ่าน “สื่อโซเชยี ล
เกี่ยวรกั ”
7. รว่ มใหข้ อ้ มลู เพิม่ เติมและตอบปญั หาการเลี้ยงดูเด็กใหเ้ ป็นเด็กไทยคุณภาพ ผา่ นกลุม่ ไลน์ “แม่มืออาชีพ”

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

21

น. หนู คอื นมแม่ดที ่ีสดุ ให้รบั ประทานนมแมอ่ ย่างเดยี ว 6 เดอื น

1. ตดิ ตามการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการใช้ “ถงุ อุ่นรกั ”
2. สร้างแรงจงู ใจใหเ้ ลี้ยงลูกด้วยนมแม่อยา่ งเดียว 6 เดือน โดยมีกล่มุ แม่บ้านมาฝกึ อาชพี ให้แม่หลงั คลอดเพื่อ
เพ่ิมรายได้
3. มีธนาคารนมแม่เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยมีการรับฝากนมแม่ไว้ที่โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลวังลึก เพราะเป็นศูนย์กลางของชุมชนทั้ง 7 หมู่บ้าน สถานท่ีเก็บมีความปลอดภัย มีการควบคุมดูแล
ระบบความเย็นของตู้เย็นเป็นอย่างดี ให้เครือข่ายเป็นผู้ดูแลรับฝากและการเบิกจ่ายนม โดยมีทะเบียนคุมป้องกัน
ความผิดพลาดจากการจ่ายน้ำนมผดิ ถุงผิดคน ตู้เยน็ เกบ็ น้ำนมใชง้ บประมาณจากการระดมทนุ จากการทอดผา้ ป่า

ผลการดำเนินงาน“โดรน เจา้ ปญั ญา” “ส่ือโซเชียลเกยี่ วรกั ” “แมม่ ืออาชีพ”
1. เกิดภาคีเครือขา่ ยในการทำงานดา้ นนมแมแ่ ละอนามัยแม่และเดก็
2. หญิงต้ังครรภฝ์ ากครรภก์ ่อน 12 สัปดาห์ จำนวน 23 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 79.31
3. เด็กกนิ นมแม่อย่างเดียว 6 เดือน จำนวน 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 76.47

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

22

4. หญิงตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.59

5. เดก็ 0-5 ปี มีพฒั นาการสมวัย จำนวน 253 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.61

6. เด็ก 0-5 ปี ไดร้ บั การฉดี วคั ซนี ครบตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ชว่ งอายุ คดิ เป็นร้อยละ 100

จดุ เดน่ ของการดำเนนิ งาน
1. ติดตามหญิงต้งั ครรภ์ท่ฝี ากครรภ์ท่ีคลินิกเอกชนให้มาเขา้ โรงเรยี นพ่อแม่ ซ่งึ จะนำไปสกู่ ารฝากครรภ์

คุณภาพ

2. การนำปราชญช์ ุมชนเขา้ มาชว่ ยส่งเสริมและกระตนุ้ พฒั นาการเดก็ ท่ีสงสัยล่าชา้

3. หญงิ ตงั้ ครรภ์ได้รบั ความร้เู กี่ยวกับนมแม่และอนามัยแมแ่ ละเด็ก โดยใช้ส่อื โซเชียล

4. มีการคนื ข้อมูลหญิงต้งั ครรภใ์ ห้กบั ชุมชน

5. มกี ารใช้เครอื ขา่ ยในการทำงานนมแม่และอนามัยแมแ่ ละเดก็

6. ขยายเครือข่ายระดับอำเภอและระดบั จังหวดั

นวัตกรรมทเี่ กดิ ขน้ึ
นวัตกรรม “โดรน เจ้าปญั ญา”

การขยายผล
การดำเนินงานนมแม่ และงานอนามัยแม่และเด็ก จะใช้นวัตกรรม “โดรน เจ้าปัญญา” เผยแพร่ให้ภาคี

เครือข่ายทุกเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านท้ังในพื้นท่ีตำบลวังลึกทุกหมู่บ้าน

และในพืน้ ทอ่ี ำเภอศรสี ำโรงได้ขยายนวัตกรรมครบทัง้ 12 ตำบล ได้แก่

1.ตำบลคลองตาล 7.ตำบลทับผ้ึง

2.ตำบลสามเรือน 8.ตำบลบา้ นไร่

3.ตำบลบา้ นนา 9.ตำบลบ้านซ่าน

4.ตำบลวังทอง 10.ตำบลเกาะตาเลย้ี ง

5.ตำบลนาขุนไกร 11.ตำบลวงั ใหญ่

6.ตำบลวัดเกาะ 12.ตำบลราวตน้ จนั ทร์

นอกจากการขยายแนวทางการขบั เคลอื่ นงานแม่และเด็กด้วยนวัตกรรม “โดรน เจ้าปญั ญา”แก่เครอื ขา่ ย

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ่ ้านในพืน้ ทีต่ ำบลวังลึกและพ้นื ทอี่ ำเภอศรีสำโรงทุกตำบลแลว้ ยงั ได้รบั เชญิ จาก

สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุโขทัย ให้นำนวตั กรรม “โดรน เจ้าปญั ญา” แก่เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ

หมู่บา้ นในเวทกี ารอบรมยกระดบั ความรู้ อสม. เปน็ อสม. หมอประจำบ้าน เขตสุขภาพท่ี 2 ปีงบประมาณ 2564

สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ า้ น หลักสูตร อสม. หมอประจำบ้าน ในอำเภอกงไกรลาศ จำนวน 89 คน

(6 ตำบล)

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

23

ท่ี อำเภอ ตำบล กำหนดการ สถานที่

1 กงไกรลาศ 1.ตำบลไกรนอก 26 มกราคม 2564 ณ ห้องประชมุ

2.ตำบลไกรกลาง รพ.สต.ไกรกลาง

3.ตำบลไกรใน

4.ตำบลบา้ นใหมส่ ขุ เกษม

5.ตำบลดงเดือย

6.ตำบลกกแรต

ผลการขยายแนวทางการขับเคลื่อนงานแม่และเด็กด้วยนวัตกรรม “โดรน เจ้าปัญญา”แก่อาสาสมัคร

สาธารณสขุ ประจำหมบู่ ้านในอำเภอศรีสำโรงไดร้ ับความสนใจเปน็ อย่างนี้ โดยขอเอกสารที่ใช้ในนวัตกรรมไปขยายต่อ

ในพื้นท่ีของตนเอง นับเป็นแนวทางในการขยายผล และสร้างความยั่งยนื ในการดำเนนิ งานจัดการสุขภาพในชุมชนได้

อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

24

กจิ กรรมการออกกำลงั กายและการสง่ เสรมิ สุขภาวะของชุมชน

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

25

ความภาคภูมิใจและความม่งุ ม่ันในความเป็นอาสาเพอื่ ประชาชนทนี่ ำไปสคู่ นชมุ ชนตน้ แบบ

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

26

การเผยแพร่สู่สาธารณชน

Best Practice กศน.ตำบลวงั ลกึ 2564

27

Best Practice กศน.ตำบลวังลกึ 2564

28


Click to View FlipBook Version