รายงาน
เรอ่ื ง การสารวจความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกบั ชนดิ ของคาในภาษาไทย
ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ โรงเรยี นมารียอ์ ปุ ถัมภ์
เสนอ
คณุ ครสู ายฝน โหจนั ทร์
โดย
นางสาวสพุ ชิ ชา วชิรวทิ ยากร ชน้ั ม.๖/๑ เลขท่ี ๔
นางสาวนฏกร ปานศรแี ก้ว ชัน้ ม.๖/๑ เลขที่ ๘
นางสาวธนชั ญา ธนรตั นสทุ ธิ์ ชัน้ ม.๖/๑ เลขที่ ๑๐
นางสาวมนิ ตรา ศรนี วล ชั้น ม.๖/๑ เลขท่ี ๑๕
นางสาวปภาดา พรรณธรรม ชน้ั ม.๖/๑ เลขท่ี ๒๒
นางสาววชิรญาณ์ เพมิ่ อมั พร ชั้น ม.๖/๑ เลขท่ี ๒๕
นางสาวพรนภสั ก๊วยสมบูรณ์ ชั้น ม.๖/๑ เลขที่ ๒๖
รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนึ่งของวชิ าภาษาไทยพืน้ ฐาน (ท๓๓๑๐๑)
ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
โรงเรียนมารยี อ์ ปุ ถมั ภ์ อาเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม
ก
คานา
ร า ย ง า น ก า ร สํ า ร ว จ ค ว า ม รู้ พ้ื น ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ ช นิ ด ข อ ง คํ า ข อ ง ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง นั ก เ รี ย น ใ น ร ะ ดั บ ชั้ น
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ นั้นเป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชา ภาษาไทยพน้ื ฐาน ท๓๓๑๐๑ จดั ทําข้ึนเพ่ือสํารวจพื้นฐานความรู้
ของกลุม่ ตวั อย่างนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ มขี อบข่ายเน้ือหาในวชิ าภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคํา ลักษณะของ
ภาษาไทย โครงสร้างของภาษาไทย และหลักภาษาไทย โดยใช้แหล่งเรียนรู้จากเว็บไซต์ ตําราวิชาการ
ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ และวทิ ยานิพนธต์ า่ ง ๆ
คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจ หากมีข้อเสนอแนะ
พวกเราคณะผจู้ ัดทํายนิ ดีน้อมรับ
คณะผจู้ ดั ทาํ
๑๓/๐๙/๒๕๖๕
สารบัญ ข
เรอ่ื ง หน้า
คาํ นํา ก
สารบัญ ข
บทนํา ค
๑.ภาษา ๒
๒
๑.๑ ความหมายของภาษา ๒
๑.๒ ความสาํ คญั ของภาษา ๓
๒.ลกั ษณะของภาษาไทย ๓
๒.๑ ความสําคัญของภาษาไทย ๔
๒.๒ ลักษณะของภาษาไทย ๖
๒.๓ โครงสร้างของภาษาไทย ๗
๒.๔ ชนดิ ของคาํ ในภาษาไทย ๑๖
๓.หลกั ภาษาไทยและการใช้ภาษาไทย ๑๖
๓.๑ ความหมายของหลักภาษาไทยและการใช้ภาษาไทย ๑๗
๓.๒ ความสาํ คญั ในการศึกษาหลกั ภาษาไทยและการใช้ภาษาไทย ๑๘
๔.ปญั หาของการแยกชนดิ ของคาํ ๑๘
๔.๑ ปญั หาของการแยกชนดิ ของคํา ๑๘
๔.๒ สาเหตขุ องการเกิดปญั หาการแยกชนิดของคํา ๒๐
๕.ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ ้อมูลการทดสอบความรู้พน้ื ฐาน เร่ือง ชนิดของคาํ ๓๑
บทสรุป ๓๒
บรรรณานกุ รม ๓๕
ภาคผนวก
ค
บทนา
การสื่อสารเปน็ ศาสตร์ท่ีมีความหมายและมคี วามสําคญั กว้างขวางครอบคลุมอยู่ในชีวิตประจําวันของมนุษย์
ถือเปน็ กจิ กรรมสาํ คญั ประการหน่ึงสําหรับมนุษย์ จากแนวคิดของวู้ด (Wood. ๒๐๐๐, p.๑๑) กล่าวว่ามนุษย์ใช้
เวลาในการส่ือสารมากกว่ากิจกรรมอื่น ๆ ในแต่ละวนั มนษุ ย์จาํ เป็นต้องตดิ ตอ่ สือ่ สารกนั อยู่ตลอดเวลา การส่ือสาร
จึ ง มี บ ท บ า ท สํ า คั ญ แ ล ะ เ ป็ น ปั จ จั ย อ ย่ า ง ห นึ่ ง น อ ก เ ห นื อ จ า ก ปั จ จั ย พ้ื น ฐ า น ใ น ก า ร ดํ า ร ง ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย์
ดังน้ันการส่ือสารโดยใช้ภาษาให้ถูกต้องนับว่าเป็นสิ่งที่สําคัญอย่างย่ิง แต่ปัจจุบันเราประสบปัญหาการใช้ภาษา
ในการส่อื สารเชิงวัจน (verbal communication) คือการพูด การฟงั การอา่ น และการสอน ซ่งึ การแยกชนิดของ
คําน้ันถือเป็นพื้นฐานในการใช้ภาษา การแยกชนิดของคําและหน้าที่ของคําน้ันๆ เพ่ือนําไปสร้างประโยค
ในการส่ือสารผ่านการพูด การอ่าน การสนทนา และการสอน หากไม่สามารถแยกชนิดของคําได้ถูกต้อง
ก็จะไมส่ ามารถใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องเชน่ กัน
ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดทําจึงสร้างแบบสํารวจขึ้น เพื่อใช้ในการทดสอบและเก็บข้อมูลเก่ียวกับ
ความรู้พื้นฐานเรื่อง ชนิดของคําในภาษาไทย ของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยมีจุดประสงค์
เพ่ือใหผ้ ้ทู ีส่ นใจสามารถนําข้อมลู ท่ไี ด้จากการสาํ รวจไปตอ่ ยอดเพ่ือแกไ้ ขปญั หาและปรับปรุง รายงานการสํารวจเล่มนี้
จึงมีรายละเอียดท่ีเกี่ยวข้องกับลักษณะของภาษาไทย การใช้หลักภาษาไทย รวมถึงปัญหาและสาเหตุของ
การแยกชนิดของคําในภาษาไทย ซึ่งคณะผู้จัดทําได้รวบรวมและเรียบเรียงไว้ในรายงานเล่มนี้
โดยมงุ่ หวงั วา่ ผทู้ ่สี นใจจะได้รบั ทราบข้อมูลผลสํารวจดังกล่าว
๒
๑.ภาษา
๑.๑ ความหมายของภาษา
"ภาษา" เป็นคาํ ท่ีมาจากภาษาสนั สกฤตว่า ภาษ (พา-สะ) แปลว่า กล่าว, พูด หรือ บอก (ภาษาบาลีใช้คําว่า
"ภาส") เมอื่ นาํ มาใชเ้ ปน็ คํานามก็เปลีย่ นรูปเปน็ ภาษา แปลตามรูปศัพทไ์ ดว้ ่าคาํ พูดหรือถ้อยคํา หมายถึง เครื่องมือ
ทีใ่ ชใ้ นการตดิ ต่อสอ่ื สารเพอ่ื สอ่ื ความถงึ กนั โดยอาจเป็นถ้อยคําที่มีระเบียบหรือเป็นการแสดงกิริยาท่าทางต่าง ๆ
ทม่ี คี วามหมาย ซึง่ มนุษย์เป็นผกู้ าํ หนดข้ึนโดยตกลง รบั รู้และเขา้ ใจความหมายรว่ มกัน (กําชัย ทองหล่อ, ๒๕๒๒)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ น้ันได้ให้ความหมายของคําว่า "ภาษา" ไว้ว่า
หมายถึง ถ้อยคําที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน
หรือเพื่อส่ือความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม นอกจากนี้ ยังหมายถึง
เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทางภาษามือ เป็นต้น
(ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๖)
พระยาอนุมานราชธน (๒๕๑๕: ๓๒-๓๓) กล่าวว่า ภาษา ตามความหมายในนิรุกติศาสตร์ คือวิธีที่มนุษย์
แสดงความในใจเพ่ือให้ผู้ท่ีตนต้องการให้รู้ได้รู้ โดยใช้เสียงพูดท่ีมีความหมายตามที่ได้ตกลงรับรู้กัน
ซึ่งมผี ้ไู ด้ยินรบั รแู้ ละเขา้ ใจ
อดุ ม วโรตมส์ ิกขดิตถ์ (๒๕๓๗: ๓) กล่าวว่า ภาษา ย่อมเป็นระบบสัญลักษณ์ในเชิงคําพูดหรือเชิงการเขียน
ท่มี นุษยเ์ ทา่ น้นั กําหนดขน้ึ และใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการส่อื ความหมายตอ่ กันและกัน
วิจินตน์ ภาณุพงศ์ (๒๕๓๘: ๖) อธิบายว่า ภาษา หมายถึงเสียงพูดท่ีมีระเบียบและมีความหมาย
ซึ่งมนษุ ยใ์ ช้เป็นเคร่ืองมือสําหรับส่อื สาร ความคดิ ความรสู้ กึ ความต้องการ และใชใ้ นการประกอบกิจกรรมร่วมกัน
จากการศึกษาความหมายของภาษา นักวิชาการได้ให้ความหมายไว้มากมาย นักวิชาการจํานวนมาก
มคี วามเหน็ เกี่ยวกับความหมายของภาษาตรงกนั วา่ ภาษา คือ ถอ้ ยคําทีใ่ ช้พูดหรือเขียนเพ่ือให้คนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง
เข้าใจกนั เพ่อื ส่อื สารความคิด ความรูส้ ึก และความต้องการต่าง ๆ
จากความหมายของภาษาทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ ทาํ ให้ทราบได้ถึงความสําคัญของภาษาดงั น้ี
๑.๒ ความสาคญั ของภาษา
ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าย่ิงของชาติ เป็นเครื่องมือในการส่ือความหมายของคนในชาติ
อีกท้ังยังเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความต้องการของตนให้ผู้อ่ืนทราบ
ถ่ายทอดประสบการณ์ความรใู้ หแ้ กก่ นั ภาษาจึงเปน็ เครอ่ื งมือสําคญั ที่ทาํ ใหค้ นในชาติน้ัน ๆ สามารถติดต่อสื่อสาร
ซ่ึงกันและกันได้ด้วยความเข้าใจ ส่งผลให้เกิดความเจริญทางวัฒนธรรมในทุก ๆ ด้าน หากไม่มีภาษา
มนุษย์ก็คงไม่สามารถสืบทอดวิชาความรู้จากคนรุ่นหน่ึงไปสู่อีกรุ่นหน่ึง ไม่สามารถถ่ายทอดประสบการณ์
ให้ชนร่นุ หลงั ได้ศึกษาและเรียนรู้ จนไม่อาจพัฒนาหรือรักษาความเป็นชาติของตนไว้ได้ ดังท่ี ผะอบ โปษกฤษณะ
ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ ถา้ ชนชาตใิ ดรักษาภาษาของตนให้ดี ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ ก็จะไดช้ อ่ื ว่ารักษาความเป็นชาติ (ผะอบโปษกฤษณะ,๒๕๕๔)
ศรีสุดา จริยากุล (๒๕๕๖ : ๔) กล่าวว่า ภาษาไทยมีความสําคัญเพราะเป็นเครื่องมือแสดงความรุ่งเรือง
ในอดีตเปน็ หลกั ฐานสาํ คัญให้คนไทยได้ศกึ ษาความเป็นมาของชาติ เปน็ เครอื่ งมอื สือ่ สารและถา่ ยทอดวัฒนธรรม
๓
ฐะปะนีย์ นาครทรรพ (๒๕๕๖ : ๓๔๘) ได้แสดงแนวคิดว่า ภาษาไทยมีความสําคัญในฐานะที่เป็น
เคร่อื งมือส่ือสารของประชาชาติไทย และเปน็ เคร่อื งมอื ในการศึกษาเล่าเรียนตลอดจนการสืบทอดวัฒนธรรมไทย
การใช้ภาษาได้ดที ําใหส้ ามารถประกอบกิจการต่างๆได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและเปน็ การชว่ ยให้เกิดความรว่ มมอื ของคนในชาติ
จากการศกึ ษาความสําคัญของภาษา วิจัยได้สรุปไว้ว่าภาษาเป็นวัฒนธรรมท่ีสําคัญอย่างยิ่ง เป็นเคร่ืองมือ
ที่ใช้ในการสื่อสาร ถ่ายทอดความคิด และยังเป็นสิ่งท่ีสามารถแสดงถึงความรุ่งเรืองของประเทศในอดีต
จนถึงปจั จุบันได้เนอ่ื งจากเปน็ หลักฐานทีส่ ําคัญในการศกึ ษาเกีย่ วกับความร่งุ เรอื งของประเทศนั้น ๆ
จ า ก ที่ ก ล่ า ว ถึ ง ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง ภ า ษ า ม า ข้ า ง ต้ น ทํ า ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ภ า ษ า มี ค ว า ม สํ า คั ญ เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก
โดยแต่ละภาษาจะมลี ักษณะท่ีแตกต่างกันออกไป และเนื่องด้วยภาษาไทยมีความจําเป็นในการใช้ชีวิตประจําวัน
ของพวกเราทุกคนอย่างมาก ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของภาษาไทยจึงจําเป็นอย่างย่ิง
โดยลกั ษณะของภาษาไทยมดี งั น้ี
๒. ลักษณะของภาษาไทย
๒.๑ ความสาคญั ของภาษาไทย
สมพร มันตะสูตร (๒๕๒๕ : คํานํา) อ้างถึงใน รัตนาวลี คําชมภู ภาษาไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ท่ีมีค่าอย่างย่ิง ทั้งแสดงความเป็นเอกลักษณ์และเอกราชของชาติไทย เป็นส่ิงท่ีพึงรักและหวงแหนไว้ตราบเท่า
ความเป็นไทยยังดํารงอยู่ แต่การใช้ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารทุกวันน้ีมีปัญหาอยู่มากทั้งผู้สอนภาษาไทย
และผเู้ รียนภาษาไทย เพราะความงอกงามหรอื ความวิบตั ิของภาษาไทยท้งั หลายนน้ั อยูก่ ับการถ่ายทอดวัฒนธรรม
ของภาษาและการเรียนรู้วัฒนธรรมเป็นสําคัญ ปัญหาของครูภาษาไทย คือ ไม่อยากสอน เพราะนักเรียน
ไม่อยากเรียน ปัญหาของนักเรียน คือ ไม่อยากเรียนเพราะครูสอนไม่สนุก การสอนภาษาไทยจึงเป็นปัจจัย
อันสําคัญย่ิงที่จะทําให้ภาษาไทยยังคงแสดงความเป็นเอกลักษณ์และเอกราชทางภาษา ครูสอนภาษาไทย
มสี ่วนสําคัญท่ีจะอนุรกั ษ์สง่ เสรมิ ให้ภาษาไทยดาํ รงอยู่อย่างงอกงาม
กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๕๒ : ๓๗-๕๕) ได้กล่าวถึงความสําคัญของการเรียนภาษาไทยว่า ภาษาไทยเป็น
เอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติ
ให้มีความเป็นไทยเป็นเคร่ืองมือติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน เป็นเครื่องมือ
ในการแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์
การพัฒนาอาชพี เปน็ สอื่ แสดงภมู ิปญั ญาของบรรพบรุ ษุ เป็นสมบัตอิ นั ลํ้าคา่ ควรแก่การเรยี นรู้อนุรกั ษ์ และสืบสาน
ใหค้ งอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชํานาญในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร
การเรียนรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และเพ่ือนาํ ไปใช้ในชีวิตจรงิ
กองเทพ เคลอื บพณิชกลุ , (๒๕๔๒) อ้างถึงใน ธัญญารัตน์ ชื่นแสงจันทร์ ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่สําคัญของ
ชาตเิ ปน็ ส่อื กลางให้คนในชาตติ ิดตอ่ ถงึ กนั อีกทัง้ ชว่ ยส่งเสริมใหว้ ัฒนธรรมอ่นื ๆ เจริญข้นึ ชาติไทยเราใช้ภาษาไทย
เป็นภาษาประจําชาติ นับเป็นมรดกอันล้ําค่าที่บรรพบุรุษไทยได้สร้างไว้ถ่ายทอดและรักษาให้คงอยู่มา
จนกระทั่งปัจจุบัน ภาษาไทยจึงเป็นศูนย์กลางยึดเหนี่ยวคนไทยไว้ให้เป็นพวกเดียวกันและคงความเป็นเอกราช
เป็นชาติไทยไว้ได้มาจนทุกวนั นี้ สามารถสรปุ ไดว้ ่าภาษาไทยมคี วามสําคัญ ดังนี้
๑) ภาษาไทยเปน็ เครือ่ งมอื ในการตดิ ตอ่ สื่อสาร
๒) ภาษาไทยเปน็ เครื่องมอื ในการเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้
๔
๓) ภาษาไทยเปน็ เครือ่ งมอื สรา้ งความเข้าใจอนั ดตี อ่ กนั
๔) ภาษาเป็นเครื่องมือในการบันทึกและถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของบรรพบุรุษในรูปของวรรณคดี
และวรรณกรรม
๕) ภาษาเป็นเครื่องมือสรา้ งเอกภาพของชาติ
จากความคิดเห็นของนักวิชาการเกี่ยวกับความสําคัญของภาษาไทย นักวิชาการหลายท่านมีความคิดเห็น
ตรงกันว่าภาษาไทยถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย และเป็นเครื่องมือที่ใช้
ในการตดิ ต่อสือ่ สารกนั ของคนในประเทศ เพ่ือสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ต่าง ๆ
และเป็นภาษาควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่ตลอดไป และจากการศึกษาความสําคัญของภาษาไทยท่ีกล่าวมาข้างต้น
ทําให้เห็นว่าควรศึกษาลกั ษณะของภาษาไทยเช่นกนั จึงไดท้ ราบวา่ ลักษณะของภาษาไทยมลี ักษณะดงั นี้
๒.๒ ลกั ษณะของภาษาไทย
สมบัติ ศริ จิ นั ดา ๒๕๕๕ อ้างถึงใน สมบัติ ศริ จิ ันดา และ จกั กเมธ พวงทอง ภาษาไทยเป็นภาษาประจําชาติ
ของประเทศไทยมาเป็นเวลามากกว่า ๗๐๐ ปี เป็นสิ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกราช ความเป็นชาติและความมีศักดิ์ศรี
อันน่าภาคภูมิใจ โดยมีลักษณะเฉพาะหลายประการที่แตกต่างจากภาษาอื่น ๆ ในโลก เช่น การท่ีภาษาไทย
เป็นคําโดด เป็นคําพยางค์เดียวที่ฟังแล้วสามารถเข้าใจได้ในทันที เป็นภาษาที่ให้ความสําคัญกับการเรียงคํา
เขา้ ประโยค ซง่ึ ความหมายจะเปลีย่ นไปตามการวางตําแหน่งของคาํ เปน็ ภาษาที่มเี สยี งวรรณยุกต์เพ่ือเปล่ียนเสียง
และความหมายของคํา เป็นภาษาที่คําพ้องรปู คําพอ้ งเสยี งและคาํ ไวพจน์หรือคําหลาย ๆ ท่ีมีความหมายเดียวกัน
เป็นภาษาที่สะกดตรงมาตรา เป็นภาษาที่มีการเลียนเสียงธรรมชาติ เป็นภาษาที่มีเครื่องหมายวรรคตอน
สําหรบั ขยายความหรอื อธบิ าย เปน็ ภาษาท่มี ีการสรา้ งคาํ ใหม่ด้วยกลวธิ หี ลากหลาย เป็นภาษาทม่ี ีระดับความสุภาพ
เป็นภาษาทีม่ กี ารใชค้ าํ ทับศัพท์ เปน็ ต้น
ภาษาไทยเป็นภาษาคําโดด หมายความว่า การพูดการใช้ภาษาไทยจะมี คํา เป็นหน่วยภาษา
ที่แทนความหมาย เมื่อต้องการจะส่ือความหมายใดก็นําคําท่ีมีความหมายน้ันมาเรียงต่อกันเพ่ือแทนความคิด
หรือเรื่องราวที่ต้องการสื่อออกไป โดยคํานั้น ๆ ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงรูป หรือผันแปร เพ่ือให้สอดคล้องกับคําอื่น
ในลักษณะของความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์ ในภาษาไทยคํามีความสัมพันธ์กันด้วยตําแหน่งและความหมาย
เช่น เป็นผู้กระทํา เป็นผู้รับการกระทํา เป็นอาการที่กระทํา เป็นต้น ตําแหน่งและความหมายของคําสัมพันธ์
กบั หนา้ ทีข่ องคาํ นั้นด้วย ภาษาไทยมีลกั ษณะเฉพาะของตนเอง แตกต่างจากภาษาอื่น ดังน้ี
๑) คําภาษาไทยแต่เดมิ เป็นคําพยางค์เดียว
๒) ภาษาไทยจะมตี วั สะกดตรงตามมาตรา
๓) ภาษาไทยมีคาํ ลักษณนาม
๔) คาํ ภาษาไทยคาํ เดยี วมีหลายความหมายและมีหลายหนา้ ที่
๕) ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคํา
๖) คําขยายจะวางไวห้ ลงั คําท่ถี ูกขยาย
๗) ภาษาไทยมีระบบเสียงพยัญชนะ เสยี งสระ เสียงวรรณยุกต์
๘) ภาษาไทยมีการสร้างคําใหม่
๕
(อาจารยส์ มหวงั อินทรไ์ ชย และคณะ ๒๕๕๓ : ๔๐ - ๔๖) ภาษาไทยเปน็ ภาษาตระกูลคาํ โดด คือ เป็นภาษา
ท่ีนําเอาคําเดิมเป็นดํา ๆ มาเรียงเข้าเป็นวลี ประโยค จนได้ใจความที่มีความหมายต่าง ๆ โดยรูปเดิมของคํา
จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของประโยคท่ใี ชล้ กั ษณะเฉพาะของภาษาไทย มดี ังต่อไปนี้
๑) ภาษาไทยมตี ัวอักษรและอักขรวิธีเปน็ ของตนเอง
๒) ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีมีคําพยางค์เดียว ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีคําพยางค์เดียวและไม่มีเสียงควบกล้ํา
เชน่ คําเรยี กเครือญาติ
๓) ภาษาไทยแตล่ ะคาํ มีความหมายสมบรู ณใ์ นตัวเอง เม่อื นําไปเข้าประโยคแต่ละคาํ เป็นอิสระไมข่ ึ้นกับคําใด
เป็นคําสําเร็จรูปในตัวเองเอาไปใช้ในประโยคได้ทันทีไม่เปล่ียนรูปคํา เพื่อแสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจก
หากต้องการบอกสิง่ ตา่ ง ๆ กใ็ ชค้ ําขยาย
๔) ภาษาไทยใชต้ ัวสะกดตรงตามมาตรา และ ไมม่ กี ารนั ต์ มาตราตวั สะกดมี ๘ มาตรา
๕) ภาษาไทยมรี ปู สระวางไว้หลายตาํ แหน่ง
๖) ภาษาไทยเป็นคําคําเดียวที่มีความหมายหลายอย่าง คําคําเดียวในภาษาไทยอาจมีหลายความหมาย
ใช้ไดห้ ลายหนา้ ท่ีโดยไมต่ ้องเปลี่ยนแปลงรปู คํา
๗) ภาษาไทยเป็นภาษาเรยี งคาํ การเรยี งคําในภาษาไทยเป็นเรือ่ งสาํ คญั ยงิ่ ถ้าคําเรียงเปล่ียนที่หรือสับท่ีกัน
ความหมายจะเปลย่ี นไปด้วย เช่น ฉนั ตอ้ งการไก่เนือ้ ไม่ใชเ่ นือ้
๘) ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี การเปล่ียนแปลงในภาษาไทยท่ีสําคัญท่ีสุด และทําให้ภาษาไทยเป็นภาษา
ท่ีมีลักษณะน่าสนใจก็คือ การเปล่ียนระดับเสียงของคํา หรือเรียกกันว่าวรรณยุกต์ ซ่ึงทําให้ภาษาไทย
มลี กั ษณะน่าสนใจ
๙) ภาษาไทยมคี าํ เทียบเคียงใช้ ภาษาไทยเป็นภาษาคําโดด และมีคําใช้มากมายจึงทําให้ภาษาไทยมีคําที่มี
ความหมายตา่ ง ๆ ตามความรูส้ ึก ความตอ้ งการ เม่ือนาํ มารวมกัน จะเกดิ ความหมายใกลเ้ คยี ง
๑๐) ภาษาไทยมีคาํ อปุ มาอุปไมยหรือคําเปรียบเทียบในภาษาไทยเมื่อใช้แล้วทําให้การส่ือความหมายกันได้
กระจา่ งชดั ข้ึน
๑๑) ภาษาไทยเปน็ ภาษาทล่ี ักษณนาม
๑๒) ภาษาไทยเปน็ ภาษาท่ีมีนัย ภาษาไทยมีคําที่มคี วามหมายแฝงหรือมีนัยไวอ้ ย่างมากมาย
๑๓) ภาษาไทยเปน็ ภาษามีระดบั ชาติไทยเป็นชาติทมี่ วี ฒั นธรรมในเรื่องการคารวะผู้มีอาวุโส ซึ่งแสดงออก
ทั้งกิริยา มารยาทในการใช้ภาษา บุคคลในสังคมแตกต่างกันด้วยวัยด้วยวุฒิ ลําดับญาติ ลําดับช้ันปกครอง
ภาษาไทยจึงมีลักษณะการใช้คําให้เหมาะกับกาลเทศะและบุคคลซึ่งบางท่านกล่าวว่า เป็นภาษาฐานันดร
หรอื มศี กั ดินาทางภาษา
๑๔) ภาษาไทยมคี ําพ้องเสียงพ้องรูป
๑๕) ภาษาไทยมกี ารสร้างคํา
๑๖) ภาษาเขียนมีวรรคตอนภาษาพดู มีจงั หวะวรรคตอนเปน็ เร่ืองสําคัญในภาษาไทย ถ้าเขียนเว้นวรรคตอนผิด
จะทาํ ใหค้ วามเปล่ียนไป ในการพูดกต็ ้องเว้นจงั หวะให้ถกู ท่ี ถา้ หยดุ ผดิ จงั หวะความกเ็ ปลี่ยนไปเชน่ กนั
๑๗) ภาษาพูด มีคาํ เสรมิ แสดงความสภุ าพและไม่สุภาพ
๖
จากการศึกษาหัวข้อลักษณะของภาษาไทย สรุปได้ว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีความเป็นเอกลักษณ์
และมีลักษณะเฉพาะท่ีแตกตา่ งจากภาษาอน่ื ๆ เชน่ ภาษาไทยเป็นภาษาทเ่ี ป็นคาํ โดด คือ เป็นคาํ ที่ฟังแล้วสามารถ
เข้าใจได้เลย เปน็ ภาษาที่มีการเรียงคําในประโยค มีเสียงวรรณยุกต์ เสียงสระและตัวสะกด คําพ้องรูปพ้องเสียง
มีการสร้างคําใหม่ มีการเลียนเสียงธรรมชาติ มีเครื่องหมายวรรคตอนกําหนด มีการใช้คําทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ
และภาษาไทยยังเป็นภาษาที่มีระดับความสุภาพของภาษาอีกด้วย จากการศึกษาลักษณะของภาษาไทย
จึงจาํ เปน็ ต้องเข้าใจโครงสร้างของคาํ ในภาษาไทยซึ่งมีลกั ษณะดังน้ี
๒.๓ โครงสรา้ งของคาในภาษาไทย
วจิ ินตน์ ภานพุ งศ์ (๒๕๒๔) อ้างถึงใน รุจิรา หนูปาน งานวิจัยช้ินนี้ได้เลือกทฤษฎีโครงสร้างของภาษาไทย
ของวิจินตน์ ภานุพงศ์ (๒๕๒๔) มาใช้ในการวิเคราะห์ เนื่องจากวิจินตน์ได้อธิบายและวิเคราะห์ส่วนต่าง ๆ
ไว้อย่างละเอียด พร้อมทั้งมีตัวอย่างประกอบในการวิเคราะห์ในแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียด ทําให้ผู้ที่สนใจ
ในเรื่องไวยากรณ์ภาษาไทยสามารถศึกษา วิเคราะห์และสามารถที่จะตรวจความถูกต้องจากการท่ีวิเคราะห์
ได้จากตัวอย่าง ในการวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคภาษาไทยน้ัน วิจินตน์ได้พิจารณาเร่ืองใหญ่ ๆ ทีละเรื่อง
รวมท้ังหมด ๓ เรอ่ื ง คือ ประโยค วลี หมวดคาํ ซึ่งหมวดคําอาจแบง่ ได้ ๒ คือ วิธีจําแนกหมวดคํา หมวดคําชนิดต่าง ๆ
พร้อมท้งั ลกั ษณะของหมวดคําเหลา่ นนั้
การจาแนกหมวดคา
ในการจาํ แนกคําออกเป็นชนดิ ตา่ ง ๆ ในทฤษฎไี วยากรณ์ของวจิ ินตน์นั้น ได้จําแนกคําในภาษาไทยออกเป็น
หมวดคําต่าง ๆ โดยอาศัยหลกั เกณฑ์ ดังน้ี
๑) การจาํ แนกคําโดยอาศยั หน้าที่ ของคําเป็นเกณฑ์
คาํ ทมี่ ีหน้าทีแ่ ตล่ ะหนา้ ที่ จะมตี ําแหน่งที่แน่นอน ผู้วจิ ยั ไดแ้ บง่ คาํ พดู ออกเปน็ หมวดคาํ ต่าง ๆ รวม ๒๒ หมวด
คือ หมวดคํานาม หมวดคําสรรพนาม หมวดคําลักษณนาม หมวดคําคุณศัพท์ หมวดคําจํานวนนับ หมวดคําลําดับที่
หมวดคําหนา้ จํานวน หมวดคาํ หลงั จาํ นวน หมวดคําบอกกําหนดเสียงโท หมวดคําบอกกําหนดเสียงตรีและจัดวา
หมวดคําบอกเวลา หมวดคําพิเศษ หมวดคําช่วยหน้ากริยา หมวดคําช่วยหลังกริยา หมวดคําปฏิเสธ หมวดคําหน้ากริยา
หมวดคําหลังกริยา หมวดคํากริยาวิเศษณ์ หมวดคําลงท้าย หมวดคําเช่ือมนาม หมวดคําเชื่อมอนุพากย์
และหมวดคําบพุ บท
วจิ ินตน์ ภาณุพงศ์ (๒๕๔๘: ๑๐๑-๑๒๖) อ้างถึงใน โศรยา วิมลสถิตพงษ์ ไวยากรณ์โครงสร้างมีแนวคิดว่า
สิ่งท่ีเราสังเกตโดยตรงไดห้ รือแทนทก่ี นั ไดโ้ ดยไม่ทําให้โครงสร้างของประโยคเปลี่ยนแปลงไป คือ ตําแหน่งหน้าท่ี
ซ่ึงนํามาใช้ในการจําแนกคําโดยยึดหลักว่าคําที่เกิดตําแหน่งเดียวกันได้ จะจัดให้เป็นคําชนิดเดียวกัน
หรือเรียกอีกอยา่ งหน่งึ วา่ เปน็ คําในหมวดเดียวกัน เนอ่ื งจากไวยากรณ์แนวนี้เชื่อว่าตําแหน่งกับหน้าที่นั้นเก่ียวข้องกัน
คือ ตําแหน่งมาก่อนหน้าที่ เม่ือไรท่ีคํามีตําแหน่งเมื่อนั้นก็มีหน้าท่ี ดังนั้นคําที่ปรากฏในตําแหน่งเดียวกันได้
จึงสามารถทาํ หนา้ ทีเ่ ดียวกนั ได้ คาํ ทีม่ ีตําแหน่งหน้าทีอ่ ยา่ งเดยี วกนั ในทางไวยากรณ์ หมายถงึ คําทีป่ รากฏในคาํ แวดล้อม
อยา่ งเดียวกนั นกั ภาษาศาสตร์แนวนี้จึงคิดกรอบประโยคทดสอบขึ้นมาเพอื่ ใชท้ ดสอบคาํ ต่าง ๆ ว่าสามารถปรากฏ
ในตําแหน่งเดียวกันได้หรือไม่ หากได้ก็จะจัดเป็นคําชนิดเดียวกัน วิจินตน์ ภาณุพงศ์ ถือเป็นนักภาษาศาสตร์
ทา่ นหนึง่ ที่วเิ คราะห์คาํ โดยใช้แนวไวยากรณ์น้ี จากการทดสอบคําโดยใช้กรอบประโยคทดสอบ วิจินตน์ ภาณุพงศ์
(๒๕๔๘: ๑๐๑-๑๒๖) พบวา่ สามารถแบ่งชนิดของคําได้ทง้ั สิ้น ๒๕ หมวด คอื หมวดคาํ นาม หมวดคํากริยาอกรรม
๗
หมวดคํากริยาสกรรม หมวดกริยาทวิกรรม หมวดคํากริยาอกรรมย่อย หมวดคําช่วยหลังกริยา หมวดคําช่วยหน้ากริยา
หมวดคาํ ปฏิเสธ หมวดคาํ หนา้ กรยิ า หมวดคําหลงั กรยิ า หมวดคาํ กริยาวเิ ศษณ์ หมวดคาํ พเิ ศษ หมวดคําสรรพนาม
หมวดคําลักษณนาม หมวดคําจํานวนนับ หมวดคําลําดับที่ หมวดคําหน้าจํานวน หมวดคําหลังจํานวน
หมวดคาํ บอกกาํ หนด หมวดคาํ คณุ ศัพท์ หมวดคําบอกเวลา หมวดคาํ บุพบทหมวดคาํ เช่ือมนามหมวดคาํ เชื่อมอนพุ ากย์
(วิจินตน์ ฉันทวิบูลย์ .ผู้รวบรวม ๒๕๐๕ : ๑๗๕ - ๑๘๓) การจําแนกคําออกเป็นหมวดคําชนิดต่าง ๆ
อาจจะอาศัยได้ ๓ เกณฑ์ คือ ความหมายของคํา ตําแหน่งของคํา หน้าที่ของคําโดยเฉพาะหน้าที่ของคํา
ในฐานะทเ่ี ปน็ สว่ นของประโยค ตาํ ราเล่มน้จี ะใชเ้ พียงเกณฑ์ ตําแหน่ง และเกณฑ์ หน้าท่ี ดงั น้ี
๑) การจําแนกคาํ โดยอาศยั "ตาํ แหนง่ " ของคาํ เปน็ เกณฑ์
ตําแหน่ง หมายถึง ตําแหน่งท่ีคําแต่ละคําปรากฏอยู่ในประโยด เช่น ประโยคที่มีคําจํานวน ๓ คํา
ก็ถือว่าประโยคนั้นมี ๓ ตําแหน่ง ในที่นี้หมายความว่าคํานั้นเป็นส่วนของประโยคหรือส่วนของประโยค
ประกอบดว้ ยคําเพียงคําเดียว วิธีทดสอบว่าคําใดจัดเป็นคําในหมวดใด จะใช้กรอบประโยคทดสอบคําใดปรากฏ
ในตําแหนง่ เดยี วกนั ได้ ก็ถือวา่ เป็นคําในหมวดคําเดยี วกนั
ด้วยวิธีทดสอบเช่นน้ี จึงแบ่งหมวดคําออกได้เป็น ๒๖ หมวด คือ หมวดคํานาม หมวดคํากริยาอกรรม
หมวดคํากริยาสกรรม หมวดกริยาทวิกรรม หมวดคําคุณศัพท์หรือคํากริยาอกรรมย่อย หมวดคําช่วยหลังกริยา
หมวดคําชว่ ยหนา้ กริยา หมวดคําปฏเิ สธ หมวดคําหน้ากริยา หมวดคาํ หลงั กริยา หมวดคาํ ลงท้ายหมวดคํากริยาวิเศษณ์
หมวดคําพิเศษ หมวดคําสรรพนาม หมวดคําลักษณนาม หมวดคําจํานวนนับ หมวดคําลําดับที่ หมวดคําหน้าจํานวน
หมวดคําหลังจํานวน หมวดคําบอกกําหนดเสียงตรีและเสียงจัตวา หมวดคําบอกเสียงโท หมวดคําบอกเวลา
ประเภทท่ี ๑ หมวดคาํ บอกเวลาประเภทที่ ๒ หมวดคาํ บุพบท หมวดคําเชื่อมนาม หมวดคําเช่ือมอนุพากย์
จากความคิดเห็นของนักวิชาการเกย่ี วกับโครงสรา้ งของคาํ ในภาษาไทย นกั วิชาการหลายท่านมคี วามคิดเห็น
ตรงกนั วา่ โครงสร้างของคําในภาษาไทยสามารถจําแนกออกเป็นหมวดคําต่าง ๆ ได้ โดยใชต้ ําแหน่งและหน้าที่ของ
คาํ เป็นเกณฑ์ และเพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจการจําแนกคํามากขนึ้ จงึ จําเป็นต้องศึกษาชนดิ ของคํา โดยมลี ักษณะดังนี้
๒.๔ ชนดิ ของคา
ไดแ้ บ่งชนิดคาํ ในกาษาไทยออกเป็น ๗ ชนิด ดังนี้
๑. คํานาม คอื คําท่ีบอกชื่อคน สัตว์ สถานที่ สง่ิ ของ แบ่งออกเปน็ ๕ ชนดิ คือ
๑.๑ สามานยนาม คอื ค่านามท่เี ป็นช่อื ของคน สตั ว์ ส่ิงของ เช่น เด็ก บ้าน
๑.๒ วิสามานยนาม คือคาํ นามท่เี ป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สง่ิ ของ และสถานท่ี เชน่ สมศรี ดาวดึงส์
๑.๓ ลักษณนาม คอื คํานามที่ทําหนา้ ที่ประกอบนามอน่ื เพ่ือแสดงรูปลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของ
นามนนั้ ใหช้ ดั เจน เช่น รถ ๑ คัน บรรทุกคน ๔ คน
๑.๔ สมุหนาม คอื คํานามบอกหมวดหมู่ เช่น ฝูงนก คณะกรรมการการศกึ ษา
๑.๕ อาการนาม คือคํานามท่ีเกิดจากคํากริยาหรือคําวิเศษณ์ท่ีมีคํา "การ" หรือ "ความ" นําหน้า
เช่น ความรกั การเดนิ การนอน
๒. คาํ สรรพนาม คอื คาํ แทนนาม แบ่งออกเป็น ๖ ชนดิ คอื
๒.๑ บรุ ุษสรรพนาม คอื คาํ สรรพนามท่ีใช้แทนช่ือในการพูด เชน่ ฉัน เธอ
๘
๒.๒ ประพันธสรรพนาม คือคําสรรพนามท่ีติดต่อกับคํานามท่ีอยู่ข้างหน้า เช่น เด็กที่ร้องเพลง
เรียนหนังสือเก่ง
๒.๓ วิภาคสรรพนาม คือคําสรรพนามที่ใช้แทนนามอ้างหน้าเพ่ือจําแนกนามน้ันออกเป็นส่วน ๆ
เช่น ชาวนาตา่ งทํานา
๒.๔ นยิ มสรรพนาม คอื คาํ สรรหนามท่ใี ชแ้ ทนนาม เพ่ือใหร้ ูก้ ําหนดแน่นอน เชน่ น่ีคือนก นนั่ คือแมว
๒.๕ อนิยมสรรพนาม คือคําสรรพนามท่ีใช้แทนนามที่ไม่มีกําหนดแน่นอนลงไปว่าสิ่งนั้นส่ิงนี้
เชน่ ใด ๆ ในโลกลว้ นอนจิ จงั
๒.๖ ปฤจฉาสรรพนาม คือคาํ สรรพนามทใี่ ชแ้ ทนนามแตม่ เี นือ้ ความเปน็ คาํ ถามเช่นเมื่อเชา้ นใี้ ครมาหาฉัน
๓. คํากริยา คือคําที่แสดงอาการของนาม หรือสรรพนาม เพ่ือให้รู้ว่า คํานามหรือคําสรรพนามน้ัน ๆ
ทําอะไร หรือเป็นอยา่ งไร แบง่ ออกเปน็ ๔ ชนดิ คือ
๓.๑ อกรรมกรยิ า คือคาํ กรยิ าท่ไี ม่ตอ้ งมีกรรม เชน่ นกบิน น้องเดนิ
๓.๒ สกรรมกรยิ า คือคาํ กรยิ าทตี่ ้องมีกรรมมารบั เชน่ ฉันกนิ ขา้ ว
๓.๓ วิกตรรถกริยา คอื คาํ กริยาทอี่ าศยั คําอ่ืนเปน็ สว่ นเดิมเตม็ เชน่ เขาเปน็ ครู ฉันเหมอื นแม่
๓.๔ กรยิ านุเคราะห์ คอื คาํ กรยิ าทช่ี ว่ ยคาํ กริยาอ่ืนทําให้มคี วามหมายเพ่มิ ข้นั
๔. คาํ วิเศษณ์ คอื คาํ ทใี่ ช้ประกอบคาํ อื่นใหม้ ีความหมายแปลกออกไป แบ่งเปน็ ๑๐ ชนดิ คือ
๔.๑ ลกั ษณวเิ ศษณ์ คือคาํ วเิ ศษณ์ท่แี สดงลกั ษณะ เช่น คนโง่
๔.๒ กาลวิเศษณ์ คือคําวเิ ศษณ์แสดงเวลา เชน่ คนโบราณ
๔.๓ สถานวิเศษณ์ คือคําวิเศษณ์ทแ่ี สดงสถานที่ เช่น บ้านฉันอยู่ไกล
๔.๔ ประมาณวิเศษณ์ คอื คาํ วเิ ศษณ์ทแ่ี สดงปรมิ าณ เช่น คนมาก
๔.๕ นยิ มวเิ ศษณ์ คือคําวิเศษณ์ทแ่ี สดงการช้เี ฉพาะเจาะจง เช่น คนนี้
๔.๖ อนยิ มวเิ ศษณ์ คือคําวิเศษณ์ท่ไี มช่ ้ีเฉพาะเจาะจง เช่น ลูกจะกนิ อะไรกไ็ ด้
๔.๗ ปฤจฉาวเิ ศษณ์ คอื คําวิเศษณท์ แ่ี สดงคาํ ถาม เชน่ รถเธอคันไหน
๔.๘ ประติชญาวิเศษณ์ คอื คาํ วิเศษณ์ที่แสดงการรบั เชน่ จํา ครับ
๔.๙ ประตเิ ษธวิเศณ์ คอื คําวเิ ศษณ์ทแ่ี สดงความหมายปฏิเสธ เชน่ ไม่ มิใช่
๔.๑๐ ประพนั ธวิเศษณ์ คือคําวเิ ศษณ์ท่ีประกอบคาํ กริยาหรือคาํ วเิ ศษเพอ่ื เชอ่ื มประโยคให้มีข้อความ
เกีย่ วขอ้ งกัน เชน่ เขาพดู ให้ฉนั อาย
๕. คาํ บพุ บท คอื คาํ ที่แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคําหรอื ประโยค เพ่ือให้รู้ว่าคาํ หรอื ประโยคท่อี ยู่หลังบพุ บทนั้น
มีหนา้ ทเ่ี กีย่ วรอ้ งกับคําหรอื ประโยคทอ่ี ยู่ข้างหนา้ อยา่ งไร เชน่ เขาอยใู่ นชนบท
๖. คําสนั ธาน คือคําที่ทาํ หนา้ ทเี่ ชื่อมคาํ กับคาํ ประโยคกบั ประโยค ข้อความกับขอ้ ความ หรือเช่ือมข้อความ
ให้สละสลวย เช่น เขาพบฉนั และเธอ
๗. คําอุทาน คอื คําชนิดหนึ่งท่ผี ู้พูดเปล่งเสียงออกมาแบบไม่ตง้ั ใจ เชน่ พทุ ไฮ่ เอ๊ะ
วนั เพ็ญ เทพโสภา (๒๕๔๖ : ๖๑-๗๑) อ้างถึงใน รัตนาวลี คําชมภู ได้แบ่งชนิดของคําในภาษาไทยออกเปน ๗ ชนิด
ดงั น้ี คาํ นาม คาํ สรรพนาม คํากรยิ า คําวเิ ศษณ คาํ บุพบท คาํ สนั ธาน คาํ อทุ าน
๑. คํานาม คอื คําทบ่ี อกชอ่ื คน สตั ว์ สถานท่ี สง่ิ ของ แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด
๙
๑.๑ สามานยนาม คือ คํานามทใ่ี ช้เรยี กชอ่ื ท่ัว ๆ ไป เชน่ นก หนู ดิน นาํ้ บ้าน โรงเรยี น
๑.๒ วสิ ามานยนาม คอื คํานามที่ใช้เรียกช่ือเฉพาะ ตั้งข้ึนเพราะไม่ต้องการให้นามน้ันปนกับคํานามอื่น ๆ
เชน่ อาทิตย์ (วนั ) มนี าคม (เดือน) พจิ ติ ร (จังหวัด) มะลิ (ดอกไม้)
๑.๓ สมุหนาม คือ คํานามที่เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของท่ีอยู่เป็นหมวดหมู่รวมกัน เช่น โขลง (ช้างหลายเชือก)
ฝูงปลา (ปลาหลายตัว) นอกจากนีก้ ม็ คี ําว่า กลุ่ม หมู่ กอง เหล่า พวก คณะ โหล สมาคม บรษิ ทั ฝูง ฯลฯ
๑.๔ อาการนาม คือ คํานามที่เป็นชื่อกิริยาอาการของคน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ อาการนาม
หมายถึง คํากริยาหรือคําวิเศษณ์ จะมีคําว่า การหรือความ นําหน้าอยู่เสมอ ซ่ึงการใช้คําว่าการและความ
มีหลักดงั นี้
- การ จะใช้นําหน้าคํากริยาท่ีแสดงในด้านทางกายและวาจา เช่น การนั่ง การ นอน การเดิน
การพูด การฟัง การอา่ น
- ความ จะใช้นําหน้าคํากริยาท่ีเกี่ยวกับจิตใจ เช่น ความคิด ความโกรธ ความตาย ความรัก
ความโลภ และยงั ใช้นําหนา้ คาํ วิเศษณ์เพื่อบอกลกั ษณะต่าง ๆ เชน่ ความเรว็ ความดี ความสุข
หมายเหตุ
ถา้ การ และ ความ ไม่ไดน้ ําคํากริยาหรอื คาํ วิเศษณ์ จะถือว่าเปน็ สามานยนาม เช่น การบ้าน การคลงั
การเมอื ง ความอาญา ความแพง่
๑.๕ ลักษณนาม คือ คํานามท่ีใช้บอกลักษณะของคํานามน้ัน เพ่ือต้องการให้ทราบว่า คํานามนั้น
มลี กั ษณะอย่างไร คาํ ลักษณนามจะอยู่หลงั คําวเิ ศษณ์บอกจาํ นวนนบั เสมอ เชน่ คน ๑ คนดินสอ๙แทง่ ขลุ่ย๑เลา
๒. คําสรรพนาม คือ คําที่ใช้แทนคํานามหรือข้อความท่ีผู้พูดหรือผู้เขียนได้กล่าวมาแล้ว เพื่อจะได้ไม่ต้อง
กลา่ วนามซํ้าอีก คาํ สรรพนามจะแบง่ ได้ ๖ ชนดิ คือ
๒.๑ บรุ ุษสรรพนาม คือ คําสรรพนามทใี่ ชแ้ ทนบคุ คลท่ีเก่ียวข้องในการพูดจากัน จะมีผู้พูดผู้ฟังและ
ผู้ทเ่ี ราพดู ถงึ ซง่ึ บรุ ษุ สรรพนามจะแบ่งได้ ๓ พวกดงั น้ี
๒.๑.๑ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๑ คือ เปน็ คําสรรพนามทใี่ ชแ้ ทนผู้พดู เชน่ ฉนั ดิฉนั ผม
๒.๑.๒ สรรพนามบุรุษที่ ๒ คือ เปน็ สรรพนามทใี่ ช้แทนผู้ฟัง เช่น เอ็ง เธอ ท่าน
๒.๑.๓ สรรพนามบรุ ุษท่ี ๓ คอื เปน็ คําสรรพนามทใี่ ชแ้ ทนผู้ทีเ่ รากําลงั พูดถึงเขาเช่นแกมนั เขา
๒.๒ ประพันธสรรพนาม คอื สรรพนามทใี่ ช้แทนนาม หรอื สรรพนามท่ีอยู่ข้างหน้าและต้องติดอยู่กับ
นามหรือสรรพนาม ซง่ึ จะมคี าํ วา่ ท่ี ซึง่ อัน ประกอบอยู่ เช่น คนที่พดู มากมกั ไม่ค่อยฟงั
๒.๓ วิภาคสรรพนาม คอื คําสรรพนามใช้แทนนามหรือสรรพนามเพอื่ ตอ้ งการแบง่ นามหรอื สรรพนาม
ออกเปน็ สัดส่วน และมักมคี าํ ว่า ต่าง บา้ ง กัน ประกอบอยู่ เชน่ เราไปเที่ยวดว้ ยกัน
๒.๔ นิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใช้แทนนามในการกําหนดความหมายให้ชัดเจนข้ึน
มักใชค้ าํ ว่า นี่ นน่ั โน่น
๒.๕ อนิยมสรรพนาม คอื คําสรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนนามซง่ึ ไมไ่ ดก้ ําหนดชัดเจน แน่นอน มักมีคําว่า ใคร
อะไร ไหน ใด เช่น ไม่มใี ครรงั เกยี จเธอ ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์
๒.๖ ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามที่เป็นคําถามหรือสงสัย เช่น อะไรทําให้เธอ
เปล่ียนไป ?
๑๐
๓. คํากริยา คือ คําที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม เพ่ือให้รู้ว่าทําอะไรหรืออยู่ในสภาพใด
เชน่ หมาเห่า นกร้อง เขาหัวเราะ ฝนตก คาํ กรยิ าแบง่ ได้ ๔ ชนดิ คือ
๓.๑ อกรรมกรยิ า คือ คํากริยาไม่ต้องมกี รรมมารับข้างทา้ ยก็ถอื ว่าอ่านไดค้ วามสมบรู ณ์ เช่นหมาเห่า
๓.๒ สกรรมกริยา คือ คํากริยาที่ต้องมีกรรมมารับข้างท้าย จึงจะอ่านได้ความสมบูรณ์ เช่น เขาถูกครูตี
ฉันถูกรางวัลที่หนง่ึ
๓.๓ วกิ ตรรถกริยา คือ คํากริยาท่ีจะต้องอาศัยคํานาม หรือสรรพนามมาช่วยขยายจึงจะอ่านได้สมบูรณ์
วกิ ตรรถริยา มักมคี าํ วา่ เปน็ เหมอื น คล้าย เท่า เชน่ พอ่ เปน็ ทหาร เขาตวั เทา่ ฉนั
๓.๔ กริยานุเคราะห์ คือ คํากริยาท่ีมีหน้าที่ช่วยกริยาสําคัญในประโยดเพ่ือจะบอกกาล(เวลา)
มาลา(สภาพ) และวาจก(หนา้ ท่ี) ซ่ึงตอ้ งการเน้นกริยาสําคัญให้เด่นชดั ขนึ้ มักมีคําว่า จะ นะ กําลัง เถอะ อย่า ต้อง
ถูก ให้ ยงั อยู่ ได้ ซิ เคย
๔. คาํ วเิ ศษณ์ คือคําท่ีใช้ประกอบเพ่ือให้ความหมายของคําชัดเจนข้ึน ซ่ึงคําวิเศษณ์อาจประกอบ คํานาม
สรรพนาม กริยา หรอื วิเศษณ์ก็ได้ เชน่ ประกอบนาม เชน่ นา้ํ เย็น ใจรา้ ย รถเรว็ ประกอบสรรพนาม เช่น เขาอ้วน
เธอตัวเล็ก ฉันผอม ประกอบกริยา เช่น เดินช้า กินเร็ว หัวเราะดัง ประกอบวิเศษณ์ เช่น นุ่มน่ิม หอมหวาน
เหมน็ เปรีย้ ว คําวเิ ศษณ์แบง่ ได้ ๑๐ ชนิด ดังนี้
๔.๑ ลักษณวิเศษณ์ คือ คาํ วเิ ศษณบ์ อกลักษณะของคําให้เด่นชดั ข้นึ ซ่ึงแบง่ ได้ ๙ ชนดิ
๔.๑.๑ ลักษณวิเศษณบ์ อกชนดิ เช่น ดี ช่วั แก่ อ่อน หนมุ่ สาว ใหม่ โบราณ
๔.๑.๒ ลักษณวเิ ศษณบ์ อกสณั ฐาน เช่น ราบ กลม แบน แปนู รี เหล่ยี ม นนู
๔.๑.๓ ลักษณวเิ ศษณ์บอกขนาด เชน่ ผอม อว้ น เล็ก โต กวา้ ง ยาว สูง ใหญ่
๔.๑.๔ ลักษณวิเศษณบ์ อกสี เช่น ดาํ แดง ขาว เขยี ว เหลอื ง ฟูา สม้
๔.๑.๕ ลักษณวิเศษณบ์ อกเสยี ง เช่น เบา ดัง แหลม สูง แหบ ต่ํา ทุ้ม หรือเสียงของสัตว์ร้อง
และเสียงของตกต่าง ๆ
๔.๑.๖ ลกั ษณวิเศษณบ์ อกรส เช่น เปรยี้ ว หวาน มัน เคม็ จดื จัด ขม
๔.๑.๗ ลักษณวิเศษณบ์ อกกลิ่น เชน่ สาบ ฉนุ หอม เหมน็
๔.๑.๘ ลักษณวเิ ศษณ์บอกสมั ผัส เช่น แขง็ นิ่ม เย็น รอ้ น หนาว
๔.๑.๙ ลักษณวเิ ศษณบ์ อกอาการ เชน่ ชา้ เรว็ ดว่ น คลอ่ ง ว่องไว อืดอาด
๔.๒ กาลวิเศษณ์ คือ วิเศษณ์ท่ีบอกเวลา เพ่ือต้องการให้คําประกอบน้ัน ชัดเจนข้ึนจะมีคําว่า ก่อน
หลงั อีก เสมอ เดยี๋ วนี้ เชา้ สาย บา่ ย เทีย่ ง เยน็ ดกึ เชน่ เขามากอ่ นฉัน พระอาทิตยต์ กตอนเยน็
๔.๓ สถานวเิ ศษณ์ คอื คําวิเศษณ์บอกสถานท่ี จะมีคําว่า ห่าง ไกล ใกล้ บน เหนือ เช่น เขาอยู่บนต้นไม้
นอ้ งนัง่ รมิ หน้าต่าง
๔.๔ ประมาณวเิ ศษณ์ คอื คาํ วเิ ศษณ์บอกจํานวน นับ หรือ ประมาณ ซึ่งจะมีคําว่า มาก น้อย หมด
หนึ่ง สอง ทห่ี น่ึง ทส่ี าม สิ้น บรรดา บ้าง ตา่ ง เชน่ นกสบิ ตัว เพ่อื นทัง้ หมดมางานเล้ยี ง
๔.๕ นิยมวิเศษณ์ คือ คําวิเศษณ์บอกความหมายชัดเจนแน่นอนยิ่งขึ้น ซ่ึงจะช้ีเฉพาะลงไป
แลว้ มักมคี ําว่า นั้น นี่ น้ี โน่น แท้ แนน่ อน จริง เชน่ โรงเรียนน้อี ย่ไู กล ฉนั หยุดเฉพาะวันเสาร์อาทติ ย์
๑๑
๔.๖ อนิยมวเิ ศษณ์ คือ คําวิเศษณ์บอกความไม่แน่นอน ไม่ช้ีเฉพาะเจาะจง มักมีคําว่า ใด อื่น ทําไม
อยา่ งไร ไหน ใคร กี่ เชน่ ไปไหนกไ็ ด้ คนอืน่ กนิ หมดแลว้
๔.๗ ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คําวิเศษณ์ท่ีเป็นคําถามหรือการแสดงความสงสัย จะมีคําว่า ใด อื่น ใคร
อะไร ทําไม ไหน หรอื ไฉน เทา่ ไร เช่น เธอจะไปทาํ ไม ครูตเี ธอเรอ่ื งอะไร
๔.๘ ประติชญาวิเศษณ์ คือ วิเศษณ์ แสดงการตอบรับของคู่สนทนา จะมีคําว่า คะ จ๊ะ จ้ะ ขา
เช่น คณุ แม่มีคนมาหาครับ นอ้ งจา๋ ฟงั ทางน้ีจ้ะ
๔.๙ ประติเสธวิเศษณ์ คือ คําวิเศษณ์ท่ีบอกปฏิเสธ บอกอาการห้ามปรามหรือไม่ยอมรับ
จะมีคําวา่ ไม่ มไิ ด้ หาไม่ บ่ ไมไ่ ด้ เช่น ฉันสอนหนงั สือไม่ได้พักเลย เธอไมค่ วรไปเทย่ี วลาํ พงั
๔.๑๐ ประพันธวิเศษณ์ คือ คําวิเศษณ์ท่ีเชื่อมประโยคให้สัมพันธ์กัน มีลักษณะเช่นเดียวกับ
คําประพันธสรรพนาม แต่จะใช้ในการขยายกริยาและวิเศษณ์ จึงเป็นคําวิเศษณ์มักมีคําว่า ท่ี ซ่ึง อัน
เช่น แหวนวงน้ีหาคา่ อันประมาณไมไ่ ด้ เส้ือตวั นีด้ ที ่มี ีราคาถกู
๕. คําบุพบท คือ คําท่ีใช้นําหน้านาม สรรพนาม คํากริยา หรือคําวิเศษณ์ เพื่อต้องการบอกตําแหน่ง
ของคําเหลา่ นั้น และยงั แสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างคําหรือประโยควา่ สัมพันธก์ ันอย่างไร เชน่ เขาทาํ งานหนักเพือ่ ฉนั
คาํ บพุ บทแบง่ ได้ ๒ ชนิด คอื
๕.๑ คาํ บุพบททไ่ี ม่ต้องเช่อื มกบั คําอนื่ คือ บพุ บทท่เี ป็นคําร้องเรียก จะมีคาํ วา่ ดูกอ่ น ดกู ร ขา้ แต่ ดูข้า
๕.๒ คําบุพบทท่ีต้องเชื่อมกับคําอื่น คือ คําบุพบทนี้จะนําหน้าคํานาม สรรพนาม หรือ
กรยิ าสภาวมาลา เพอื่ จะต้องการให้ประโยคชดั เจนข้นึ ซงึ่ มลี ักษณะการใช้ดงั น้ี
๕.๒.๑ บุพบทท่ีนําหนา้ กรรมในประโยค จะมคี าํ วา่ ซ่งึ เป็นตัวเช่ือม
คําซ่ึงในบุพบทนี้ภาษาไทยไม่นิยมใช้ แต่จะละเสีย แต่จะใช้กันเฉพาะในการเชื่อมประโยคให้ไพเราะ
เชน่ ผปู้ ระพฤติดยี ่อมถงึ ซ่งึ ความเจริญ
๕.๒.๒ บุพบทที่นําหน้าคําที่แสดงอาการเป็นเจ้าของมักมีคําว่า ของ แห่ง เช่ือม อยู่
เชน่ หนังสอื ของฉัน เจา้ แห่งทอ้ งทะเล
๕.๒.๓ บุพบทท่ีทําหน้าที่เป็นเครื่องใช้ หรือแสดงความสัมพันธ์กัน มักจะเชื่อมด้วยคําว่า
ท้ัง กบั ด้วย โดย ตาม เช่น ฉันทาํ กับมอื เขาทําตามโดยดี
๕.๒.๔ บุพบทนําหน้าคําที่เกี่ยวกับการให้ หรือผู้รับ จะมีคําว่า แด่ แก่ แต่ ต่อ สําหรับ เพื่อ
เชน่ เขายอมตายเพ่ือเธอ
๕.๒.๕ บุพบทท่นี ําหนา้ คาํ เพื่อบอกเวลา มกั มีคาํ ว่า ตั้งแต่ จนกระทง่ั เมอ่ื ใน แต่ เปน็ ตัวเชื่อม
เชน่ เขามาโรงเรยี นแต่เช้า ฉับพบเขาเมอ่ื วานน้ี
๕.๒.๖ บพุ บทนาํ หนา้ คาํ เพอ่ื บอกเวลา มักมคี ําวา่ เหนือ ใต้ บน ล่าง ใน ขอบ ชิด ริม ถึง ใกล้
ท่ี จาก เปน็ เชื่อม เชน่ ฉันมาจากนครสวรรค์ เขานงั่ ใกลฉ้ ัน
๕.๒.๗ บุพบทที่นําหน้าคําเพื่อแสดงการเปรียบเทียบ ซึ่งมีคําว่า กว่า เป็นตัวเช่ือม
เชน่ พ่ีว่งิ เรว็ กวา่ ฉัน เขาแก่กวา่ ฉัน
๕.๒.๘ บุพบททนี่ ําหนา้ คาํ เพ่ือบอกประมาณหรอื คาดคะเน มักเชื่อมด้วยคําว่า ราว สัก เกือบ
พอ หมด สนิ้ ท้ังหมด ทัง้ ตลอด เชน่ ฉันไปโรงเรียนเกอื บสาย เขาทาํ งานตลอดวัน
๑๒
๖. คาํ สนั ธาน คือ คําที่ใช้เชอื่ มระหวา่ งคาํ หรือขอ้ ความ ใหต้ ิดต่อกัน ซึ่งมหี ลกั การใชด้ งั น้ี
๖.๑ ใชเ้ ช่ือมคํากับคาํ เชน่ หมูกบั หมา คนดีหรอื คนชั่ว
๖.๒ ใชเ้ ชื่อมประโยคกบั ประโยค เชน่ ฉนั กินแต่เขาหลับ เธอจะกนิ หรือจะนอน
๖.๓ ใช้เช่ือมข้อความกับข้อความ ให้ต่อเน่ืองกัน มักมีคําว่าดังนั้น เพราะฉะน้ัน อน่ึงเพราะเหตุว่า
อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง คํ า สั น ธ า น น้ั น จ ะ อ ยู่ ตํ า แ ห น่ ง ใ ด ใ น ป ร ะ โ ย ค ห รื อ ข้ อ ค ว า ม ก็ ไ ด้ จ ะ ใ ช้ คํ า สั น ธ า น ก่ี ตั ว ก็ ไ ด้
เช่น กวา่ ถัว่ จะสุกงากไ็ หม้ ถงึ ฝนจะตกเขาก็ไปโรงเรียน
คําสนั ธานเช่อื มคําหรอื ข้อความไดด้ งั นี้
๑) เช่ือมข้อความท่ีคล้อยตามกัน จะเช่ือมด้วยคําว่า ก็ ก็ดี ท้ัง และ กับ ก็ได้ แล้ว...จึง เม่ือ...ก็ คร้ัน...จึง
พอ...ก็ ท้งั ...กับ ท้ัง....และ เชน่ ครั้นรุง่ เชา้ จึงเดินทาง เขาและเธออยู่ด้วยกนั
๒) เชื่อมข้อความท่ีขัดแย้งกันมีตัวเช่ือมด้วยคําว่า แต่ แต่ว่า กว่า..ก็ ถึง..ก็ เช่น เธอผอมแต่แข็งแรง
ถึงเขาจะยากจนแตเ่ ขาเปน็ คนดี
๓) เชื่อมข้อความท่ีเป็นเหตุเป็นผลกัน มักเชื่อมด้วยคําว่า ฉะน้ัน ฉะนี้ ฉะน้ัน...จึง เพราะฉะน้ัน...จึง
เช่น เขามาสายเพราะรถติด เธองว่ งนอนจึงหลบั ไป
๔) เช่ือมข้อความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง มักเชื่อมด้วยคําว่า หรือไม่..ก็ มิฉะนั้น ไม่เช่นน้ัน
เชน่ เธอจะกนิ ขา้ วหรือกนิ กว๋ ยเตย๋ี ว เธอต้องอ่านหนงั สือ มิฉะนนั้ จะสอบตก
๕) เชื่อมข้อความแบ่งรับแบ่งสู้หรือการดาดคะเน ซ่ึงจะเช่ือมด้วยคําว่า แม้ แม้น อาจ เป็น ถ้า...ก็
เช่น เขาอาจพูดไม่จริง ถ้าเธอขยนั กส็ อบได้
๖) เช่ือมข้อความที่แสดงการเปรียบเทียบ มีคําว่า ดัง ดุจ ราว เสมือน เหมือน เป็นตัวเช่ือม
เช่น เธอสวยเหมอื นนางฟาู สายตาเขาดุจแววตาเสอื
๗) เชือ่ มข้อความท่ีตา่ งตอนให้ติดกัน มักเชื่อมด้วยคําว่า ฝุาย อนึ่ง ส่วน อีกประการหน่ึง เช่น เขาทํางาน
ส่วนฉันเรียนหนงั สือ ฉันสอนหนงั สอื ฝุายเขาทําธุรกิจ
๘) เชื่อมข้อความให้สละสลวยและไพเราะมักเชื่อมด้วยคํา ว่า ก็ อย่างไรก็ดี ทําไมกับ อันว่า
เชน่ อนั วา่ ความรกั เรากช็ ายชาติทหาร
๗. คําอุทาน คือ คําท่ีเปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ หรือ ความรู้สึกของผู้พูด ซ่ึงไม่มีความหมายแต่จะมี
ความหมายในด้านเนน้ ความรู้สกึ และอารมณข์ องผพู้ ดู คาํ อทุ านแบง่ ได้ ๒ ชนิด คือ
๗.๑ คาํ อทุ านบอกอาการ คือ คาํ อุทานท่เี ปลง่ เสยี งออกมาเพ่ือให้รู้อาการของผ้พู ดู เชน่ ไชโย ฮา่ ๆ
๗.๒ คําอุทานเสริมบท คือ คําอุทานที่ใช้เป็นคําสร้อยหรือเสริมบททําให้ความสมบูรณ์ ไพเราะ
สละสลวยขึ้น แบง่ เปน็ ๓ ชนดิ คอื
๗.๒.๑ คําสร้อย คือคําอุทานท่ีใช้เป็นคําสร้อยในบทประพันธ์พวกโคลงและร่าย มักมีคําว่า
แลนา นาแม่ เทอญพอ่ พีเ่ อย จริงแฮ เชน่ เสียงฤาเสียงเลา่ อา้ ง อันใด พีเ่ อย
๗.๒.๒ คาํ แทรก คําอทุ านทแ่ี ทรกระหวา่ งขอ้ ความหรือดํา เพ่อื ตอ้ งการใหฟ้ ังไพเราะสละสลวย
มกั ประกอบด้วยคําวา่ สิ นะ ซิ เฮย เอย เอ๋ย เช่น เรว็ ๆ หนอ่ ยนะ รอฉันดว้ ยนะ
๗.๒.๓ คําเสริม คือ คําอุทานท่ีต่อคําให้ยาวข้ึน เพราะต้องการให้ออกเสียงสะดวกข้ึน
โดยท่คี วามหมายไม่เปลย่ี น เช่น กนิ ข้าวกนิ ปลา ไปวดั ไปวา ลกู เตา้ ตาํ รบั ตาํ รา
๑๓
ตําราไวยากรณ์ไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร อ้างถึงใน นารถนารี อินฒะสอน จําแนก ชนิดของคําไทย
ออกเปน็ ๗ ชนดิ คือ คาํ นาม คาํ สรรพนาม คาํ กรยิ า คาํ วิเศษณ์ คาํ บุพบท คาํ สันธาน คาํ อุทาน โดยมีรายละเอยี ดดังนี้
๑. คํานาม คือ คําที่ใช้เรียกช่ือของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ สภาพ และกิริยาอาการต่าง ๆ ในภาษา
เชน่ ปากกา โต๊ะ เตยี ง กุหลาบ กล้วยไม้ เป็นตน้ คํานามแบง่ ออกไดเ้ ป็น ๕ ชนดิ คือ
๑.๑ สามานยนาม หรือนามท่ัวไป คือ คําที่เป็นช่ือ หรือใช้เรียกชื่อท่ัวไปของคนสัตว์ สิ่งของ ฯลฯ
เช่น นก คน หนู กุหลาบ บา้ น เป็นต้น
๑.๒ วิสามานยนาม หรือคาํ นามชเี้ ฉพาะ คือ คําที่เป็นชื่อหรือใช้เรียกชื่อเฉพาะเจาะจงของคน สัตว์
สง่ิ ของ เป็นต้น
๑.๓ สมหุ นาม หรือคํานามรวมหมู่ คือ คาํ นามท่ีเปน็ ช่อื คน สัตว์ สิง่ ของทีอ่ ย่รู วมกันเป็นหมู่ เปน็ พวก
๑.๔ ลักษ ณน าม หรื อคํา นา มบอ กลั กษณะ คือ คํา นาม ท่ีทํ าหน้ าท่ี ประ กอ บนา มอื่ น
เพอื่ แสดงรปู ลกั ษณะ ขนาด หรอื ประมาณของนามนัน้ ใหช้ ัดเจนยง่ิ ข้นึ
๑.๕ อาการนามหรือคํานามบอกอาการ เป็นคํานามซ่ึงตามปกติเป็นคํากริยาและคําวิเศษณ์
เมื่อมีคํา "การ" หรือ "ความ" มานําหน้าคํากริยาและคําวิเศษณ์น้ัน ๆ และอยู่ในตําแหน่งของคํานาม
เรยี กวา่ อาการนาม เช่น การวง่ิ เป็นการออกกาํ ลังกายทด่ี อี ยา่ งหนึง่
กําชัย ทองหลอ่ (๒๕๓๓ : ๒๔๙) ได้ใหข้ ้อสัง่ เกตการใช้ "การ" และ "ความ" ไว้ว่า"การ" มักใช้นําหน้า
คํากรยิ าท่แี สดงความเปน็ ไปทางกายและวาจา เชน่ การเดนิ การน่งั การนอน การวิ่ง การกิน การด่ืม การเจรจา
ฯลฯ "ความ" มักใช้ใน ๒ กรณี ได้แก่
๑.๕.๑ นาํ หนา้ คาํ กริยาทีแ่ สดงความเป็นไปทางจิตใจ หรือคาํ ที่แสดงความนกึ คิดทางนามธรรม
เชน่ ความคิด ความฝนั ความดาํ ริ ความเข้าใจ ความรัก ความเกลียด ความกา้ วหน้า ฯลฯ
๑.๕.๒ นําหน้าคําวิเศษณ์ เช่น ความดี ความชั่ว ความสูง ความยาว ความเร็ว ความสวย
ความสะอาด ฯลฯ
๒. คําสรรพนาม คือ คําที่ใช้แทนคํานาม กล่าวคือ เป็นคําที่ใช้แทนช่ือ คน สัตว์ สิ่งของต่าง ๆ ทั้งปวง
ทงั้ น้ีเพ่อื หลกี เลยี่ งการเรียกชื่อนั้นซ้ํา ๆ กนั และหลกี เลยี่ งการเรยี กชอ่ื สิง่ ใดส่ิงหน่ึงตรง ๆ สรรพนามแบ่งออกเป็น
๖ ชนดิ ดงั น้ี
๒.๑ บรุ ษุ สรรพนาม (บุ-หรดุ -สับ-พะ-นาม) คือ สรรพนามทใี่ ชแ้ ทนชอื่ บุคคล แบ่งเปน็ ๓ พวกดงั นี้
๒.๑.๑ บรุ ุษสรรพนามที่ ๑ หมายถึงสรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนตัวผู้พูด ได้แก่คําว่า ฉัน ข้าพเจ้า กู ตู
เรา ผม กระผม ฯลฯ
๒.๑.๒ บุรุษสรรพนามที่ ๒ หมายถึงสรรพนามที่ใช้แทนตัวผู้ฟัง ได้แก่คําว่า มึง แก สู เอ็ง
ใตเ้ ทา้ ใตฝ้ ุาละอองธุลพี ระบาท ฯลฯ
๒.๑.๓ บุรุษสรรพนามที่ ๓ สรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้ท่ีจะกล่าวถึง ได้แก่คําว่า เขา ท่าน มัน
พระองค์ ฯลฯ
๒.๒ วิภาคสรรพนาม (วิ-พาก-คะ-สับ-พะ-นาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามข้างหน้า เพ่ือจําแนก
นามน้ันออกเป็นส่วน ๆ บางคําใช้แทนนามบอกความซ้ํากัน ในหนังสือหลักภาษาไทยกระทรวงศึกษาธิการ
เรยี กวา่ สรรพนามบอกความชีซ้ ้ํา ไดแ้ ก่ บา้ ง ต่าง กนั
๑๔
๒.๓ นิยมสรรพนาม (นิ-ยะ-มะ -สับ-พะ-นาม) คือ สรรพนามท่ใี ช้แทนนาม เพ่ือบง่ บอกระยะทางหรอื
ตาํ แหนง่ ของนามนนั้ อย่างชดั เจนแน่นอนกาํ หนดใหร้ ูค้ วามใกล้ ไกล ของนามที่กล่าวถึง ในหนังสือหลักภาษาไทย
ของกระทรวงศึกษาธกิ ารเรยี กว่า สรรพนามบอกความช้ีเฉพาะเจาะจง ได้แก่ นี่ นน่ั โนน่ นู้น
๒.๔ อนิยมสรรพนาม (อะ-นิ-ยะ -มะ-สับ-พะ-นาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามแล้วบอกความ
กําหนดไมแ่ นน่ อนลงไปวา่ สงิ่ นัน้ ส่ิงนี้ หนังสอื เรยี นหลกั ภาษาไทยของกระทรวงศึกษาธกิ าร เรยี กวา่ สรรพนามบอก
ความไมเ่ จาะจง ไดแ้ ก่ ใคร อะไร ไหน ใด ๆ อน่ื ๆ ผู้หนึง่ ผ้ใู ด ชาวไหน
๒.๕ ปฤจฉาสรรพนาม (ปริด-ฉา-สับ-พะ-นาม) คือ สรรพนามท่ีใช้แทนนามแล้วมีเนื้อความเป็น
คาํ ถาม หนังสือเรียนหลกั ภาษาไทยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี กว่า สรรพนามใช้ถาม ได้แก่ ใคร อะไร ไหน ผูใ้ ด
๒.๖ ประพนั ธสรรพนาม (ประ-พัน-ทะ -สับ-พะ-นาม) คอื สรรพนามท่ใี ชแ้ ทนคํานาม หรือสรรพนาม
ท่ีอยูข่ า้ งหน้า หนงั สอื เรยี นหลกั ภาษาไทยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรียกว่า สรรพนามเช่ือมประโยค ได้แก่คําต่อไปนี้
ผู้ ที่ ซงึ่ อัน หรืออาจเปน็ คําประสมกับลกั ษณนาม เช่น ผู้ที่ อันท่ี ตวั ท่ี ลูกที่ นดั ที่ ฯลฯ
๓. คาํ กรยิ า คอื คําทแ่ี สดงกิริยาอาการของนามหรือสรรพนามหรือแสดงการกระทาํ ของประธานในประโยค
คํากรยิ าแบ่งเป็น ๔ ชนิด คอื
๓.๑ อกรรมกรยิ า หรือกริยาไม่ต้องมกี รรม เป็นกรยิ าทมี่ ีใจความสมบรู ณ์ในตัวไมต่ ้องมคี าํ ท่เี ป็นกรรมมารับ
ถ้ามคี ํามาขา้ งทา้ ยต้องเปน็ คาํ วเิ ศษณ์ มใิ ชก่ รรม อกรรมกริยาไดแ้ ก่ นง่ั ยนื เดนิ นอน ไป หลับ กระโดด ล้ม เปน็ ต้น
๓.๒ สกรรมกริยาหรือกริยามีกรรม เป็นกริยาที่ต้องมีกรรมมารับข้างท้ายจึงจะได้ใจความสมบูรณ์
สกรรมกริยา เช่น ยงิ เล่น กิน ขาย เปน็ ต้น
๓.๓ วิกตรรถกริยา หรือกริยาส่วนเติมเต็ม เป็นกริยาที่มีเน้ือความไม่สมบูรณ์ในตัวของมันเอง
ตอ้ งอาศยั คํานาม คําสรรพนาม หรอื คาํ วเิ ศษณ์ มาขยายข้างหลังเนื้อความจึงจะเต็ม คือ สื่อความหมายได้ชัดเจน
กริยาพวกน้ีได้แก่คาํ วา่ เปน็ เหมือน คล้าย คือ เสมอื น ดจุ ประดจุ ราวกับ เพียงดงั เปรียบเหมอื น
๓.๔ กริยานุเคราะห์ หรือ คําช่วยกริยาเป็นกริยาประกอบหรือช่วยกริยาหลักในประโยคให้แสดง
ความหมายได้ชัดเจนครบถ้วน คําช่วยกริยาท่ีจะมีความหมายก็ต่อเม่ือได้ช่วยคํากริยาชนิดอ่ืนเท่านั้น
ไดแ้ ก่ อาจ ต้อง คง นา่ จะ คงต้อง จง โปรด ชว่ ย แลว้ ควร ได้ ไดแ้ ลว้ เคย เคย แล้ว ฯลฯ
๔. คําวิเศษณ์ คอื คําที่ใช้ประกอบคาํ อ่ืน ไดแ้ ก่ คาํ คาํ นาม คําสรรพนาม คาํ กรยิ า และคําวิเศษณ์ด้วยกันเอง
เพื่อใหค้ ําต่าง ๆ ดังกล่าวที่อยู่ข้างหน้าไดค้ วามชดั เจนยิ่งขน้ึ
คําวิเศษณ์ในภาษาไทยแบ่งออกเป็น ๑๐ ชนิด ดงั น้ี
๔.๑ ลักษณวเิ ศษณ์ (ลัก - สะ - หนะ - วิ - เสด) คือ คําวิเศษณท์ ่ีประกอบคําอ่ืนเพื่อบอกลักษณะต่าง ๆ
ว่าเป็นอย่างไร เช่น บอกชนิด บอกสี บอกสัณฐาน บอกขนาด บอกเสียง บอกอาการ บอกกล่ิน บอกรส
บอกความรสู้ ึกจากการสมั ผัส เช่น ชวั่ ดี ขาวคาํ กลมแบนเล็กใหญ่ เปรี้ยงเพลง้ เร็วช้าหอมเหมน็ หวานเย็นร้อนฯลฯ
๔.๒ กาลวิเศษณ์ (กาน -ละ - วิ - เสด) คือ คําวิเศษณ์ที่ประกอบคําอ่ืนเพ่ือบอกเวลา เช่น เช้า สาย
บา่ ย ค่ํา อดตี ปัจจุบนั อนาคต
๔.๓ สถานวิเศษณ์ (สะ - ถาน - นะ - วิ - เสด) คือ คําวิเศษณ์ที่ประกอบคําอื่นเพื่อบอกสถานที่
แสดงทีอ่ ยู่ หรอื ระยะทางหรอื ทศิ ทาง เชน่ ใกล้ ไกล เหนือ บน ใต้ บา้ น ปุา เปน็ ต้น
๑๕
๔.๔ ประมาณวเิ ศษณ์ (ประ - มาน - นะ - วิ - เสด) คอื คําวเิ ศษณท์ ป่ี ระกอบคําอื่น เพ่ือบอกจํานวน
หรือประมาณ เช่น หนง่ึ สอง สาม สี่ ห้า ที่หนง่ึ ท่สี อง ท่สี าม ทสี่ ่ี ที่ห้า มาก น้อย หลาย ทั้งหลาย ทั้งหมด บรรดา
คนละ ตา่ ง บาง บา้ ง กนั ฯลฯ
๔.๕ นิยมวิเศษณ์ (นิ - ยะ - มะ - วิ - เสด) คือ คาํ วเิ ศษณ์ที่ใช้ประกอบคําอ่ืนเพื่อบอกความชี้เฉพาะ
ความแน่นอน หรือความชัดเจนว่าเป็นสิ่งน้ันสิ่งนี้ เป็นเช่นนั้นเช่นนี้ (ลักษณะเดียวกับนิยมสรรพนาม)
ได้แก่ คําวา่ นี้ นั้น โน้น เทยี ว ทเ่ี ดียว ดอก เอง แท้
๔.๖ อนิยมวเิ ศษณ์ (อะ - นิ - ยะ - มะ - วิ - เสด) คือ คําวิเศษณ์ท่ีประกอบคําอื่นบอกความไม่ชี้เฉพาะ
หรอื ไมแ่ น่นอนวา่ เปน็ สงิ่ นั้น ส่ิงน้ีหรือเช่นน้ันเช่นน้ี (ลักษณะเดียวกับอนิยมสรรพนาม) ได้แก่คําว่า ใด ไร ไหน ก่ี
อะไร ฉันใด อ่นื อนื่ ใด
๔.๗ ปฤจฉาวิเศษณ์ (ปริด - ฉา - วิ - เสด) คือ คําวิเศษณ์ท่ีประกอบคําอ่ืนเพื่อแสดงความสงสัย
ใชใ้ นการถาม เพ่ือให้ไดค้ าํ ตอบ ไดแ้ ก่คาํ ว่า อะไร ไหน ทําไม อนั ใด เท่าไร อยา่ งไร
๔.๘ ประตชิ ญาวเิ ศษณ์ (ประ - ตดิ -ยา - วิ - เสด) คอื คาํ วเิ ศษณท์ ีป่ ระกอบคาํ อ่ืนเพือ่ แสดงการขานรับ
หรือรับรองในการเรยี กขานและโต้ตอบกนั ได้แกค่ าํ วา่ จ๋า ขอรับ โว้ย ค่ะ ขา
๔.๙ ประติเษธวิเศษณ์ (ประ - ติ - เสด - ทะ - วิ - เสด) คือ คําวิเศษณ์ท่ีประกอบคําอ่ืนเพ่ือบอก
ความปฏิเสธหรือหา้ ม ไดแ้ ก่คาํ ว่า ไม่ ไมใ่ ช่ มิได้ บ บ่ บมิ หามิได้ หาไม่
๔.๑๐ ประพันธวเิ ศษณ์ (ประ - พัน - ทะ - วิ - เสด คือคําวิเศษณ์ท่ีประกอบคํากริยาหรือคําวิเศษณ์
เพื่อเชื่อมความให้มีความเกี่ยวข้องกันได้แก่ คําเดียวกับคําประพันธสรรพนาม กล่าวคือ คําว่า ท่ี ซึ่ง อัน เพ่ือ
เพือ่ ว่า คือ ฯลฯ
๕. คําบุพบท ตามรูปศัพท์ หมายถึง บทหรือถ้อยคําที่มาข้างหน้า แต่ความหมายในทางหลักภาษาไทย
หมายถึง คําหรือบทท่ีใช้นําหน้าคํานาม คําสรรพนาม คํากริยาหรือคําวิเศษณ์ ทําหน้าท่ีเชื่อมคํา หรือกลุ่มคํา
ทีอ่ ยูข่ า้ งหนา้ และหลังเพอ่ื แสดงความสมั พันธ์เกี่ยวโยงกนั หนา้ ทหี่ ลักของคําบุพบทมดี งั นี้
๕.๑ นาํ หน้าคําท่ีทาํ หน้าท่ีเป็นกรรม (ผถู้ ูกกระทํา) ได้แกค่ าํ วา่ ซึ่ง สู่ ยัง แก่ แต่ภาษาไทยในปัจจุบัน
ไมน่ ยิ มใชค้ าํ บุพบทนําหนา้ กรรม มกั จะละคาํ บพุ บทไว้ในฐานท่เี ข้าใจกนั ได้
๕.๒ นาํ หนา้ คําที่ทาํ หน้าท่ีเปน็ เจา้ ของ ไดแ้ ก่คําว่า แห่ง ของ
๕.๓ นําหน้าคําเพ่ือบอกลักษณะที่เป็นเคร่ืองใช้หรือมีอาการร่วมกัน หรือบอกลักษณะเป็นผู้รับ
ได้แกค่ ําว่า ดว้ ย กับ ท้ัง โดย ตาม แก่ เพือ่ ตอ่ สําหรบั เฉพาะ
๕.๔ นําหน้าคําเพ่อื บอกเวลา ได้แก่คาํ ว่า เมือ่ ใน ณ แค่ ต้ังแต่ จน กระท่ัง
๕.๕ นาํ หน้าคาํ เพอ่ื บอกสถานที่ ได้แกค่ ําว่า ใน ที่ เหนือ บน ใกล้ ไกล หา่ ง ชดิ
๕.๖ นําหน้าคําเพื่อบอกประมาณ ไดแ้ กค่ าํ วา่ ทัง้ สิน้ หมดท้งั พอ เกือบ ประมาณ สัก ราว
๖. คําสันธาน เป็นคําจําพวกหน่ึงที่ใช้เชื่อมคํา เชื่อมความและเช่ือมประโยคให้ติดต่อเป็นเรื่องเดียวกัน
และสละสลวย ลกั ษณะการใชค้ ําสนั ธานเพือ่ เช่ือมต่อมี ๔ ชนดิ คอื
๖.๑ เชอื่ มความที่คลอ้ ยตามกนั เชน่ และ กบั จงึ พอ...ก็
๖.๒ เชอ่ื มความทข่ี ัดแย้งกนั เช่น แต่ กว่า... ถงึ ...ก็
๖.๓ เช่ือมความเป็นเหตเุ ป็นผลกนั เช่น เพราะ จะนัน้ เพราะ....จึง
๑๖
๖.๔ เชื่อมความท่ใี ห้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึง่ เช่น หรอื ไมก่ ็ มฉิ ะนั้น
๗. คาํ อทุ าน เปน็ คําทีเ่ ปล่งออกมาโดยไมค่ าํ นึงถงึ ความหมาย แตเ่ น้นท่ีการแสดงอารมณ์ความรู้สึกของผู้พูด
แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดงั น้ี
๗.๑ คําอุทานบอกอาการ คือ คําอทุ านทีเ่ ปลง่ ออกมาเพื่อให้รอู้ าการตา่ งๆ ของผู้พูด เช่น อาการดีใจ
เสียใจ ตกใจ และประหลาดใจ เป็นต้น ได้แก่คําว่า เอ๊ะ โอ๊ย อ๊ะ เฮ่ เฮ้ย โธ่ อนิจจา เหม ว้า เป็นต้น อน่ึง
หลังคําอุทานพวกน้มี ักมีเครอื่ งหมายอัศเจรีย์(!) กาํ กบั เสมอ เชน่ เฮย้ ! อย่าเดนิ ไปทางน้นั
๗.๒ คําอุทานเสริมบท คือ คําอุทานที่ใช้เป็นคําสร้อยหรือเสริมบท เพ่ือให้เสียงหรือความกระชับ
สละสลวยขนึ้ แบ่งออกได้เป็น ๒ ชนดิ คอื
๗.๒.๑ คาํ อุทานเสริมบททใี่ ช้เป็นคําสร้อย สว่ นมากพบเป็นคําข้ึนต้นและลงท้ายบทประพันธ์
ประเภทโคลงและร่าย เตมิ ลงไปเพ่อื แสดงความรสู้ ึกบ้าง เพ่ือทําให้คําประพันธ์มีพยางค์ครบตามฉันทลักษณ์บ้าง
ได้แก่คาํ วา่ โอ้ อ้า โอว้ า่ เถิด นา พ่อ แฮ เฮย เอย ฯลฯ
๗.๒.๒ คําอุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคําแทรกระหว่างคําหรือข้อความ ได้แก่คําว่า นา เอย เอ่ย
เอ๋ย โวย ฯลฯ เช่น เด็กเอ๋ยเดก็ น้อย
๗.๒.๓ คาํ อทุ านเสริมบทท่ีใช้เป็นคาํ เสรมิ เพ่อื ต่อถอ้ ยคําข้างหน้าให้ยาวออกไปแต่ไม่ต้องการ
ความหมายที่เสริมนน้ั เชน่ หนงั สอื หนังหา
จากความคิดเห็นของนกั วชิ าการเกยี่ วกบั หวั ขอ้ “ชนิดของคํา” สรปุ ได้วา่ ชนิดของคําสามารถแบ่งออกเป็น
๗ ชนิด ได้แก่ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําบุพบท คําสันธาน และคําอุทาน ซึ่งชนิดของคําท้ัง ๗ ชนิด
เป็นพน้ื ฐานในการเรยี นภาษาไทย จงึ จาํ เปน็ ตอ้ งรู้หลกั และความสําคญั ของภาษา เพื่อสามารถนํามาประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจําวนั ได้อยา่ งถกู ต้อง
๓.ความสาคญั หลักภาษาไทย
๓.๑ ความหมายของหลักภาษา
สุจริต เพียรชอบ (๒๕๓๘:๒๐๑) อ้างถึงใน รัตนาวลี คําชมภู ให้ความหมายของหลักภาษา
แล ะก าร ใช้ภาษาไทยว่าหม ายถึง ก ฎเ กณฑ์ที่ ใช้เป็นห ลักท้ั งในด้านการ อธิบายให้ความรู้เ ก่ียวกั บภาษาแล ะ
การให้แนวทางในการออกเสียง การอ่าน การเขียนและการเรียบเรียงข้อความให้ถูกต้องตามแบบแผน
และความนิยมของผมู้ ีการศึกษาสว่ นใหญใ่ นสังคม
อดุลย์ ไทรเล็กทิม (๒๕๕๐ : ๘๕) ได้กล่าวถึงความหมายของหลักภาษา คือ ระเบียบแบบแผนของภาษา
ที่มีไว้เพ่ือให้ผู้ใช้ภาษายึดถือเป็นหลักในการใช้ภาษาให้ถูกต้อง และเพ่ือให้ใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้ตรงกัน
แท้ทจ่ี รงิ หลักภาษาคอื สงิ่ ทค่ี นในภาษาใชพ้ ดู กันในชวี ิตจริงไมใ่ ช่การเรยี นกฎเกณฑ์ทนี่ า่ เบอื่ อยา่ งเชน่ ที่คนสว่ นใหญเ่ ขา้ ใจกนั
ดังนั้นถ้าคนไทยไม่รู้หลักภาษาไทยแล้ว จะหวังให้ใช้ภาษาไทยถูกต้องย่อมเป็นไปได้ยาก ในทางตรงกันข้าม
จะกอ่ ใหเ้ กิดการใช้ภาษากันอยา่ งบกพร่องและผิดพลาดมากกว่า
สายใจ อินทรัมพรรย์ (๒๕๓๘: ๒๐๑) อ้างถึงใน ทิพยฉัตร พละพล ให้ความหมายของหลักภาษา
คือ ระเบยี บแบบแผนของภาษาท่ีมีไว้เพื่อให้ผทู้ ่ีใช้ภาษายึดถือเป็นหลักในการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง นอกจากน้ัน
ยังเป็นหลักเกณฑ์ท่ีจะช่วยควบคุมให้คนไทยได้ใช้ภาษาไทยให้เป็นแบบแผนมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ทัว่ ประเทศ และการท่ีผ้ใู ชภ้ าษาพยายามใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักภาษาจะเป็นการช่วยอนุรักษ์ภาษาไทย
๑๗
ให้อยยู่ ืนยงเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติไทยสืบต่อไปด้วย การสอนหลักภาษาไทยโดยท่ัว ๆ ไปครูส่วนใหญ่ก็พยายาม
ที่จะให้นักเรียนได้รู้จักและมีความเข้าใจแบบแผนของภาษาและสามารถนําความรู้ทางหลักภาษาไปใช้ใน
ชีวิตประจําวนั ไดโ้ ดยถกู ต้อง แตผ่ ลปรากฏวา่ วิชาหลกั ภาษาไทยกลับเป็นวิชาทนี่ กั เรียนให้ความสนใจนอ้ ยทีส่ ดุ
นักวิชาการไดก้ ล่าวถึงความหมายของหลกั ภาษาไทยโดยสรุปวา่ หลักภาษา คอื ระเบียบแบบแผนของภาษา
ที่มีไว้เพื่อให้ผู้ใช้ภาษายึดถือหลักในการใช้ภาษาให้ถูกต้อง และสามารถส่ือสารได้จริงในชีวิตประจําวัน
จากความหมายของหลักภาษาทีก่ ลา่ วไวข้ ้างตน้ ทําใหท้ ราบว่าหลักภาษานนั้ มคี วามสาํ คญั ดังน้ี
๓.๒ ความสาคญั ของหลักภาษา
วรี ฉัตร วรรณดี (๒๕๑๘ : ๒) อ้างถงึ ใน ศิริพร ทาทอง กล่าวถึงความสําคัญของการสอนหลกั ภาษาสรุปไดว้ ่า
ผู้ทจ่ี ะใชภ้ าษาในการส่อื สารในสังคมให้มีประสิทธิภาพน้ันต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในเร่ืองระเบียบแบบแผน
ของภาษา และลักษณะของภาษาประกอบการฝึกฝน ถ้าย่ิงมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของภาษามากข้ึน
และดขี น้ึ เทา่ ใด กย็ ่อมใช้ภาษาเปน็ เครือ่ งมอื ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ และใช้ได้ดีขน้ึ เท่านัน้ ด้วยเหตุทีค่ วามรเู้ กยี่ วกับ
หลักภาษา เป็นความรู้ที่มีประโยชน์ต่อการศึกษาภาษาไทยด้านอื่น "หลักภาษา" จึงเป็นเรื่องสําคัญ
และเปน็ เรอ่ื งทจี่ าํ เป็นจะต้องมกี ารเรยี นการสอนและถา่ ยทอดสืบตอ่ กนั ไป
เปรมจติ ชนะวงศ์ (๒๕๒๙ : ๑๓) อ้างถึงใน ศิริพร ทาทอง ได้กล่าวถึงความสําคัญของการสอนหลักภาษาไทยว่า
การสอนหลักภาษาทําให้นักเรียนทราบลักษณะภาษาของตนเอง ทําให้ใช้ภาษาในการพูด อ่าน เขียนได้ถูกต้อง
หรอื ใช้ภาษาสื่อสารประสบผลดี เน่ืองจากหลักภาษาจะเป็นหลักให้ผู้ใช้ภาษาได้ยึดถือเป็นหลักในการพิจารณา
การใช้ภาษาของตน ในการวินจิ ฉัยคาํ การเรียบเรยี งคํา การพจิ ารณาเลอื กใชค้ าํ ให้เหมาะสมในการสอ่ื สาร
สําราญ คําอ้าย (๒๕๓๙ : ๒) อ้างถึงใน ณัฐธยาน์ การุญ ท่ีว่า หลักภาษาไทย เป็นวิชาที่ว่าด้วยแบบแผน
ของภาษาไทยซึ่งเป็นแนวทางท่ีช่วยให้ผู้ใช้ภาษาใช้ภาษาได้ถูกต้องและเข้าใจตรงกัน ในด้านการใช้ภาษานั้น
ส่ิงท่ีเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานสําคัญของถ้อยคําและประโยคที่ใช้ในการส่ือสารซ่ึงนักเรียนต้องรู้ท่ีมาของคํานั้น ๆ
เพราะประเทศไทยได้รับเอาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาไทยเป็นจํานวนมาก เช่น ภาษาบาลี -สันสกฤต
ภาษาเขมร ภาษาจนี และภาษาอังกฤษ การรับเอาภาษาต่างประเทศแสดงให้เหน็ ถึงความเจริญก้าวหน้าของภาษา
ทําให้ภาษาไทยมีคําใช้มากขึ้น สามารถสื่อสารได้ชัดเจนและรวดเร็วย่ิงขึ้น ซึ่งคําภาษาต่างประเทศเหล่าน้ี
เราใชม้ านานจนเราคิดวา่ เปน็ คําไทยเพราะจากความเคยชนิ และใชเ้ ปน็ ประจาํ ส่วนใหญ่เราจะนํามาใช้ในรูปของคําราชาศัพท์
ศั พ ท์ บั ญ ญั ติ ท า ง วิ ช า ก า ร ท่ี ใ น ปั จ จุ บั น เ ริ่ ม มี ก า ร บั ญ ญั ติ ขึ้ น ม า ใ ห ม่ ใ ห้ มี คํ า ไ ท ย ใ ช้ ต า ม ยุ ค โ ล ก า ภิ วั ต น์
ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น เ รื่ อ ง เ ห ล่ า นี้ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง
ตามระเบยี บแบบแผนทีก่ ําหนดไว้
นักวิชาการได้กล่าวความสําคัญของหลักภาษาว่า การเรียนหลักภาษาไทยจะทําให้ทราบถึงระเบียบ
กฎเกณฑ์การใชภ้ าษาทถี่ ูกตอ้ งและมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้ใช้ภาษาสามารถใช้ภาษาได้ถูกต้องและเข้าใจตรงกัน
ยงิ่ มีความเขา้ ใจเกยี่ วกับลกั ษณะของภาษามากเท่าใด ย่อมใช้ภาษาเป็นเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่าน้ัน
หลักภาษาจึงมคี วามสาํ คัญ แต่ปัจจุบนั พบปญั หาและอุปสรรคทเ่ี กดิ จากการศึกษาหลกั ภาษาไทย
โดยเฉพาะการแยกชนิดของคาํ ดงั น้ี
๑๘
๔.ปญั หาของการแยกชนดิ ของคา
๔.๑ ปัญหาของการแยกชนดิ ของคา
กระทรวงศึกษาการ , (๒๕๕๑) อ้างถึงใน ประภัสสร อาจศึก พบปัญหาการแยกชนิดของคําที่สําคัญ
คอื เรื่องหลกั ภาษาไทย โดยเฉพาะเรอื่ ง ชนิดของคาํ ปัญหา คือ เรือ่ งนมี้ เี นือ้ หาที่เยอะ นักเรียนขาดความรพู้ นื้ ฐาน
ของหลักภาษาไทย และไม่เข้าใจเนื้อหาของเรื่อง ชนิดของคํา เกิดจากครูผู้สอนยังสอนโดยเน้นบรรยาย
ขาดเทคนคิ การสอนทีด่ ึงดดู ความสนใจ นกั เรยี นไมม่ ที กั ษะทางดา้ นหลักภาษาไทย เร่อื ง ชนิดของคาํ
สุวิทย์ มูลคํา และอรทัย มูลคํา , (๒๕๔๙) อ้างถึงใน สรัลยา ชาวนา พบปัญหาการแยกชนิดของคํา ดังน้ี
การเรียนการสอน เร่ือง ชนิดของคํานั้น นักเรียนไม่พยายามท่ีจะเรียนรู้ และอ้างว่าเป็นเนื้อหาที่ยากแก่การทํา
ความเขา้ ใจ นําเรื่องชนิดของคํามาใช้ไม่ถกู ตอ้ ง ในส่วนของตวั ครูผู้สอนเองนั้น อาจเกิดจากการสอนที่ไม่ละเอียด
ของครผู ู้สอนเอง เห็นว่าเป็นเน้ือหาเพียงเล็กน้อย ไม่เจาะลึกรายละเอียด และความสําคัญของชนิดและหน้าท่ี
ของคํา และอาจเกดิ จากตวั ครผู ูส้ อนเองนน้ั ขาดสือ่ การเรียนการสอนทน่ี ่าสนใจ
กรมวิชาการ (๒๕๔๐) อ้างถึงใน รัตนาวลี คําชมภู พบปัญหาการแยกชนิดของคํา คือ เกิดจาก
การจัดการเรยี นการสอนที่ยงั เน้นเน้อื หา ให้นักเรียนจําเพื่อไปสอบเท่านั้น มากกว่าท่ีจะฝึกทักษะ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน รวมท้ังครูขาดเทคนิคการสอนใหม่ ๆ ทําให้นักเรียนเบ่ือหน่ายและไม่สนใจ ไม่กระตือรือร้น
ในการเรียน เร่อื ง ชนดิ ของคําขาดการทบทวนบทเรยี น และขาดการฝกึ ทําแบบฝึกหดั
ปญั หาท่พี บจากการแยกชนดิ ของคาํ เกดิ จากการเรยี นการสอนทคี่ รบู างสว่ นยังคงสอนเนน้ เนื้อหาใหน้ กั เรียน
จําเพื่อเข้าสอบอย่างเดียว หรือแบบบรรยาย ขาดเทคนิคการสอนใหม่ ๆ เห็นว่าเป็นเพียงเน้ือหาเล็กน้อย
จงึ ไม่เจาะลึกรายละเอียด และอาจเกดิ จากตัวผเู้ รยี นเองทไี่ ม่พยายามทีจ่ ะศึกษาคน้ ควา้ เพิ่มเติมและมที ศั นคตทิ ี่ไม่ดี
ต่อหลักภาษาไทย มีเน้ือหาเยอะจึงทําให้นักเรียนเบื่อหน่ายในการเรียนหลักภาษา ขาดการกระตือรือร้น
และขาดการฝกึ ฝนการทําแบบฝึกหดั ซง่ึ เป็นที่มาท่ที าํ ให้เกดิ สาเหตเุ หลา่ นี้
๔.๒ สาเหตุของการเกิดปัญหาการแยกชนดิ ของคา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร , (๒๕๔๔) ไดก้ ล่าวถงึ สาเหตขุ องการเกิดปัญหาการแยกชนิดของคํา คือ ในปัจจุบันนี้
คนจํานวนไม่นอ้ ย ไม่เห็นความสําคัญในการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง และยังมีความคิดว่าภาษาไทยไม่จําเป็นที่ต้อง
เรยี นให้มากและแตกฉาน ทั้งท่จี รงิ แล้วภาษาไทยเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ดี เมื่อผู้ใช้สามารถนําไปใช้ได้ถูกต้องตาม
ความหมาย หน้าท่ี ชนิด และถกู กาลเทศะย่อมสง่ ผลในทางบวกให้แก่ผู้ที่ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง เพราะภาษาย่อม
บง่ บอกถงึ ตวั ผใู้ ช้วา่ มคี วามร้แู ละความสามารถมากน้อยเพียงใด ทําให้บุคคลอ่ืนมองผู้ใช้ภาษาที่ถูกต้องว่าเป็นผู้ท่ี
ได้รับการศึกษามาเป็นอย่างดี ดังท่ีกล่าวมาแล้วว่าคนจํานวนไม่น้อยให้ความสําคัญกับการใช้ภาษาไทยน้อยลง
ซ่ึงสาเหตุสําคัญอย่างหนึ่ง คือ ความคิดที่ส่ังสมมานานและเข้าใจผิดว่าภาษาไทยนั้นเป็นเร่ืองที่ยาก
มกี ฎเกณฑ์ต่างๆมากมายและน่าเบ่อื เม่ือผูใ้ ช้มีความคิดในด้านลบต่อภาษาไทยอย่างนแี้ ลว้ ย่อมส่งผลให้ผู้ใช้ภาษา
นําภาษาไทยไปใช้ไม่ถูกต้องในรปู แบบของการส่ือสาร ซง่ึ มีการคิดคาํ ศัพท์ขึน้ ใหมเ่ พอื่ ใช้ในกลุ่มสนทนาเฉพาะกลุ่ม
และเม่อื มกี ารเผยแพรอ่ อกไปในกลมุ่ ทีใ่ หญข่ ึ้นภาษาไทยก็คงเปลย่ี นแปลงไปในทางทไี่ มถ่ ูกตอ้ งมากข้ึน
๑๙
สทุ นิ สุทธิสมบรู ณ์ และ สาํ ราญ คําอา้ ย (๒๕๔๗) ไดก้ ลา่ วถึงสาเหตุการเกิดปญั หาการแยกชนิดของคาํ ดงั น้ี
๑. สาเหตจุ ากผู้สอน ซึ่งมีปญั หาหลายด้าน คือ ผู้สอนเบ่ือสอนจาํ นวนคาบสอนมากขาดการศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม
ขาดขวัญและกําลงั ใจในการทํางาน ขาดทกั ษะในการใชภ้ าษา ผู้สอน มกี ารใช้ภาษาไทยท่ีผิด ๆ พูดออกเสียง ร, ล
ไม่ชัดเจน ขาดประสบการณ์ และความเข้าใจในเนื้อหาท่ีนํามาสอน ดังที่ สุทิน สุทธิสมบูรณ์ วิจัยเรื่อง
การใช้บทเรียนโปรแกรมในการสอนภาษาไทย เร่ือง ชนิดของคําในภาษาไทย พบว่า ปัญหาการเรียนการสอน
มสี าเหตมุ าจากครูไมเ่ ขา้ ใจธรรมชาติของภาษาว่า เน้นทักษะท่ีต้องฝึกฝน ตัวครูไม่รักภาษาไทย ไม่สามารถหาวิธี
และสือ่ การสอนทเ่ี หมาะสมกับนกั เรยี นในเรอ่ื งหลกั เกณฑ์ทางภาษาไทย
๒. สาเหตุจากผู้เรียน โดยผู้เรียนหรือนักเรียนมีทัศนคติไม่ดีต่อวิชาภาษาไทย ไม่เห็นความสําคัญ
ของภาษาไทย ขาดทักษะในการใช้ภาษา ดังท่ี สําราญ คําอ้าย ซึ่งได้ศึกษาวิจัยการสอนวิชาภาษาไทย
สําหรับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ โดยใช้ชุดการสอน จึงได้ศึกษาวิจัยการสอนวิชาภาษาไทย สําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โดยใชช้ ดุ การสอน หลกั ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ กล่าวไว้ว่า นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดี
ต่อภาษาไทย ไม่สนใจ เรียน หนั ไปสนใจวิชาอน่ื โดยคิดวา่ ภาษาไทยไมส่ าํ คัญ ไม่ต้องเรียนก็พูดได้ อีกท้ังยังรู้สึกว่า
วชิ าภาษาไทยเปน็ วิชาทย่ี าก ตอ้ งท่องจํามาก บาดกาํ ลงั ใจในการแก้ไขข้อบกพร่อง เพราะเมื่อมีข้อบกพร่องครูมัก
ตาํ หนิมากกว่าให้กาํ ลังใจ ทาํ ให้ไมอ่ ยากเรยี น เกิดความท้อแทห้ มดกําลงั ใจ
๓. สาเหตุจากสื่อและวิธีสอน ครูสอนภาษาไทยไม่ค่อยใช้ส่ือการสอนที่แปลกใหม่ ใช้ส่ือการสอนไม่เป็น
รวมถึงวิธีสอนกเ็ ปน็ รปู แบบเดิม ๆ คือ การจดั การเรียนรโู้ ดยการบรรยาย และยกตัวอย่างประกอบใหน้ ักเรยี นเขียน
ตามคาํ บอกหรือตามหัวข้อทกี่ าํ หนดให้
ศศิธร ธญั ลกั ษณณ์ านนั ท์,สําราญ คําอา้ ย,สจุ รติ เพยี รชอบ และ สายใจ อนิ ทรมั พรรย์ , (๒๕๕๔) ไดก้ ลา่ วถงึ
สาเหตขุ องการเกิดปัญหาการแยกชนิดของคําไว้ว่าดังน้ี จากสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึน เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน
หลักภาษาไทย พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลักภาษาไทยโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับท่ีต่ํา
ซงึ่ ปัญหาการเรยี นการสอนหลกั ภาษาไทยมีสาเหตุมาจากหลายประการ ประการแรกคอื ปจั จัยที่เกิดจากครทู ไี่ มร่ ัก
และไม่มีความถนัดในการสอน ครูขาดกลวิธีในการสอนท่ีทําให้การเรียนการสอนไม่สนุก ไม่แม่นยําในเนื้อหา
ขาดความมั่นใจ จึงมีทัศนคติท่ีไม่ดีต่อการสอน ปัญหาด้านครูนี้โดยทั่วไปท่ีพบมากคือครูจะใช้วิธีการสอนแบบ
บรรยายหรือแบบธรรมดา โดยครูเป็นผู้มบี ทบาทในการเรยี นการสอนเป็นสว่ นใหญ่มุ่งให้นกั เรยี นเรยี นรู้กฎเกณฑ์ตา่ งๆ
เพือ่ ให้ไดค้ ะแนนมากกว่าจะใหร้ ู้จกั การนาํ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาํ วัน นักเรียนจึงไม่มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมหรือแทบ
จะไม่มีเลย ดังนั้นนักเรียนจึงไม่เห็นประโยชน์ของการเรียนหลักภาษาไทย ประการที่สองคือปัจจัยที่เกิดจาก
นักเรียนที่มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหลักภาษาไทย โดยคิดว่าเนื้อหาหลัก ภาษาไทยท่ีเรียนเป็นเน้ือหาท่ียาก
ต้องใชก้ ารท่องจํา เมอื่ มีข้อบกพรอ่ งครูก็จะตําหนิมากกวา่ ให้กําลงั ใจทําใหไ้ ม่อยากเรยี น และมักแสดงความเบื่อหน่าย
และไมส่ นใจต่อวิชาน้ี ประการสุดท้ายคอื ปัจจยั ทเี่ กิดจากเน้ือหาของหลักภาษาไทย กล่าวคือ เน้ือหาในหลักสูตร
และหนังสือเรียนมคี วามซํ้าซอ้ นกนั ในทกุ ระดับช้นั ทาํ ใหเ้ กดิ ความซํา้ ซาก นา่ เบือ่ หนา่ ย รวมทงั้ เนอื้ หาท่ีกาํ หนดไวใ้ น
หนงั สอื เรยี นหลกั ภาษาไทยไม่เปน็ ประโยชนต์ อ่ การนาํ ไปใชใ้ นชีวิตประจาํ วันของนักเรียน นอกจากนี้เน้ือหาท่ีมีใน
หนังสือก็ให้เพยี งสังเขปเท่านั้น และการอธบิ ายท่ีไม่ละเอียดพอท่จี ะทาํ ให้นักเรียนเขา้ ใจได้
จากการศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อปัญหาการแยกชนิดของคําสรุปได้ว่า เกิดจากตัวผู้เรียนตัวครูผู้สอน
บรรยากาศในการเรียนการสอนที่ทําให้นักเรียนเบ่ือหน่าย และส่ือการเรียนการสอนท่ีไม่น่าสนใจส่งผลให้เกิด
๒๐
ปัญหาการแยกชนิดของคํา ดงั นัน้ เพ่อื ทราบความเข้าใจเรอ่ื งการแยกชนดิ ของคาํ จงึ ทําแบบทดสอบขึ้นมาวัดระดบั
ความร้คู วามเข้าใจเร่ืองการแยกชนิดของคาํ เพือ่ นาํ มาแก้ปญั หา
๕.ผลการสารวจและวิเคราะหก์ ารทดสอบความรพู้ นื้ ฐาน เร่อื ง ชนดิ ของคา
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๕
โรงเรียนมารียอ์ ุปถมั ภ์ อาํ เภอสามพราน จังหวดั นครปฐม จาํ นวน ๒๘ คน
เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา คอื แบบทดสอบวัดความรพู้ ้ืนฐาน เรอื่ ง ชนดิ ของคาํ
ขอ้ ที่ ๑. คําถามเกีย่ วกับชนิดของคําบพุ บทและสันธาน
จากขอ้ คําถามพบนกั เรียนทท่ี ําถกู จาํ นวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๙ และนกั เรียนที่ทาํ ผดิ จาํ นวน ๑๖ คน
คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๑
ข้อท่ี ๒. คําถามเกีย่ วกบั ชนิดของคํานามและกรยิ า
จากข้อคําถามพบนกั เรียนทท่ี าํ ถูกจํานวน ๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๘.๖ และนกั เรยี นทที่ ําผดิ จาํ นวน ๒๐ คน
คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๔
๒๑
ข้อท่ี ๓. คาํ ถามเกย่ี วกับชนิดของคาํ นาม
จากขอ้ คําถามพบนกั เรียนท่ที าํ ถูกจาํ นวน ๒๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๖ และนกั เรียนทที่ าํ ผิดจาํ นวน ๖ คน
คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔
ข้อท่ี ๔. คาํ ถามเก่ียวกบั ชนิดของคํานาม
จากขอ้ คําถามพบนกั เรยี นทท่ี ําถูกจาํ นวน ๒๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗๑.๔ และนกั เรยี นที่ทาํ ผดิ จํานวน ๘ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๘.๖
๒๒
ข้อท่ี ๕. คาํ ถามเก่ียวกับชนดิ ของคํานาม
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรยี นทท่ี ําถูกจํานวน ๑๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๑.๔ และนกั เรยี นทีท่ าํ ผดิ จาํ นวน ๑๐ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๕.๗
ขอ้ ท่ี ๖. คําถามเกย่ี วกับชนดิ ของคาํ สันธานและบพุ บท
จากขอ้ คําถามพบนกั เรียนทท่ี าํ ถกู จาํ นวน ๑๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๓.๖ และนกั เรยี นที่ทําผดิ จํานวน ๑๓ คน
คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๔
๒๓
ข้อท่ี ๗. คาํ ถามเก่ยี วกับชนดิ ของคํานามและกรยิ า
จากขอ้ คาํ ถามพบนกั เรียนท่ที ําถกู จาํ นวน ๑๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๖.๔ และนักเรียนท่ีทาํ ผิดจํานวน ๑๕ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๓.๖
ข้อที่ ๘. คาํ ถามเกีย่ วกับชนิดของคาํ บพุ บท
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรียนทท่ี าํ ถกู จํานวน ๑๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๖.๔ และนกั เรยี นทีท่ าํ ผิดจาํ นวน ๑๕ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๓.๖
๒๔
ข้อท่ี ๙. คําถามเก่ียวกบั ชนดิ ของคาํ สันธาน
จากขอ้ คาํ ถามพบนกั เรยี นท่ที าํ ถกู จาํ นวน ๑๓ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๖.๔ และนักเรยี นที่ทําผิดจํานวน ๑๕ คน
คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๓.๖
ข้อท่ี ๑๐. คําถามเกี่ยวกบั ชนิดของคาํ นาม
จากข้อคําถามพบนกั เรียนท่ที าํ ถูกจาํ นวน ๑๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๕.๗ และนกั เรียนที่ทาํ ผดิ จํานวน ๑๘ คน
คิดเปน็ ร้อยละ ๖๔.๓
๒๕
ข้อท่ี ๑๑. คาํ ถามเกย่ี วกบั ชนดิ ของคํากริยา
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรยี นทีท่ ําถูกจาํ นวน ๑๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๓๙.๓ และนกั เรยี นที่ทําผดิ จํานวน ๑๗ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๐.๗
ขอ้ ที่ ๑๒. คําถามเกย่ี วกับชนิดของคาํ บุพบท
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรยี นที่ทําถกู จํานวน ๑๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๕.๗ และนักเรยี นท่ที าํ ผิดจาํ นวน ๑๘ คน
คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๓
๒๖
ข้อท่ี ๑๓. คําถามเกย่ี วกบั ชนดิ ของคําสนั ธาน
จากข้อคําถามพบนกั เรียนที่ทําถูกจํานวน ๑๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๖.๔ และนักเรยี นท่ีทาํ ผิดจาํ นวน ๑๕ คน
คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๖
ข้อที่ ๑๔. คําถามเกี่ยวกบั ชนิดของคาํ นาม
จากขอ้ คาํ ถามพบนกั เรยี นทีท่ าํ ถกู จํานวน ๑๖ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๗.๑ และนักเรียนทที่ ําผิดจํานวน ๑๒ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๒.๙
๒๗
ขอ้ ที่ ๑๕. คาํ ถามเกี่ยวกับชนิดของคํากริยา
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรียนทที่ ําถูกจํานวน ๑๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๖.๔ และนักเรยี นที่ทําผดิ จาํ นวน ๑๕ คน
คิดเปน็ ร้อยละ ๕๓.๖
ขอ้ ท่ี ๑๖. คําถามเกยี่ วกบั ชนิดของคาํ สันธาน
จากขอ้ คําถามพบนกั เรียนที่ทําถูกจาํ นวน ๒๕ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๙.๓ และนกั เรียนทที่ าํ ผิดจํานวน ๓ คน
คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๗
๒๘
ข้อท่ี ๑๗. คาํ ถามเกี่ยวกับชนดิ ของคําอุทาน
จากขอ้ คาํ ถามพบนกั เรียนท่ที าํ ถูกจํานวน ๒๖ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๒.๙ และนักเรียนที่ทาํ ผดิ จํานวน ๒ คน
คิดเป็นร้อยละ ๗.๑
ขอ้ ท่ี ๑๘. คําถามเก่ยี วกบั ชนิดของคาํ บุพบท
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรียนท่ที ําถูกจํานวน ๑๙ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๗.๙ และนกั เรียนท่ีทําผิดจาํ นวน ๙ คน
คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๒.๑
๒๙
ขอ้ ที่ ๑๙. คาํ ถามเกี่ยวกบั ชนิดของคาํ วิเศษณ์
จากข้อคําถามพบนกั เรยี นท่ีทําถกู จํานวน ๒๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๕.๗ และนักเรียนที่ทําผดิ จํานวน ๔ คน
คดิ เป็นร้อยละ ๑๔.๓
ขอ้ ที่ ๒๐. คําถามเก่ยี วกับชนิดของคําสันธาน
จากข้อคาํ ถามพบนกั เรยี นทที่ ําถูกจํานวน ๑๒ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๒.๙ และนกั เรยี นทที่ าํ ผดิ จาํ นวน๑๖คน
คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๑
จากแบบทดสอบความรพู้ ้ืนฐานเรอ่ื ง ชนดิ ของคาํ ท้ัง ๒๐ ขอ้ จาํ แนกออกเป็นประเภทของชนิดของคําท่พี บว่า
ชนิดของคําท่ีถกู ตอ้ งมากทสี่ ดุ อันดับ ๑ คือชนดิ ของคําอทุ าน คิดเปน็ ร้อยละ ๙๒.๑
อันดบั ๒ คอื ชนิดของคําสันธาน คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๓
อันดับ ๓ คือชนิดของคาํ วิเศษณ์ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๕.๗
ถูกตอ้ งมากทส่ี ุดเป็นเร่อื งของ คําอุทาน โดยคิดเป็นรอ้ ยละ ๙๒.๑
๓๐
ชนดิ ของคําท่ผี ดิ มากท่สี ดุ อนั ดบั ๑ คอื ชนดิ ของคํานามและคํากริยา คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๔
อันดบั ๒ คือชนดิ ของคํานามและคําบพุ บท คดิ เป็นร้อยละ ๖๔.๓
อนั ดบั ๓ คือชนดิ ของคํากริยา คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๐.๗
ผิดมากทสี่ ดุ เป็นเร่อื งของคํานาม โดยคดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๒.๑
ดัง นั้น จะ ทํ าใ ห้ท ร าบ ว่า ชนิด ขอ ง คํา ท่ีนั ก เรี ยน ทํ าผิ ดม า กที่ สุด คื อเ รื่อ ง ชนิ ดขอ งคํ าน า ม
เน่อื งจากนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจเร่ืองการจําแนกชนิดของคํานามและมีการใช้คํานามผิดหน้าท่ี
ซึ่งคํานามคือชนิดของคําในภาษาไทยท่ีนักเรียนได้เรียนรู้มาตั้งแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ทําให้นักเรียนหลงลืม
ในบทเรียนท่ีผ่านมา และมีเนื้อหาที่ยาก เน่ืองจากคํานามมีองค์ประกอบย่อยหลายชนิด และเหตุผลอีกหน่ึงประการ
คือข้อสอบท่ีจัดทํายากเกินความสามารถของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เพราะเป็นข้อสอบของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาตอนปลาย แต่นําไปประเมินกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ในระหว่างการจัดทํา
จงึ พบปัญหาและอปุ สรรคคือ คณะผู้จัดทําทําแบบทดสอบโดยใช้แบบทดสอบวัดความรู้ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี ๖
ดังนั้นอาจส่งผลกระทบต่อการตอบคําถามของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง แบบวัดของคณะผู้ จัดทําจึงไม่สอดคล้อง
กบั ความสามารถและระดับช้ันกลมุ่ ตวั อยา่ งทท่ี าํ การทดสอบ
ดังน้ันสาเหตุที่นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทําแบบทดสอบไม่ได้ ไม่ได้เกิดจากตัวครูผู้สอนหรือสื่อการเรียนรู้
แต่เกิดจากการจัดทําแบบทดสอบทไ่ี ม่ตรงกบั ความสามารถของนักเรยี นกลุม่ ตวั อย่างในระดับช้ันดงั กลา่ ว
๓๑
บทสรปุ
รายงานการสํารวจความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับชนิดของคําในภาษาไทย ทางคณะผู้จัดทําได้เรียบเรียง
ความหมาย ความสําคัญ ลักษณะ และโครงสร้างของภาษาไทย โดยโครงสร้างของภาษาไทยสามารถจําแนก
ออกมาเป็นหมวดคําตา่ ง ๆ ท่ีใช้หนา้ ท่ีของคําเหล่าน้ันในการจําแนกออกเป็นชนิดของคําในภาษาไทย จึงนําเรื่อง
การแยกชนิดของคํามาเป็นหัวข้อในการสํารวจครั้งน้ี และจากการสํารวจความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับชนิดของคํา
ในกลมุ่ ตัวอย่างของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ พบวา่ กลุ่มตัวอยา่ งสามารถจาํ แนกชนดิ ของคําประเภท คําอุทาน
,คาํ สนั ธาน และคําวเิ ศษณ์ได้ดที ี่สดุ ตามลาํ ดบั ในขณะท่กี ลมุ่ ตัวอยา่ งจําแนกชนิดของคําประเภท คํานาม,คํากริยา
และคําบุพบท ผิดมากทีส่ ุดตามลาํ ดบั อยา่ งไรกต็ ามจากการสอบถามนักเรียนกล่มุ ตัวอย่าง จึงทราบวา่ แบบทดสอบนนั้
มีความยากเกินไป และเนื้อหาเรื่อง ชนิดของคํา เป็นเรื่องท่ีนักเรียนได้เรียนรู้มาต้ังแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑
อาจมกี ารหลงลมื ไป และแบบทดสอบไม่สอดคล้องกบั ความสามารถของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เนื่องจากใช้
แบบทดสอบวัดความรู้ระดับมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ซ่งึ ตอ้ งใช้การวิเคราะห์ สรุปได้ว่ากลุ่มตัวอย่างนั้นมีพ้ืนฐานความรู้
เก่ียวกับการแยกชนิดของคําในระดับหนึ่ง แต่ยังมีการหลงลืมเน้ือหาและวิธีการจําแนกชนิดของคําอยู่
ทง้ั นี้สาเหตุทีน่ กั เรยี นกลุ่มตวั อย่างไมส่ ามารถทําแบบทดสอบได้คะแนนในระดับท่ีดี ไม่ได้เป็นเพราะการสอนของ
ครูผู้สอนแต่อย่างใด แต่เกิดจากการขาดการทบทวนของตัวนักเรียนและแบบทดสอบท่ีไม่สอดคล้องกับ
ความสามารถของนักเรียน
๓๒
บรรณานกุ รม
กรมวิชาการ. (๒๕๔๐). การพัฒนาชุดการเรยี นดว้ ยตนเอง วิชาภาษาไทย เรอื่ งชนิดของคา
ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรียนสุรศักดม์ิ นตรี
เขา้ ถึงไดจ้ าก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Sec_Ed/Rattanwalee_K.pdf
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๔๔). การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าภาษาไทย เรื่องคาและชนิดของคา
ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๖ ทไ่ี ด้รับการสอนโดยการเรยี นแบบรว่ มมอื เทคนิค TAI
กบั การสอนแบบปกติ เข้าถึงไดจ้ าก
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/snamcn/Nartnaree_Intasorn/Fulltext
.pdf
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๕๒).
เข้าถึงได้จาก http://www.cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/46/3/C2_391425.pdf
กาํ ชัย ทองหล่อ. (ม.ป.ป.). เขา้ ถึงไดจ้ าก http://dcms.lib.nu.ac.th/dcms/TDC2548/123/chapter2.pdf
กาํ ชัย ทองหลอ่ . (๒๕๒๒). ภาษาไทยในมติ ิความมัน่ คงแหง่ ชาติ เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8456s/8456-021.pdf
ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ. (๒๕๕๖). ความสามารถในการใชภ้ าษาไทยของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั ญบรุ ี
เข้าถึงไดจ้ าก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhnu/article/download/172198/123641/
ณํฐธยาน์ การญุ . (๒๕๕๔). การศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลกั ภาษาไทยและความสนใจในการเรยี น
ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ท่สี อนโดยบทเรียนสาเร็จรูปกบั การมอนตามค่มู ือครู
เขา้ ถึงได้จาก https://ir.swu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/727/1/Nutthaya_K.pdf
ธัญญารตั น์ ชนื แสงจันทร.์ (ม.ป.ป.). ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณ์ของชาตไิ ทยนาไปสูก่ ารเรยี นรู้
เขา้ ถึงไดจ้ าก http://ojs.mbu.ac.th/index.php/josmbu/article/download/685/537/
นารถนารี อินฒะสอน. (๒๕๕๐). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าภาษาไทย
เร่อื งคาและชนดิ ของคา ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ที่ไดร้ บั การสอนโดยการเรียนแบบรว่ มมอื
เทคนิค TAI กับการสอนแบบปกติ เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/snamcn/Nartnaree_Intasorn/Fulltext
.pdf
ประภสั สร อาจศึก, สริ ิอร จลุ ทรพั ย์ แก้วมรกฎ, และ วิภาวรรณ เอกวรรณงั . (๒๕๖๓). การแก้ปญั หาผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นหลกั ภาษาไทย โดยใช้ชดุ การสอนมินิคอรส์ (Minicourse) ของนักเรยี น
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๖ โรงเรยี นบางกะปิ เข้าถงึ ได้จาก
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ssru-edu/article/download/256135/173382
ผะอบ โปษกฤษณะ. (๒๕๕๔). ภาษาไทยในมิติความมั่งคงแห่งชาติ เข้าถงึ ได้จาก
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8456s/8456-021.pdf
๓๓
พระยาอนุมานราชธน. (๒๕๑๕). ลักษณะและความสาคญั ของภาษาไทย
เขา้ ถึงได้จาก http://ge.vru.ac.th/gevru/wp-content/uploads/2020/07/บทท่ี-๑-ลักษณะและ
ความสาํ คัญของภาษาไทย.pdf
พฤติกรรมการสอนภาษาไทย ๒ (ม.ป.ป.). เขา้ ถึงไดจ้ าก http://plcthinktank.com/e-
Book/Resource/0000006171.pdf
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าภาษาไทยเพอื่ การส่อื สาร
GEN ๑๐๒๑ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://reg2.crru.ac.th/reg/files/20150928032030_1f93dc44b702fa66f529bf0b01f5c063.pdf
ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). ภาษาไทยในมติ คิ วามมน่ั คงแหง่ ชาต.ิ เข้าถงึ ได้จาก
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8456s/8456-021.pd
ลกั ษณะและความสาคญั ของภาษาไทย (ม.ป.ป.). เขา้ ถึงไดจ้ าก http://ge.vru.ac.th/gevru/wp-
content/uploads/2020/07/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9
%88-%E0%B9%91-
%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B9%
81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B
8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E
วิจนิ ตน์ ภาณุพงศ.์ (๒๕๓๘). ลักษณะและความสาคญั ของภาษาไทย
เข้าถึงได้จาก http://ge.vru.ac.th/gevru/wp-content/uploads/2020/07/บทที่-๑-ลกั ษณะและ
ความสําคัญของภาษาไทย.pdf
วิจนิ ตน์ ภานุพงศ์. (๒๕๒๔). การนาเสนอไวยากรณ์ภาษาไทยโดย XML Schema และการประยุกต์
ในการตรวจสอบโครงสรา้ งของประโยคภาษาไทย
เข้าถึงไดจ้ าก http://libdcms.nida.ac.th/thesis6/2555/b176375.pdf
ไวยากรณไ์ ทยตามทฤษฎโี ครงสร้าง (ม.ป.ป.).
เข้าถงึ ไดจ้ าก http://old-book.ru.ac.th/e-book/l/LI332(51)/LI332-8.pdf
ศรสี ุดา จรยิ ากลุ . (๒๕๕๖). ความสามารถในการใช้ภาษาไทยของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี
เขา้ ถึงได้จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhnu/article/download/172198/123641/
ศริ พิ ร ทาทอง. (๒๕๔๘). การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลกั ภาษาไทย เร่ือง คากริยาแะลคาวิเศษณ์
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ทีไ่ ดร้ บั การสอนโดยการเรียนแบบรว่ มมือกันเทคนิคกล่มุ ผลสัมฤทธ์ิ
กับการสอนปกติ เข้าถงึ ไดจ้ าก
tp://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/snamcn/Siriporn_Thathong/Fulltext.p
df
โศรยา วิมลสถติ พงษ.์ (ม.ป.ป.). การศึกษาภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์
เขา้ ถึงได้จาก http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17f0f0sf0Us2U50744Q5.pdf
๓๔
ศศิธร ธัญลักษณณ์ านนั ท์ สาํ ราญ, คําอ้าย สุจริต เพยี รชอบ, และ สายใจ อนิ ทรมั พรรย์. (๒๕๕๔).
การศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลกั ภาษาไทยและความสนใจในการเรียนภาษาไทย
ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ทส่ี อนโดยบทเรียนสาเร็จรูปกบั การสอนตามคู่มือครู
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://ir.swu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/727/1/Nutthaya_K.pdf
สมบัติ ศริ จิ ันดา. (๒๕๕๕). ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยทม่ี ีผลต่อการแปลเปน็ ภาษาองั กฤษ : กรณีศึกษาของ
การแปลวชิ าการ เขา้ ถึงไดจ้ าก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/art/article/view/254233
สมพร มนั ตะสูตร. (๒๕๒๕). การพัฒนาชุดการเรยี นด้วยตนเอง วชิ าภาษาไทย เรื่องชนิดของคาของนกั เรียน
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรยี นสุรศกั ดมิ์ นตรี
เข้าถึงไดจ้ าก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Sec_Ed/Rattanwalee_K.pdf
สรลั ยา ชาวนา, และ มนตรี อนนั ตรักษ์. (๒๕๕๗). ผลการเรยี นร้ภู าษาไทย เรือ่ ง ชนิดและหนา้ ท่ขี องคา
โดยการจัดกิจกรรมด้วยกลมุ่ ร่วมมอื เทคนิค STAD ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/npuj/article/download/44273/36631/102769
สุจรติ เพียรชอบ. (๒๕๓๘). การพัฒนาชุดการเรยี นดว้ ยตนเอง วิชาภาษาไทย เรอื่ งชนดิ ของคาของนักเรยี น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรยี นสรุ ศักดิ์มนตรี
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Sec_Ed/Rattanwalee_K.pdf
สจุ รติ เพยี รชอบ, และ สายใจ อนิ ทรมั พรรย.์ (๒๕๓๘). การพัฒนาชดุ การสอนภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคา
เข้าถึงได้จาก http://ns.nsru.ac.th/bitstream/nsru/280/1/นางสาวทพิ ยฉัตร%20%20พละพล.pdf
สุทนิ สทุ ธสิ มบรู ณ,์ และ สาํ ราญ คําอ้าย. (๒๕๔๗). การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรอ่ื ง ชนิดของคา
ในภาษาไทย ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ทีจ่ ัดการเรยี นรโู้ ดยใช้และไม่ใช้แผนท่ีความคิด
( Mind Mapping ). เข้าถงึ ได้จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/id/1baef95d-
34ad-414f-b926-9f5a3c77b4d3/Fulltext.pdf?attempt=3
อุดม วโรตม์สกิ ขดิตถ.์ (๒๕๓๗). ลักษณะและความสาคญั ของภาษาไทย
เข้าถงึ ไดจ้ าก http://ge.vru.ac.th/gevru/wp-content/uploads/2020/07/บทที่-๑-ลกั ษณะและ
ความสาํ คญั ของภาษาไทย.pdf
๓๕
ภาคผนวก
แผนภูมิแทง่ ท่ี ๒๑ แสดงคา่ เฉลีย่ คา่ มัธยฐาน ของกลุม่ ตวั อย่าง
ภาพท่ี ๑ QR Code แบบทดสอบความรเู้ รอ่ื ง ชนดิ ของคําในภาษาไทย
๓๖
เฉลยแบบทดสอบความร้เู ร่อื ง ชนิดของคาในภาษาไทย
๑. ขอ้ ความต่อไปนี้มีบุพบทและสันธานกี่คาํ
คนไทยสมยั โลกาภวิ ตั นไ์ ด้เปรียบคนไทยรุ่นกอ่ นในดา้ นท่ีมคี วามรกู้ ว้างขวาง เพราะสามารถแสวงหา
ความรู้ไดจ้ ากแหลง่ ตา่ ง ๆ ท้งั หนงั สอื วทิ ยุ โทรทศั น์ และคอมพวิ เตอร์
ก.บพุ บท ๑ คํา สันธาน ๓ คํา
ข.บพุ บท ๒ คํา สนั ธาน ๓ คาํ
ค.บพุ บท ๑ คาํ สนั ธาน ๔ คํา
ง.บุพบท ๒ คาํ สันธาน ๔ คํา
เฉลย ข.บพุ บท ๒ คาํ สนั ธาน ๓ คาํ
๒. ข้อความต่อไปนม้ี คี าํ นามและคํากริยาหลกั อย่างละก่ีคาํ (ไม่นับคาํ ซ้ํา)
การกยู้ ืมจะมปี ระโยชน์ต่อเมอื่ เงินทก่ี มู้ านั้นใช้อย่างมคี ณุ ภาพ และสรา้ งรายไดเ้ พอ่ื เพิม่ ตน้ ทนุ ของเงนิ
จํานวนน้นั
ก.คาํ นาม ๔ คํา คาํ กริยา คาํ
ข.คาํ นาม ๕ คาํ คาํ กริยา ๔ คาํ
ค.คํานาม ๖ คาํ คาํ กรยิ า ๕ คาํ
ง.คํานาม ๗ คาํ คาํ กริยา ๖ คาํ
เฉลย ค.คํานาม ๖ คํา คํากริยา ๕ คาํ
๓. คําวา่ “ที่” ข้อใดเปน็ คาํ นาม
ก.ฉนั มที ผี่ นื ใหญใ่ กลแ้ ม่นํ้า
ข.พอ่ กาํ ลงั ดูคนงานทร่ี ดนํ้าตน้ ไม้
ค.เราจะไปชมการแสดงท่ีโรงละคร
ง.เพ่ือนของเขาให้เงนิ ขอทานที่นง่ั อยเู่ ชิงสะพานลอย
เฉลย ก.ฉนั มที ี่ผนื ใหญใ่ กล้แมน่ ้าํ
๔. ข้อใดปรากฏคาํ นามมากทสี่ ุด
ก.บดั เดยี๋ วดังหง่างเหงง่ วังเวงแว่ว
ข.สะดุ้งแล้วเหลียวแลชะแงห้ า
ค.เห็นโยคีขี่รงุ้ พุง่ ออกมา
ง.ประคองพาขึ้นไปบนบรรพต
เฉลย ค.เหน็ โยคขี ่ีรงุ้ พงุ่ ออกมา
๕. ข้อความใดใชค้ าํ ลกั ษณนามไมถ่ ูกตอ้ ง
ก.เข้าสามารถปฏบิ ตั ติ ามเงอื่ นไขของหน่วยงานได้ครบทกุ ขอ้
ข.นกั วิชาการเสนอข้อคดิ เห็นไวใ้ นบทสรปุ ของรายงานหลายประการ
ค.รฐั บาลมปี ญั หาเรง่ ดว่ นทต่ี ้องรีบแก้ไขหลายเรื่อง
ง.คณะกรรมการกาํ ลงั พจิ ารณาคําขวัญทส่ี ่งเข้าประกวด ๕๐ บท
๓๗
เฉลย ง.คณะกรรมการกาํ ลงั พจิ ารณาคาํ ขวญั ทส่ี ง่ เข้าประกวด ๕๐ บท
๖. ข้อความตอ่ ไปนม้ี ีคาํ สนั ธานและคาํ บพุ บทก่คี าํ (นบั คําซํา้ )
น้าํ เปน็ องคป์ ระกอบสาํ คญั ตอ่ ร่างกายมนุษย์ และทําให้เราสามารถดาํ เนนิ ชีวติ อยู่ได้
ก.สนั ธาน ๒ คํา บุพบท ๑ คาํ
ข.สันธาน ๒ คาํ บพุ บท ๒ คํา
ค.สันธาน ๑ คํา บุพบท ๒ คาํ
ง.สันธาน ๑ คาํ บุพบท ๑ คํา
เฉลย ข.สนั ธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คาํ
๗. ขอ้ ความตอ่ ไปนมี้ ีคํานามและคํากริยาหลักอย่างละกคี่ าํ (ไมน่ ับคําซ้ํา)
กจิ กรรมนนั้ เป็นของดี แต่สถาบนั อดุ มศึกษาไม่ได้ต้ังขนึ้ สาํ หรบั นกั ศึกษาเพอ่ื ทาํ กจิ กรรม กจิ กรรมมีไวใ้ ห้
นกั ศึกษาใชเ้ วลาวา่ งทําประโยชนแ์ ละเปล่ียนบรรยากาศ
ก.คํานาม ๗ คาํ คาํ กริยา ๘ คํา
ข.คํานาม ๖ คํา คาํ กริยา ๘ คาํ
ค.คํานาม ๗ คาํ คาํ กรยิ า ๗ คํา
ง.คํานาม ๖ คํา คํากรยิ า ๖ คาํ
เฉลย ค.คาํ นาม ๗ คาํ คาํ กรยิ า ๗ คาํ
๘.ข้อความนม้ี บี ุพบทกี่คํา
เส้อื ผา้ ท่ัวไปให้ความอบอนุ่ แกร่ า่ งกาย เพราะทาํ หน้าทเี่ ปน็ ชนั้ ฉนวนกันความเยน็ ซ่งึ เกบ็ ความรอ้ นไวท้ ี่
ผวิ หนงั แตม่ กี ารสญู เสียความร้อนผ่านเนอื้ ผา้ สูอ่ ากาศ
ก.๑ คาํ
ข. ๒ คาํ
ค. ๓ คาํ
ง. ๔ คํา
เฉลย ค. ๓ คํา
๙. ขอ้ ความน้ีมีสนั ธานก่คี าํ
เสื้อผ้าท่วั ไปใหค้ วามอบอุน่ แกร่ ่างกาย เพราะทาํ หน้าทเี่ ป็นชน้ั ฉนวนกนั ความเยน็ ซ่ึงเกบ็ ความรอ้ นไว้ที่
ผิวหนัง แตม่ ีการสญู เสียความรอ้ นผ่านเนอ้ื ผ้าสอู่ ากาศ
ก. ๑ คํา
ข. ๒ คาํ
ค. ๓ คํา
ง. ๔ คํา
เฉลย ข. ๒ คาํ
๓๘
๑๐.ข้อความน้ีมีคํานามก่ีคํา
ผลิตภัณฑอ์ าหารทที่ าํ จากเนอ้ื เป็ด เนอ้ื ไก่ อาจใชก้ ารฉายรงั สเี พ่อื ฆ่าเช้อื ซึง่ เปน็ วธิ ที ่ไี ดร้ บั การอนุมัติจาก
องคก์ ารอาหารและยา
ก. ๕ คํา
ข. ๖ คาํ
ค. ๗ คาํ
ง. ๘ คาํ
เฉลย ง. ๘ คาํ
๑๑. ขอ้ ความนีม้ ีคํากริยาหลักกีค่ ํา
ผลติ ภณั ฑอ์ าหารทที่ าํ จากเน้อื เปด็ เนือ้ ไก่ อาจใช้การฉายรงั สีเพอื่ ฆ่าเชือ้ ซ่งึ เปน็ วิธที ไ่ี ดร้ บั การอนมุ ตั จิ าก
องค์การอาหารและยา
ก. ๕ คํา
ข. ๖ คาํ
ค. ๗ คํา
ง. ๘ คํา
เฉลย ก. ๕ คํา
๑๒. ขอ้ ความน้มี ีคาํ บพุ บทก่ีคํา
ปัจจบุ ันมปี ระชาชนใช้บริการในสถานเสริมสวยเป็นจาํ นวนมาก หากสถานประกอบการเหล่าน้ันไมส่ ะอาด
และไมป่ ลอดภัย อาจเปน็ แหล่งแพร่เชื้อโรคแกผ่ ู้ใช้บรกิ ารได้
ก. ๑ คํา
ข. ๒ คํา
ค. ๓ คํา
ง. ๔ คาํ
เฉลย ข. ๒ คาํ
๑๓. ขอ้ ความน้ีมีคาํ สนั ธานกีค่ าํ
ปจั จุบันมปี ระชาชนใช้บรกิ ารในสถานเสริมสวยเป็นจาํ นวนมาก หากสถานประกอบการเหลา่ น้นั ไมส่ ะอาด
และไมป่ ลอดภัย อาจเปน็ แหลง่ แพรเ่ ชื้อโรคแกผ่ ใู้ ช้บรกิ ารได้
ก. ๒ คํา
ข. ๓ คาํ
ค. ๔ คํา
ง. ๕ คํา
เฉลย ก. ๒ คํา
๓๙
๑๔. ข้อความน้ีมคี ํานามก่คี ํา
โครงการนี้เป็นรปู แบบของการศึกษา ชว่ ยฟื้นฟภู าษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤตของประเทศไทย
ซงึ่ บรหิ ารโดยโรงเรียนแล้วขยายสู่ชมุ ชน
ก. ๕ คาํ
ข. ๗ คํา
ค. ๙ คํา
ง. ๑๑ คํา
เฉลย ค. ๙ คํา
๑๕. ข้อความนม้ี ีคํากริยาหลักกคี่ ํา
โครงการนีเ้ ป็นรปู แบบของการศึกษา ชว่ ยฟน้ื ฟูภาษาและวฒั นธรรมในภาวะวกิ ฤตของประเทศไทย
ซ่ึงบริหารโดยโรงเรยี นแล้วขยายสชู่ มุ ชน
ก. ๒ คาํ
ข. ๓ คาํ
ค. ๔ คํา
ง. ๕ คาํ
เฉลย ค. ๔ คํา
๑๖. นกั เรียนไม่ได้บทวนเนื้อหา จึงสอบไมผ่ ่าน คําทขี่ ดี เสน้ ใตเ้ ปน็ คําชนดิ ใด
ก. นาม
ข. สรรพนาม
ค. กริยา
ง. สนั ธาน
จ. บพุ บท
ช. วิเศษณ์
ซ. อทุ าน
เฉลย ง. สนั ธาน
๑๗. ตายจรงิ ! เขาไมน่ า่ ทําแบบน้นั เลย คาํ ที่ขีดเสน้ ใตเ้ ป็นคาํ ชนิดใด
ก. นาม
ข. สรรพนาม
ค. กริยา
ง. สนั ธาน
จ. บพุ บท
ช. วเิ ศษณ์
ซ. อุทาน
เฉลย ซ. อุทาน
๔๐
๑๘. เขาทาํ งานที่ธนาคารแหง่ ประเทศไทย คาํ ทข่ี ดี เส้นใตเ้ ปน็ คําชนดิ ใด
ก. นาม
ข. สรรพนาม
ค. กริยา
ง. สันธาน
จ. บพุ บท
ช. วเิ ศษณ์
ซ. อทุ าน
เฉลย จ. บพุ บท
๑๙. พนกั งานทาํ งานอยา่ งรวดเรว็ คาํ ทขี่ ีดเสน้ ใต้เปน็ คาํ ชนดิ ใด
ก. นาม
ข. สรรพนาม
ค. กรยิ า
ง. สนั ธาน
จ. บุพบท
ช. วิเศษณ์
ซ. อทุ าน
เฉลย ช. วเิ ศษณ์
๒๐. แม้ว่าเธอจะทําดีหรอื รา้ ย เขายังคงรักเธออยเู่ สมอ คําที่ขีดเส้นใต้เปน็ คําชนดิ ใด
ก. นาม
ข. สรรพนาม
ค. กริยา
ง. สันธาน
จ. บพุ บท
ช. วเิ ศษณ์
ซ. อทุ าน
เฉลย ง. สันธาน