The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by moacphichit.056, 2022-09-05 03:07:49

รวมเล่มแผน66-70

รวมเล่มแผน66-70

คำนำ

แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดพิจิตร ภายใต้แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วง
แผนยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ถือเป็นกรอบแนวทางสาคัญในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาภาคการเกษตรในระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560 - 2564) ท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และนโยบายรัฐบาลภายใต้
วิสัยทัศน์ “ภาคเกษตรก้าวไกลด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรม ตลาดนาการผลิต ชวี ติ เกษตรกรมคี ุณภาพ ทรพั ยากร
การเกษตรมีความสมดุลและยั่งยืน” ครอบคลุมการพัฒนาภาคการเกษตรใน 5 ดา้ น ประกอบด้วย การสรา้ งความ
เข้มแข็งให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
การเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและ
สง่ิ แวดลอ้ มอย่างสมดุลและยัง่ ยืน และการพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครฐั โดยมกี ระบวนการขบั เคลื่อนแผนไปสู่
การปฏิบัติ ผ่านกลไกขับเคล่ือนในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และหน่วยปฏิบัติ ท่ีจะช่วยกากับให้ทุกหน่วยงาน
จัดทาแผนงาน/โครงการสาคัญที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ภายใต้แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) รวมท้ังตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการสาคัญดังกล่าว
ใหบ้ รรลผุ ลสัมฤทธิ์ ซ่ึงจะเป็นสว่ นหนึ่งท่ชี ว่ ยขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศส่คู วาม มนั่ คง มงั่ ค่ัง ยง่ั ยนื

แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร จัดทาข้ึนด้วยการมีส่วนร่วมจากการระดม
ความคิดเห็นจากผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เพื่อให้เกิดการบูรณาการ การประสานงานให้สอดคล้องกัน
กับการพัฒนาจังหวัด ซึ่งสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตรในฐานะผู้ประสานงานการจัดทา หวังเป็น
อย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและระบบการปฏิบัติงานที่จะใช้เป็นทิศทางในการประสานงาน
เพื่อดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่ใหค้ วามร่วมมือในการ
จดั ทาเปน็ อยา่ งดี ในทุกกระบวนการในการดาเนนิ งาน

สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั พิจติ ร
สิงหาคม 2565

สารบญั

คานา บทนา หน้า
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปและขอ้ มลู ด้านการเกษตรที่สาคัญของจงั หวัด
สว่ นที่ 2 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มด้านการเกษตรและสหกรณ์ของจงั หวดั 1 - 19
สว่ นท่ี 3 แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณข์ องจงั หวัดพิจิตร 20 - 40
ส่วนท่ี 4 แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) 41 - 47
ส่วนที่ 5 48 - 97
98 - 99

สว่ นที่ 1
บทนำ

1. ท่ีมำ

1.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ
เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆ
ให้สอดคล้อง และบูรณาการกันเพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ประกอบกับมาตรา 72(4)
รัฐพึงจัดให้มีทรัพยากรน้าท่ีมีคุณภาพและเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมท้ังการประกอบ
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอ่ืน และมาตรา 73 รัฐพึงจัดให้มีมาตรการหรือกลไกท่ีช่วยให้เกษตรกร
ประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตที่มีปริมาณและคุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใช้
ตน้ ทนุ ต่าและสามารถแขง่ ขนั ในตลาดได้ และพึงชว่ ยเหลือเกษตรกรผู้ยากไร้ใหม้ ที ี่ทากนิ โดยการปฏิรูปทดี่ ินหรือ
วิธีอ่ืนใด รวมทั้งมาตรา 75 (วรรค 3) รัฐพึงส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพให้แก่ระบบ
สหกรณ์ประเภทตา่ งๆ และกิจการวสิ าหกิจขนาดยอ่ มและขนาดกลางของประชาชนและชุมชน

1.2 ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) มุ่งในการเสริมจดุ แข็ง
และแก้ไขจุดอ่อนให้เอ้ือต่อการพัฒนาภาคการเกษตรในระยะยาว เพ่ือบรรลุวิสัยทัศน์ “เกษตรกรม่ันคง
ภาคการเกษตรม่ังค่ัง ทรพั ยากรการเกษตรย่ังยืน” โดยสรา้ งความเข้มแขง็ ให้กบั เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ และยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร เพิม่ ความสามารถในการแขง่ ขันภาคการเกษตร
ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและย่ังยืน และ
พฒั นาระบบบริหารจดั การภาครัฐ

1.3 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ตามแนวทางการขับเคล่ือนการดาเนินงานเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์
ชาติ โดยทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ร่วมกันพิจารณาภารกิจของหน่วยงาน
ท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงกับแผนในแต่ละระดับ รวมทั้งนานโยบายสาคัญ และสถานการณ์สภาพแวดล้อมต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับบริบทของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ มากาหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการดาเนินงาน
ในการขับเคล่ือนภารกิจให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ีกาหนด ตลอดจนพิจารณาความต่อเนื่องในการบริหารราชการ
แผ่นดินควบคู่กับการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาล เพ่ือให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยแผนปฏิบัติราชการฯ
จะเป็นกรอบแนวทางในการดาเนนิ งานของ ส่วนราชการ รฐั วิสาหกจิ และองคก์ ารมหาชน รวมทัง้ เปน็ เครื่องมือ
สาหรับผู้บริหารในการกากับ ดูแล และติดตามผลการดาเนินงานของโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในแต่ละผลผลิต
ให้สามารถดาเนินการได้ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหาร
ราชการแผ่นดนิ ในภาพรวม เพอื่ มุ่งส่กู ารบรรลุผลสมั ฤทธิข์ องเปา้ หมายระดับชาตริ ว่ มกันต่อไป

2. ทิศทำง นโยบำย และยทุ ธศำสตรท์ ่ีเก่ยี วข้องกับกำรจดั ทำแผนพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์

เพ่อื ใหก้ ารจดั ทาแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจงั หวดั เป็นไปตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ
20 ปี (ร่าง) กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนประเทศไทย
ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 - 2570 (ร่าง) กรอบแผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2566 - 2570 แผนปฏิบัติ
ราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) นโยบายรัฐบาล นโยบายสาคัญ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงกาหนดกรอบแนวคิดหลักในการจัดทาแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์

-2-

ของจังหวัด โดยมุ่งเน้นให้มีความเชื่อมโยง สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาในระดับต่างๆ
ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเกษตร และสหกรณ์ ดังน้ี

2.1 ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 - 2580)1 มีวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศไทยมีความม่ันคง
มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเป้าหมาย
การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชำติม่ันคง ประชำชนมีควำมสุข เศรษฐกิจพัฒนำอย่ำงต่อเน่ือง สังคม
เป็นธรรม ฐำนทรัพยำกร ธรรมชำติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคน
ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการ
เติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์
ส่วนรวม การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสรา้ งสมดลุ ระหว่างการพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ โดยมีความเก่ียวข้องกับกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (01) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง (02) ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำง
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน (หลัก) (04) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
(05) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม และ (06) ยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบด้วย

1) ความอย่ดู ีมีสุขของคนไทยและสงั คมไทย
2) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
4) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถึงการให้บริการของภาครฐั
2.2 แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ2 เป็นส่วนสาคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็น
ยุทธศาสตร์ ของยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนระดับต่างๆ ในลักษณะที่มีการบูรณาการและเช่ือมโยงระหว่าง
ยุทธศาสตร์ชาติด้านท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้หน่วยงานสามารถนาไปใช้เป็นกรอบในการดาเนินการที่เก่ียวข้อง
ใหบ้ รรลุเปา้ หมายการพฒั นาประเทศตามทีก่ าหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาตภิ ายในปี 2580 โดยแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ มีท้ังหมด 23 ฉบับ เก่ียวข้องกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จานวน 15 ฉบับ ได้แก่
(01) ความมั่นคง (03) กำรเกษตร (หลัก) (05) การท่องเที่ยว (06) พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ
(07) โครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล (08) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมยุคใหม่ (09) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (15) พลังทาง สังคม (16) เศรษฐกิจฐานราก (18) การเติบโต
อย่างย่ังยืน (19) การบริหารจัดการน้าทั้งระบบ (20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
(21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (22) กฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรม และ (23) การวิจัย
และพัฒนานวัตกรรม ในแผนแม่บทภายใต้ยุทศาสตร์ชาติประเด็น (03) การเกษตร จะให้ความสาคัญกับการ
ยกระดับการผลิตให้เข้าสู่คุณภาพมาตรฐานความปลอดภัย การใช้ประโยชน์จากความโดดเด่น และเอกลักษณ์
ของสินค้าเกษตร รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละพื้นที่ การพัฒนาสินค้าเกษตรและการแปรรูป
สินค้าเกษตร เพ่ือสร้างมูลค่าและคุณค่าให้กับสินค้าเกษตร การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่
ในการผลิตและการจัดทาฟาร์ม นอกจากนี้ ยังมกี ารสนับสนุนและสง่ เสริมการพัฒนาระบบนิเวศของภาคเกษตร
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งใหก้ ารพฒั นามกี ารเตบิ โตอยา่ งต่อเนื่องและเข้มแข็ง ประกอบดว้ ย 6 แผนยอ่ ย โดยสรุป ดังนี้

1 สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ. (2561, ตุลาคม). ยทุ ธศำสตรช์ ำติ (พ.ศ. 2561 - 2580).
2 สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. (2562, เมษายน). แผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 -
2580).

-3-

2.2.1 แผนยอ่ ยเกษตรอัตลักษณ์พ้นื ถนิ่ ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนา ดงั นี้
1) ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอัตลักษณ์พื้นถ่ิน ด้วยการประยุกต์ใช้

ภูมิปัญญา นวัตกรรม และเทคโนโลยีการพัฒนากระบวนกรผลิตและบรรจุภัณฑ์ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานทต่ี อบสนองตอ่ ความ ต้องการของผูบ้ รโิ ภคทห่ี ลากหลาย

2) ส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับความสามารถของเกษตรกรและชุมชนในการ
พัฒนาสินคา้ เกษตรอตั ลักษณพ์ ื้นถน่ิ

3) สร้างอัตลักษณ์หรือนาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับแหล่งกาเนิดให้กับสินค้า รวมท้ัง
การสร้างความแตกต่างและโดดเด่นของสินค้าในแต่ละท้องถ่ิน และสร้างตราสินค้าของเกษตรอัตลักษณ์พื้นถ่ิน
ตลอดจนเช่ือมโยง ไปสู่ภาคการผลิตอน่ื

เป้ำหมำย สินคา้ เกษตรอตั ลกั ษณพ์ ้ืนถิน่ มีมลู ค่าเพ่ิมขนึ้
ตัวช้วี ัด อตั ราการขยายตวั ของมูลคา่ ของสินค้าเกษตรอัตลักษณพ์ ื้นถิน่ (เฉล่ยี รอ้ ยละ)

2.2.2 แผนยอ่ ยเกษตรปลอดภัย ประกอบดว้ ยแนวทางการพัฒนา ดงั นี้
1) สนับสนุนการบรหิ ารจดั การฐานทรพั ยากรทางเกษตรและระบบการผลิตที่เป็นมิตร

ต่อสงิ่ แวดล้อม และสง่ เสริมการผลติ ในระบบเกษตรกรรมย่งั ยนื
2) พฒั นาระบบคณุ ภาพมาตรฐานความปลอดภยั และระบบการตรวจรับรองคุณภาพ

จากสถาบันที่มีความน่าเช่ือถือในระดับต่างๆ พัฒนาคุณค่าทางโภชนาการของสินค้าเกษตรและอาหาร และ
พฒั นาระบบ การตรวจสอบยอ้ นกลบั ให้เป็นทยี่ อมรับกบั ความต้องการของตลาดท้งั ในประเทศและต่างประเทศ

3) ส่งเสรมิ และสนับสนุนเกษตรกร ชุมชน ทอ้ งถนิ่ รวมถงึ ผูป้ ระกอบการ ใหส้ ามารถ
ผลติ สินค้าเกษตรและอาหารที่มคี ุณภาพมาตรฐาน และสง่ เสริมการวิจยั พฒั นาสินค้า

4) สร้างความตระหนักรู้ของผู้ผลิตและผู้บริโภคถึงความสาคัญของความปลอดภัย
และการส่งเสรมิ ดา่ นการขยายตลาดการบริโภคสนิ คา้ เกษตรและอาหารปลอดภยั

5) สนับสนุนการทาเกษตรอินทรีย์วิถีชาวบ้าน ควบคู่การขยายตลาดเกษตรอินทรีย์
ท้ังในและ ต่างประเทศ

เปำ้ หมำยท่ี 1 สนิ ค้าเกษตรปลอดภัยมีมูลคา่ เพ่มิ ขนึ้
ตัวชี้วดั อตั ราการขยายตัวของมูลค่าของสินคา้ เกษตรปลอดภยั (เฉลี่ยร้อยละ)
เป้ำหมำยที่ 2 ผลิตภัณฑ์เกษตรปลอดภัยของไทยได้รับการยอมรับด้านคุณภาพ
ความปลอดภัย และคณุ คา่ ทางโภชนาการสูงขน้ึ
ตวั ช้วี ัด ดชั นคี วามเชือ่ มนั่ ผู้บรโิ ภคด้านคณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร

2.2.3 แผนยอ่ ยเกษตรชีวภาพ ประกอบด้วยแนวทางการพฒั นา ดงั น้ี
1) สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์

และเชอื้ จุลนิ ทรีย์
2) ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต การแปรรูป และการพัฒนาสินค้าเกษตรและ

ผลิตภัณฑ์จากฐานเกษตรกรรมและฐานทรัพยากรชีวภาพ ยกระดับให้เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจ
การเกษตรขนาดกลางและเล็ก และสนับสนุนให้มีการนาวัตถุดิบเหลือท้ิงทางการเกษตรมาใช้ในอุตสาหกรรม
และพลังงานท่เี ก่ียวเน่ือง กับชีวภาพได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

3) ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรให้เป็นพืชเศรษฐกิจตามความเหมาะสม
ของสภาพแวดล้อมในแต่ละพ้ืนท่ี มุ่งแปรรูปเพื่อป้อนในตลาดอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สินค้า
ประเภทโภชนาเภสชั ผลติ ภัณฑ์ ประเภทเวชสาอาง และผลติ ภณั ฑ์กลุ่มเครือ่ งสาอาง

-4-

4) ส่งเสริมการทาการตลาดผ่านการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
จากเกษตรชีวภาพ ตลอดจนประโยชนแ์ ละสรรพคุณของสมุนไพรไทย

เปำ้ หมำยท่ี 1 สนิ ค้าเกษตรชวี ภาพมีมูลคา่ เพม่ิ ขน้ึ
ตวั ชว้ี ัด อตั ราการขยายตวั ของมลู คา่ ของสนิ คา้ เกษตรชวี ภาพ (เฉล่ียร้อยละ)
เป้ำหมำยที่ 2 วิสาหกจิ การเกษตรจากฐานชีวภาพและภูมปิ ัญญาท้องถ่ินมีการจัดตั้ง
ทุกตาบล เพมิ่ ขึน้
ตวั ชี้วดั จานวนวสิ าหกจิ การเกษตรขนาดกลางและเล็ก และผลติ ภัณฑจ์ ากฐานชีวภาพ

2.2.4 แผนย่อยเกษตรแปรรูป ประกอบดว้ ยแนวทางการพฒั นา ดังน้ี
1) ส่งเสริมการพัฒนาและใช้วัตถุดิบและผลิตผลทางการเกษตรที่เชื่อมโยงไปสู่

กระบวนการแปรรปู ในอตุ สาหกรรมตอ่ เนือ่ งทเ่ี กยี่ วข้อง
2) ส่งเสริมการแปรรูปโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงองค์ความรู้

และภูมิปัญญาท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพในการแปรรูป สร้างความแตกต่าง และเพิ่มมูลค่าในผลิตภัณฑ์และ
สินค้าเกษตร

3) สนับสนุนการนาเทคโนโลยี นวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหลัง
การเก็บเกีย่ ว และการแปรรปู

4) ส่งเสริมการสร้างตราสินค้า และขยายช่องทางการตลาดด้วยระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการสรา้ งเครือ่ งหมายทางการค้าและการปกป้องสิทธิในทรพั ย์สินทางปญั ญา

เป้ำหมำย สินคา้ เกษตรแปรรูปและผลติ ภัณฑ์มีมูลคา่ เพ่ิมข้นึ
ตัวช้ีวดั อัตราการขยายตวั ของมูลคา่ สนิ คา้ เกษตรแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ (เฉลี่ยรอ้ ยละ)

2.2.5 แผนย่อยเกษตรอัจฉริยะ ประกอบดว้ ยแนวทางการพฒั นา ดงั นี้
1) ส่งเสริมการพัฒนาพันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์ ปัจจัยการผลิต เคร่ืองจักรกลและอุปกรณ์

การเกษตร รวมทง้ั เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรแห่งอนาคต
2) พัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและ

นวัตกรรมทาง การเกษตร การจัดการภาคเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม องค์ความรู้ด้านการผลิตและ
การตลาด การใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยีดิจิทัล ฐานข้อมูลสารสนเทศ
ทางการเกษตรต่างๆ

3) สนับสนุนและส่งเสริมการทาระบบฟาร์มอัจฉริยะ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการวางแผนการปรับเปล่ียนกระบวนการผลิตสินค้าที่สอดคล้อง
กบั ความต้องการของตลาด

เป้ำหมำยที่ 1 สนิ คา้ ท่ไี ด้จากเทคโนโลยีสมยั ใหม/่ อัจฉริยะมีมลู ค่าเพิม่ ขน้ึ
ตัวชว้ี ัด มูลค่าสินค้าที่มีการใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหม/่ อัจฉรยิ ะ (เฉลีย่ ร้อยละ)
เป้ำหมำยที่ 2 ผลผลิตต่อหน่วยของฟาร์มหรือแปลงท่ีมีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/
อัจฉริยะเพ่มิ ข้นึ
ตัวช้วี ดั ผลผลิตต่อหน่วยของฟาร์มหรือแปลงท่ีมีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/อัจฉริยะ
(เฉลีย่ ร้อยละ)

2.2.6 แผนย่อยการพฒั นาระบบนเิ วศการเกษตร ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนา ดงั น้ี
1) เพม่ิ ประสิทธภิ าพและการจดั การฐานทรัพยากรทางการเกษตร อนรุ ักษแ์ ละรักษา

ฐานทรัพยากรทางการเกษตรท่ีสาคัญ การคุ้มครองที่ดินการเกษตร การจัดการน้าเพ่ือการเกษตรและชุมชน

-5-

อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตลอดจนใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทรัพยากรทางการเกษตร และการบริหารจดั การพื้นท่ี
เกษตรกรรมอย่างเหมาะสม

2) สร้างความม่ันคงอาหารให้กับครัวเรือนเกษตรกรและชุมชน สนับสนุนให้ชุมชน
ทางการเกษตรของท้องถ่ิน ส่งเสริมการทาการเกษตรตามหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนให้
หน่วยงานของ รัฐหรือท้องถิ่นในพ้ืนที่มีบทบาทดาเนินการให้เกิดความมั่นคงด้านอาหารในมิติต่างๆ รวมถึง
การดูแลโภชนาการของ ประชาชนในทุกช่วงวัย สร้างเสถียรภาพด้านรายได้ของเกษตรกรและประชาชน
การมีมาตรการรองรับสาหรับผู้มีรายได้น้อยให้สามารถเข้าถึงสินค้าเกษตรและอาหารได้อย่างท่ัวถึง และ
การตดิ ตามการเปล่ยี นแปลงของราคาอาหาร และผลกระทบ

3) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และการเฝ้าระวังและเตือนภัยสินค้าเกษตร
ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการเกษตรท่ีมีมาตรฐานและครบวงจร ทั้งเร่ืองเกษตรกร
ข้อมูล อุปสงค์และอุปทานสินค้าเกษตรท่ีมุ่งเน้นการตลาดนาการผลิต ข้อมูลพื้นที่เกษตรกรรม ข้อมูลมูลค่า
สินค้าเกษตร การพัฒนาระบบติดตามเฝ้าระวังและวางระบบเตือนภัย กลไกลการจัดการปัญหาที่อาจจะ
เกิดขึ้นกับสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์ในมิติต่างๆ ทั้งในด้านอุปสงค์และอุปทาน รวมทั้งให้เกษตรกรและผู้ใช้
ประโยชน์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ตลอดจน เช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานท่ีมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์
แนวโน้มการผลิตสินค้าเกษตร

4) ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรเช่ือมโยงไปถึงผู้ประกอบการ ภาคเอกชน และ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการพัฒนาด้านการผลิตและด้านการตลาดของสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ สนับสนุน
การขยายเครือข่าย ธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์ สนับสนุนให้มีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนภายใต้
เงื่อนไขท่ีผ่อนปรนมากข้ึน และมีกลไกลในการดูแลให้เกษตรกรได้รับประโยชน์จากการรวมกลุ่มและการเพิ่ม
มูลคา่ สนิ คา้ เกษตรอย่างแทจ้ ริง

5) วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนภาคเกษตร สนับสนุนและส่งเสริม
การวิจัยพื้นฐาน รวมถึงการวิจัยเชิงประยุกต์ในด้านต่างๆ พัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงองค์ความรู้
และเทคโนโลยีด้านการผลติ และการตลาด เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล และขอ้ มลู สารสนเทศ

6) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าและผลิตภัณฑ์ ยกระดับการผลิตสินค้าและ
ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือกลุ่มผู้บริโภค จัดให้มีระบบ
การตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรอย่างเพียงพอ มีขั้นตอนการตรวจสอบท่ีรวดเร็ว และมีราคา
เหมาะสม รวมถงึ การวางระบบตรวจสอบยอ้ นกลับ

7) ส่งเสริมด้านการตลาดสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์การเกษตร โดยใช้เทคโนโลยี
และเคร่อื งมือ ตา่ งๆ ในการสง่ เสรมิ และขยายตลาดสนิ คา้ เกษตรและผลติ ภณั ฑ์เกษตรในรปู แบบต่างๆ

8) อานวยความสะดวกทางการค้าและพัฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร เพิ่ม
ประสิทธิภาพการให้บริการทางการค้าและอานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการให้มีความรวดเร็วและไม่ เป็น
ภาระค่าใช้จ่ายในการทาธุรกรรมทางการค้า และเตรียมความพร้อมของสถานท่ีเก็บรวบรวม/รักษาคุณภาพ
สินคา้ และผลิตภัณฑเ์ กษตร ทีไ่ ด้คุณภาพและมาตรฐาน

เป้ำหมำยท่ี 1 ประสิทธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตรต่อหนว่ ยมกี ารปรับตัวเพม่ิ ข้นึ
ตวั ชว้ี ดั มูลค่าผลผลติ สินคา้ เกษตรต่อหนว่ ย (เฉล่ียรอ้ ยละ)
เป้ำหมำยท่ี 2 สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเป้าหมาย) ที่ข้ึน
ทะเบยี น กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความเขม้ แข็งในระดับมาตรฐานเพ่ิมขึ้น
ตัวช้ีวัด สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเกษตรกร) ท่ีข้ึน
ทะเบียนกับกระทรวงเกษตรและสหกรณม์ ีความเข้มแข็งในระดบั มาตรฐาน (เฉล่ยี ร้อยละ)

-6-

2.3 แผนกำรปฏิรูปประเทศ3 ต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ประกอบด้วย ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคี สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาส
อันทัดเทียมกันเพ่ือขจัดความเหลื่อมล้า มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ท้ังนี้ การปฏิรูป
ประเทศ ต้องสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีประเด็นขับเคลื่อนการปฏิรูป
ทสี่ าคัญ โดยสรุป ใน 6 มติ ิ ได้แก่ การลดความเหลื่อมล้าทางสังคม การพฒั นาเศรษฐกิจ การสร้างสังคมและชุมชน
ที่เข้มแข็ง การฟื้นฟู และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างประสิทธิภาพและ
ความโปรง่ ใสในกระบวนการ ทางานของภาครฐั และการพฒั นากฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม แผนการปฏิรูป
ประเทศมี 13 ฉบับ มีความเก่ียวข้องกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5 ฉบับ ได้แก่ (2) การบริหารราชการ
แผ่นดิน (3) กฎหมาย (5) เศรษฐกิจ (หลัก) (6) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ (7) สาธารณสุข
ในส่วนของแผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ มีเป้าประสงค์เพ่ือยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
กระจายความเจริญและความเข้มแข็งของภาคสังคม และปรับบทบาท โครงสร้าง และกลไกสถาบันบริหารจัดการ
เศรษฐกิจของประเทศตามหลักแนวคิดการบริหารงานคุณภาพท่ีมีบทบาทสาคัญต่อการขับเคลื่อนประเด็นปฏิรูป
เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และลดความเหล่ือมล้าให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ โดยกาหนดกิจกรรม
ปฏริ ปู ประเทศทจ่ี ะส่งผลใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ จานวน 5 กิจกรรม ประกอบดว้ ย

1) การสรา้ งเกษตรมูลคา่ สงู
2) การส่งเสรมิ และพฒั นาการท่องเท่ยี วคณุ ภาพสงู
3) การเพ่มิ โอกาสของผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็ ในอตุ สาหกรรมและบริการเป้าหมาย
4) การเปน็ ศูนยก์ ลางด้านการคา้ และการลงทนุ ของไทยในภูมภิ าค
5) การพฒั นาศกั ยภาพคนเพื่อเป็นพลงั ในการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ
ท้ังนี้ ในการดาเนินการดังกล่าวจะทาให้กาลังคนในระบบมีทักษะสอดคล้องตามความต้องการ
ของภาค อุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย และได้รับการจ้างงานเพ่ิมมากข้ึน บุคลากรในภาคเกษตรกรรม
ภาคการท่องเท่ยี ว และผปู้ ระกอบการรายยอ่ ยมรี ายไดเ้ พ่มิ ขนึ้ สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศได้ดยี ิง่ ขึน้
2.4 (ร่ำง) แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)4
มงุ่ หมายทีจ่ ะเร่งเพิม่ ศกั ยภาพของประเทศในการรับมอื กับความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบที่รนุ แรงและเสริมสร้าง
ความสามารถในการสร้างสรรค์ประโยชน์จากโอกาสท่ีเกิดข้ึนได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที การกาหนด
ทิศทางการพฒั นาประเทศ ในระยะของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 13 จึงมีวตั ถุประสงค์เพอื่ พลิกโฉมประเทศไทยสู่
“สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างย่ังยืน” ซึ่งหมายถึงการสร้างการเปล่ียนแปลงท่ีครอบคลุมตั้งแต่
ระดับโครงสร้างนโยบายและกลไก เพ่ือมุ่งเสริมสร้างสังคมที่ก้าวทันพลวัตของโลก และเกื้อหนุนให้คนไทย
มีโอกาสท่ีจะพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ พร้อมกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่การขับเคลื่อน
ด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ มีความ สามารถในการสร้างมูลค่าเพิ่มท่ีสูง และคานึงถึง
ความย่ังยืนด้านสิ่งแวดล้อม ดังน้ัน เพ่ือถ่ายทอดเป้าหมายหลักไปสู่การขับเคลื่อนที่ชัดเจนในลักษณะของวาระ
การพัฒนา (Agenda) ที่เอ้ือให้เกิดการทางานร่วมกันของหลายหน่วยงานและหลายภาคส่วนในการผลักดัน
การพัฒนาในเรื่องใดเร่ืองหนึ่งให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้กาหนด หมุดหมายการพัฒนา จำนวน
13 ประกำร ซ่ึงเป็นการบ่งบอกถึงสิ่งที่ประเทศไทยปรารถนาจะ “เป็น” มุ่งหวังจะ “มี” หรือต้องการจะ
“ขจัด” เพื่อสะท้อนประเด็นการพัฒนาท่ีมีลาดับความสาคัญสูงต่อการพลิกโฉมประเทศไทยสู่ “สังคมก้าวหน้า
เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างย่ังยืน” และการบรรลุเป้าหมายหลักในช่วงระยะเวลา 5 ปี ของแผนพัฒนาฯ
ฉบับท่ี 13 โดยมหี มุดหมายทเี่ ก่ยี วข้องกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จานวน 11 หมุดหมาย ไดแ้ ก่

3 ประกำศ นร. เร่ือง กำรประกำศแผนกำรปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง). (2564, 25 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา
เลม่ 138 ตอนพเิ ศษ 44 ง.

4 สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2564, ตลุ าคม). (ร่ำง) แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ
ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2566 - 2570).

-7-

หมุดหมำยที่ 1 ไทยเป็นประเทศช้ันนำด้ำนสินค้ำเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่ำสูง โดย
สร้างมูลค่าเพ่มิ ให้สนิ คา้ เกษตรและเกษตรแปรรปู พัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและระบบบริหารจดั การเพื่อคุณภาพ
ความม่ันคงอาหาร และความย่ังยืนของภาคเกษตร และเพ่ิมศักยภาพและบทบาทของผู้ประกอบการเกษตร
ในฐานะหนุ้ สว่ นเศรษฐกจิ ของห่วงโซอ่ ปุ ทานทีไ่ ด้รบั สว่ นแบ่งประโยชน์อยา่ งเหมาะสมและเป็นธรรม

หมุดหมำยท่ี 2 ไทยเป็นจุดหมำยของกำรท่องเที่ยวท่ีเน้นคุณภำพและควำมย่ังยืน โดย
เปล่ียนการ ท่องเที่ยวไทยเป็นการท่องเที่ยวคุณภาพสูงท่ีเช่ือมโยงกับอุตสาหกรรมและบริการที่มีศักยภาพอื่น
ปรับโครงสร้างการท่องเที่ยวให้พ่ึงพานักท่องเที่ยวในประเทศและมีการกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจมากขึ้น
และการทอ่ งเทย่ี วไทย ต้องมีการบรหิ ารจัดการอย่างย่ังยืนในทุกมิติ

หมุดหมำยที่ 5 ไทยเป็นประตูกำรค้ำกำรลงทุนและยุทธศำสตร์ทำงโลจิสติกส์ที่สำคัญ
ของภูมิภำค โดยทาให้ประเทศไทยเป็นประตูการค้าและการลงทุน เป็นห่วงโซ่อุปทานของภูมิภาค และเป็น
ศูนยก์ ลางคมนาคมและโลจสิ ติกสข์ องภูมภิ าค

หมุดหมำยที่ 6 ไทยเป็นฐำนกำรผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะที่สำคัญของโลก
โดยมูลค่าเศรษฐกิจดิจิทัลภายในประเทศมีการขยายตัวเพ่ิมขึ้น การส่งออกของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
อัจฉริยะของประเทศ เพ่ิมข้ึน และมูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะของ
ประเทศมีการขยายตวั เพ่ิมขึน้

หมุดหมำยที่ 7 ไทยมีวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมท่ีเข้มแข็ง มีศักยภำพสูง และ
สำมำรถแขง่ ขนั ได้ โดยมีสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ืออานวยต่อการเตบิ โตและแขง่ ขนั ได้ของ SME SME มีศกั ยภาพสูง
ในการดาเนิน ธุรกิจ สามารถ Scale up และปรับตัวเข้าสู่การแข่งขันใหม่ และ SME สามารถเข้าถึงและได้รับ
การส่งเสรมิ อยา่ งมปี ระสทิ ธิผลจากภาครัฐ

หมุดหมำยที่ 8 ไทยมพี ืน้ ที่และเมืองอัจฉริยะทีน่ ำ่ อยู่ ปลอดภัย เติบโตไดอ้ ยำ่ งย่ังยนื โดย
การเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจของภาคและการลงทนุ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษขยายตัวเพิ่มข้ึน ความไม่เสมอภาค
ในการกระจายรายได้ของภาคลดลง และการพฒั นาเมืองให้มีความน่าอยู่อย่างย่ังยนื มีความพรอ้ มในการรับมือ
และปรบั ตวั ต่อการเปลยี่ นแปลงทุกรูปแบบ เพ่ือให้ประชาชนทกุ กลุม่ มีคุณภาพชวี ิตทด่ี ีอยา่ งท่ัวถึง

หมุดหมำยท่ี 9 ไทยมีควำมยำกจนข้ำมรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีควำมคุ้มครองทำง
สังคมที่เพียงพอ เหมำะสม โดยครัวเรือนยากจนข้ามรุ่นมีโอกาสในการเล่ือนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม
และคนไทยทกุ ช่วงวยั ไดร้ บั ความคมุ้ ครองทางสังคมท่เี พียงพอต่อการดารงชวี ิต

หมุดหมำยท่ี 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคำร์บอนต่ำ โดยการเพิ่มมูลค่า
จากเศรษฐกิจ หมุนเวียนและการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์
จากทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างยงั่ ยนื และการสร้างสงั คมคารบ์ อนตา่ และยั่งยนื

หมุดหมำยท่ี 11 ไทยสำมำรถลดควำมเส่ียงและผลกระทบจำกภัยธรรมชำติและกำร
เปล่ียนแปลง สภำพภูมิอำกำศ โดยการลดความเสียหายและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ การลดความเส่ียงจากภัยธรรมชาติและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสร้าง
ภูมคิ ุม้ กันและการฟ้นื ตวั จาก การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศและภัยธรรมชาติ

หมุดหมำยที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่ำงต่อเน่ือง ตอบโจทย์กำร
พัฒนำแห่งอนำคต โดยคนไทยไดร้ บั การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในทุกชว่ งวยั มีสมรรถนะทจี่ าเปน็ สาหรับโลก
ยุคใหม่ มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลง
อย่างพลิกโฉม ฉับพลันของโลก สามารถดารงชีวิตร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุข กาลังคนมีสมรรถนะสูง
สอดคล้องกบั ความต้องการ ของภาคการผลิตเป้าหมาย และสามารถสร้างงานอนาคต ประชาชนทกุ กลุ่มเข้าถึง
การเรียนรู้ตลอดชีวติ

-8-

หมุดหมำยท่ี 13 ไทยมีภำครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภำพ และตอบโจทย์ประชำชน โดย
การบรกิ าร ภาครัฐมคี ุณภาพเขา้ ถงึ ได้ และภาครฐั ทมี่ ีขดี สมรรถนะสงู และคลอ่ งตัว

2.5 ยุทธศำสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)5 กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ได้จัดทายุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เพ่ือเป็นกรอบ
การพัฒนาการเกษตรของประเทศในระยะยาว ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่สาคัญ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนปฏิรูปของสภา
ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน (Sustainable Development Goals :
SDGs) ซ่ึงเป็นเป้าหมายการพัฒนาในระดับโลกขององค์การสหประชาชาติ โดยยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์
ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) มุ่งในการเสริมจุดแข็งและแก้ไขจุดอ่อนให้เอื้อต่อการพัฒนา
ภาคการเกษตรในระยะยาว เพื่อบรรลวุ ิสัยทศั น์ “เกษตรกร มนั่ คง ภำคกำรเกษตรมั่งคง่ั ทรพั ยำกรกำรเกษตร
ยัง่ ยืน” โดยมียทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการพัฒนา ดงั น้ี

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 1 สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถำบันเกษตรกร โดยสร้างความ
เขม้ แข็ง ใหก้ ับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร Smart Farmer, Smart Group, Smart Enterprise เสริมสรา้ ง
ความภาคภูมิใจ และความม่ันคงในอาชีพเกษตรกรรม บริหารจัดการแรงงานภาคเกษตรโดยนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ช้

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 เพ่ิมประสิทธิภำพกำรผลิตและยกระดับมำตรฐำนสินค้ำเกษตร โดย
พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพมาตรฐานสนิ ค้า และส่งเสริมการเกษตรตลอดโซ่อปุ ทานสอดคล้องกับ
ความตอ้ งการ ของตลาด

ยุทธศำสตร์ท่ี 3 เพิ่มควำมสำมำรถในกำรแข่งขันภำคกำรเกษตรด้วยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม โดยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือการขับเคลื่อนเกษตรให้สอดคล้องกับไทยแลนด์ 4.0
บริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการเกษตร และพัฒนาผลงานวิจัยด้านการเกษตรนาไปสู่การผลิต
นวตั กรรมเชงิ พาณิชย์

ยุทธศำสตร์ท่ี 4 บริหำรจัดกำรทรัพยำกรกำรเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่ำงสมดุลและ
ยั่งยืน โดยบริหารจัดการทรพั ยากรการเกษตรอย่างยั่งยนื และฟ้ืนฟูและอนุรักษ์ทรพั ยากรการเกษตรใหส้ มดุล
และยั่งยืน

ยุทธศำสตร์ที่ 5 พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรภำครัฐ โดยพัฒนาบุคลากรเป็น Smart
Officer และ Smart Researcher เชื่อมโยงระบบการทางานของทุกหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และปรับปรุงและพฒั นากฎหมายดา้ นการเกษตร

2.6 แผนปฏิบตั ิกำรดำ้ นกำรขับเคลอื่ นกำรพัฒนำประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกจิ BCG พ.ศ.
2564 - 25706 โมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นกลไกเร่งให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายภายใต้
Thailand 4.0 ทต่ี อ้ งการปรบั เปล่ียนรปู แบบการพัฒนาเศรษฐกิจจากการใช้ความได้เปรียบด้านทรัพยากรและ
แรงงาน ไปสู่เศรษฐกิจ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมประสบความสาเร็จได้เร็วขึ้น ด้วยการระดมทรัพยากรและ
ความสามารถของทุกภาคส่วนในการมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยโมเดล
เศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 - 2570 เปน็ กำรพฒั นำภำยใต้ 4 + 1 สำขำยทุ ธศำสตร์ คือ เกษตรและอำหำร
สขุ ภำพและกำรแพทย์ พลังงำน วัสดแุ ละเคมีชวี ภำพ กำรท่องเทย่ี วและเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ และเศรษฐกิจ
หมุนเวียน ซ่ึงมีศักยภาพจะเพ่ิมผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศเพ่ิมขึ้น 1 ล้ำนล้ำนบำท จำกฐำน
ควำมหลำกหลำยของทรพั ยำกรชีวภำพ (Nature) วัฒนธรรม (Culture) และควำมเอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ (Nurture)

5 สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560, เมษายน). ยทุ ธศำสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579).
6 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565, กุมภาพันธ์). แผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรขับเคล่ือนกำร
พัฒนำประเทศไทยดว้ ยโมเดลเศรษฐกจิ BCG พ.ศ. 2564 - 2570.

-9-

ภำยใตก้ ลไกจตภุ ำคี ซ่งึ ประกอบดว้ ยหนว่ ยงำนภำครัฐ ภำคเอกชน สถำบันวิจยั /สถำบันกำรศกึ ษำ และภำค
ประชำชน โดยมีวิสัยทัศน์ คือ เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีคุณภาพและย่ังยืน ประชาชนมีรายได้ดี คุณภาพชีวิตดี
รักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรจากความหลากหลาย ทางชีวภาพให้มีคุณภาพที่ดี ด้วยการใช้ความรู้ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ โดยเก่ียวข้อง กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้ง 4 ยุทธศาสตร์
ไดแ้ ก่

ยุทธศำสตร์ท่ี 1 กำรสร้ำงควำมยั่งยืนของฐำนทรัพยำกรและควำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพด้วย กำรจัดสมดลุ ระหวำ่ งกำรอนุรักษ์ ฟื้นฟู และกำรใชป้ ระโยชน์

เน้นการนาความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ไปบริหารจัดการให้เกิดความสมดุลระหว่าง
การอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์เพ่ือความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่ึงเป็น
ทุนพ้ืนฐานต่อการพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตเพื่อส่งต่อสู่คนรุ่นต่อไป รวมถึงส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน
ทัศนคติจากการมองว่า “Nature as Resource” เป็น “Nature as Source” ดังน้ัน ธรรมชาติจึงไม่ใช่
แค่เพียงทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตเท่านั้น แต่ธรรมชาติคือแหล่งกาเนิดของชีวิตและทุกสรรพส่ิงบนโลก
เป็นพ้ืนฐานของความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ ด้วยเหตุนี้ จึงต้องรักษาสมดุลระหว่างการมีอยู่และใช้ไป รวมถึง
การนากลบั มาใชซ้ ้าตามหลกั การหมุนเวียน โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั นี้

1. การพัฒนาคลังข้อมูลดิจิทัลความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมเพ่ือ
การบริหารจดั การให้เกดิ ความสมดลุ ระหวา่ งการอนรุ กั ษ์และใช้ประโยชน์

2. การอนุรักษ์ ฟ้นื ฟทู รัพยากรด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางสงั คม
3. การบริหารจัดการน้าให้เกิดความยั่งยืนด้วยการอนุรักษ์ป่าต้นน้า และการพัฒนา
แพลตฟอรม์ เพือ่ ลดการใช้ ลดการสูญเสีย การนากลบั มาใชซ้ ้า และยกระดับคุณภาพนา้ ดม่ื นา้ ใช้ให้สงู ขน้ึ
4. การสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ในสาขาที่เก่ียวข้องกับความหลากหลายทางชวี ภาพ และ
การเพิ่ม ทักษะการบริหารจดั การทรพั ยากรให้แกช่ ุมชนและคนรนุ่ ใหม่

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 กำรพัฒนำชุมชนและเศรษฐกิจฐำนรำกให้เข้มแข็งด้วยทุนทรัพยำกร
อัตลกั ษณ์ ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ และเทคโนโลยสี มัยใหม่

ใช้ศักยภาพของพื้นที่โดยการระเบิดจากภายใน เน้นการตอบสนองความต้องการในแต่ละ
พื้นท่ีเป็นอันดับแรก ควบคู่ไปกับการสร้างความเข้มแข็งในระดับพ้ืนท่ี การดารงไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ รวมถึงการใช้
ประโยชน์จากความเข้มแข็งจากภายในอันประกอบด้วย “ความหลากหลายทางชีวภาพ” “ความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม” และ “ความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่” มาตอ่ ยอดและยกระดบั มูลค่าในหว่ งโซ่การผลิตสินค้าและบริการ
ให้มีมูลค่าสูงข้ึน ด้วยการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการยกระดับมาตรฐาน สร้างคุณค่าใหม่
รวมถงึ การนาหลักการของเศรษฐกิจหมนุ เวียนมาใช้เพ่ือการลดการใช้ทรัพยากร การดาเนินการดังกล่าวมุ่งหวัง
ให้เกิดการพัฒนาท่ีนาไปสู่การเดินหน้าไปด้วยกัน และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง เป็นการเติบโตของทุกภาคส่วน
ไปพร้อมๆ กัน เพ่ือเพ่ิมโอกาสของชุมชน และผู้ประกอบการที่อยู่ในภูมิภาคได้รับการพัฒนา รวมถึงการเข้าถึง
ทรัพยากรได้อย่างทัดเทียมกันมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ี ยังให้ความสาคัญกับการนาความรู้ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมมาเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการหรือแก้ปัญหาสุขภาพ ปัญหามลพิษ ยกระดับคุณภาพ
ความปลอดภัยของอาหาร ตลอดจนการเสริมสร้างความสามารถในการพ่ึงพิงแหล่ง พลังงานทางเลือกในพ้ืนท่ี
ได้เพ่มิ ขนึ้ โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดังน้ี

1. การพัฒนาเศรษฐกจิ ภูมภิ าคให้เตบิ โตดว้ ยรปู แบบของระเบยี งเศรษฐกิจ BCG
2. การนาทุนทางทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมไปสร้าง
อตั ลกั ษณ์ของชมุ ชนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก

- 10 -

3. การใช้ทรัพยากรด้านเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว
ในพ้นื ทเ่ี พอื่ สร้างเศรษฐกิจให้ชุมชน

4. การพัฒนาและยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์สนิ ค้าและบริการมูลคา่ สูงจากความหลากหลาย
ทางชีวภาพด้วยการยกระดับมาตรฐาน การสร้างนวัตกรรม ตลอดจนการจัดการวัตถุดิบเหลือท้ิงจากการผลิต
ให้เปน็ ศนู ย์

5. การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เติบโตด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แบบบรู ณาการ ด้วยกลไกจตุภาคี เชน่ กลไกมหาวทิ ยาลยั สตู่ าบล อุทยานวทิ ยาศาสตร์ และคลัสเตอร์

6. การพัฒนาตลาดและศักยภาพในการเข้าถึงตลาดท้ังในและนอกพื้นที่ด้วยการ
ใช้อตั ลกั ษณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และแพลตฟอร์มการเชือ่ มโยงตลาด

7. การยกระดับคุณภาพ ความปลอดภัยและมาตรฐานของอาหารท้องถิ่น (Street
food / วสิ าหกจิ ชมุ ชน) ด้วย Food machinery และมาตรฐานการประกอบการท่ดี ี

8. การสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก
ทั้งระบบ เช่น การยกระดับประสิทธิภาพการผลิต การควบคุมความปลอดภัย ความคิดสร้างสรรค์ ระบบ
ประกันคณุ ภาพ

ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรยกระดับกำรพัฒนำอุตสำหกรรมภำยใต้เศรษฐกิจ BCG ให้สำมำรถ
แขง่ ขันไดอ้ ย่ำงยงั่ ยนื

เน้นการยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการเดิมให้สามารถ
เติบโตได้อย่างต่อเน่ืองด้วยการนาความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมมายกระดับประสิทธภิ าพการผลิต ลดความ
สูญเสียในกระบวนการผลิตให้เป็นศูนย์ การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ หรือการนาไปสร้างมูลค่าเพิ่ ม
ตามหลกั เศรษฐกจิ หมนุ เวียน ยกระดบั มาตรฐานสู่การเปน็ แหลง่ ผลิตและใหบ้ ริการท่ีมีคณุ ภาพ มีความปลอดภัย
มีสุขอนามัยที่ดี ให้ความสาคัญกับระบบการผลิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม มาตรการผลิตที่ยั่งยืนเทียบเท่า
มาตรฐานสากล รวมถึงการยกระดับผลิตภัณฑ์หรือบริการด้วยการใช้นวัตกรรมเข้มข้น เช่น ระบบการผลิตพืช
ในโรงเรอื นอจั ฉริยะ (Plan factory) การให้บรกิ ารด้านสุขภาพทม่ี ีความแม่นยาสูง หรือการแพทย์เฉพาะบุคคล
โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นผู้นาในการผลิตและการให้บริการทั้งในระดับประเทศและเวทีโลก โดยมีแนวทาง
การดาเนนิ การในแตล่ ะสาขายทุ ธศาสตร์ ดงั นี้

1. สำขำกำรเกษตรและอำหำร
1) การปรับเปลี่ยนระบบการเกษตรสู่ประสิทธิภาพสูง มาตรฐานสูง และมูลค่าสูงด้วย

การใช้ การวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) สนับสนุนการยกระดับประสิทธิภาพการผลิตให้สูงข้ึน
การผลิตสินค้าเกษตร พรีเมยี ม เกษตรปลอดภยั และเพม่ิ ความหลากหลายชนิดสินคา้

2) การขับเคลื่อนเกษตรสู่การเป็นทั้ง B, C และ G ดว้ ยการบรู ณาการในพื้นท่ี (Area based)
3) การแปรรูปสินค้าเกษตรข้ันสูง ด้วยการแปรรูปเป็นอาหารสุขภาพ อาหารทาง
การแพทย์ สารออกฤทธ์ิ สาระสาคญั เพ่อื เปน็ วตั ถดุ บิ ของอตุ สาหกรรมตอ่ เนื่อง รวมถงึ โปรตีนจากแมลงหรอื พืช
4) การยกระดับประสิทธิภาพการผลิตด้วยการนาแพลตฟอร์มดิจิทัล เทคโนโลยีข้ันสูง
ระบบ อัตโนมัติมาใชบ้ รหิ ารจดั การกระบวนการผลิต และการกระจายสนิ ค้าสผู่ ู้บรโิ ภค
5) ปรบั ปรุงกระบวนการผลิตสู่ระบบการผลิตสีเขียวและการผลิตทยี่ ่ังยืน ลดการสูญเสีย
ระหวา่ งการผลิตและขยะอาหาร และการยกระดบั กระบวนการผลิตดว้ ยเทคโนโลยขี ้ันสูง
6) การสร้างแบรนด์อาหารไทยในตลาดโลกด้วยการส่งเสริมการใช้วตั ถุดิบไทย อัตลักษณ์
วัฒนธรรมไทยและการเชอ่ื มโยงการทอ่ งเทีย่ ว

- 11 -

7) การลงทุนและยกระดับโครงสร้างพ้ืนฐานด้านนวัตกรรมอาหาร เช่น หน่วยวิเคราะห์
ทดสอบ ด้านอาหารฟังก์ชัน โรงงานต้นแบบผลิตอาหารฟังก์ชันและสารประกอบ Functional ingredient
มาตรฐาน GMP

2. สำขำสขุ ภำพและกำรแพทย์
1) การสร้างและยกระดับความสามารถในการพัฒนาและผลิตวัคซีน ยา และชีววัตถุ

ในการป้องกนั และควบคุมโรคจากไวรสั และการเขา้ สู่ตลาดสากล
2) การยกระดับคุณภาพการรักษาสู่ระบบการแพทย์แม่นยา ด้วยการส่งเสริมให้มีการใช้

บริการ การแพทย์จีโนมกิ ส์ ผลติ ภัณฑ์การแพทยข์ ัน้ สูง (Advanced Therapy Medicinal Products, ATMPs)
3) การเร่งรัดการพัฒนาเคร่ืองมือ และวัสดุทางการแพทย์ด้วยกลไกนวัตกรรมแบบ

วิศวกรรม ยอ้ นกลับ
4) การส่งเสรมิ การวิจัยทางคลินิก เพ่ือรองรับการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑท์ างการแพทย์และ

สุขภาพ ได้แก่ ยา วัคซีน อาหารสขุ ภาพ อาหารการแพทย์ เครอื่ งสาอาง เคร่ืองมอื แพทย์ และวัสดทุ างการแพทย์
5) การสง่ เสริมการสร้างตลาดด้วยกลไกการข้ึนทะเบียนนวัตกรรม Sandbox การจัดซ้ือ

จดั จ้างภาครฐั และปรับรูปแบบการจัดซอื้ จากรายปีเป็น Multi-year procurement
6) การสร้างบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเพื่อรองรับอุตสาหกรรม และบริการการแพทย์

และสขุ ภาพ
3. สำขำพลงั งำน วัสดุ และเคมีชวี ภำพ
1) การสรา้ งโอกาสทางการตลาดแกผ่ ลิตภัณฑช์ ีวภาพให้แขง่ ขันอย่างเปน็ ธรรมดว้ ยกลไก

การกาหนดราคาคาร์บอน การจัดสรรคารบ์ อนเครดติ และการลดอปุ สรรคในการเขา้ สตู่ ลาด
2) การส่งเสริมการนาพืช ผลผลิต และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรไปสร้างคุณค่าและ

มลู คา่ เพ่มิ
3) การใช้นวัตกรรมชีวภาพเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์และบริการ และการสร้างธุรกิจ

นวัตกรรมใหแ้ ก่ SMEs และการเช่ือมโยงห่วงโซ่มูลค่าของโลก
4. สำขำกำรท่องเท่ียวและเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์
1) การผลักดันให้เกิดการนาโมเดลการท่องเท่ียวรูปแบบใหม่ เช่น Happy Model เพ่ือ

กระจาย รายได้อยา่ งทั่วถงึ ไปสเู่ มืองท่องเทยี่ วรอง ลดความเหลือ่ มล้า และมงุ่ สู่การพัฒนาอย่างยง่ั ยืน
๒) การส่งเสริมการท่องเท่ียวย่ังยืนและการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม

ตามแนวทาง Happy Model
๓) การกระจายนักท่องเท่ียวสู่เมืองท่องเท่ียวรองด้วยการพัฒนาสินค้าและบริการ

ในเมืองท่องเที่ยวรอง โดยใช้อัตลักษณ์ท้องถ่ิน วัฒนธรรม พัฒนาเรื่องราว และการอานวยความสะดวกและ
ความปลอดภัย และพฒั นาองคค์ วามร้ดู ว้ ย Digital Technology

๔) การขยายตลาดการท่องเที่ยวด้วยการส่งเสริมพัฒนาระบบการจ่ายเงินแบบ One
Payment System เพือ่ อานวยความสะดวกและรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการใช้จ่าย รวมถึงพฒั นาดิจิทัลคอนเทนต์
ท่นี าเสนอจุดเดน่ ของประเทศไทยในดา้ นต่างๆ เชน่ วฒั นธรรม

๕) การส่งเสริมการท่องเท่ียวคุณภาพสูงผ่านการจัดงานประชุมและนิทรรศการ กีฬา
และ อเี ว้นท์ (Event) ขนาดใหญ่

5. เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น
1) การพัฒนาเศรษฐกิจด้วยโอกาสการลงทุนและการสร้างตลาดด้วยโมเดลธุรกิจ

เศรษฐกจิ หมนุ เวียน

- 12 -

2) การส่งเสริมงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้เกิดการคิดค้นผลิตภัณฑ์และ
บริการใหมจ่ ากการนาของเสียกลับมาใช้ใหม่

๓) การพัฒนาแพลตฟอร์มและโครงสร้างพ้ืนฐาน เพ่ือส่งเสริมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
หมุนเวียน อย่างเป็นระบบ

๔) การสร้างระบบกลไกการบริหารจัดการท่ีเอ้ืออานวยการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ
หมุนเวยี นของประเทศ

๕) การสร้างกาลังคนที่มีความรู้และความเข้าใจ ผ่านการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการ
อบรมหรอื หลักสูตร รวมท้งั สรา้ งความตระหนกั ในการผลิตและบริโภคที่ยง่ั ยนื เพ่อื ขบั เคล่ือนเศรษฐกิจหมนุ เวียน

ยุทธศำสตรท์ ่ี 4 กำรเสริมสร้ำงควำมสำมำรถในกำรตอบสนองต่อกระแสกำรเปล่ียนแปลง
ของโลก

เน้นการสร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
ของโลกอย่างเทา่ ทันเพ่ือบรรเทาผลกระทบ รวมถงึ เขา้ ถึงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกที่เกดิ ข้ึนได้
รวดเร็วยิง่ ขนึ้ เป็นการปูทางสอู่ นาคตด้วยการลงทุนโครงสรา้ งพื้นฐานในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ โครงสร้าง
พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างพ้ืนฐานด้านคุณภาพ เพื่อการสร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต
ด้วยการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมไปเพ่ิมศักยภาพของชุมชน ผู้ประกอบการ ปรับเปลี่ยน
รูปแบบการผลิต/บริการเพ่ือตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาด รวมถึงสร้างการเติบโตอย่างมีคุณภาพ
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพ่ือนาไปสู่สังคมคารบ์ อนต่า นอกจากน้ี ต้องพัฒนา
กาลังคนเพื่อรองรับเศรษฐกิจ BCG ในอนาคต รวมถึงการวิจัย พัฒนาขั้นแนวหน้าเพื่อลดการพ่ึงพาการนาเข้า
เทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศ โดยมแี นวทางการดาเนินการ ดังนี้

1. การยกระดบั ความสามารถของกาลงั คนในสาขา BCG
2. การลงทนุ โครงสรา้ งพ้ืนฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. การลงทนุ โครงสรา้ งพ้ืนฐานทางดา้ นคุณภาพ
4. การพฒั นาเทคโนโลยขี นั้ แนวหนา้

2.7 (รำ่ ง) กรอบแผนพัฒนำภำค พ.ศ. 2566 - 25707
ภำคเหนือ

มุ่งสู่การพฒั นาเป็น “ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศ” ตามแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์
สานสัมพนั ธ์ระหวา่ งพื้นท่ี สขุ ภาวะดี วิถีชวี ิตย่ังยนื ประกอบดว้ ยแนวทางการพัฒนา ดังนี้

1. พัฒนาสู่การเป็นระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ Creative LANNA ในพื้นท่ีจังหวัด
เชยี งใหม่ เชยี งราย ลาพนู และลาปาง

2. พฒั นาการผลติ ตามระบบเกษตรกรรมย่ังยืน เชื่อมโยงสอู่ ุตสาหกรรมแปรรูปมลู ค่าสูง
3. พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วและบรกิ ารบนฐานภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรม
4. เสริมศักยภาพของเมืองและพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเพื่อรองรับการขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ และเอื้อตอ่ การอยอู่ าศยั
5. พัฒนาและยกระดบั คณุ ภาพชีวิต เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาผสู้ งู อายุสกู่ ารเป็น
ผูส้ ูงอายุ ทมี่ ีศกั ยภาพ (Active Aging) และพัฒนาทกั ษะฝมี อื แรงงาน
6. อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า พัฒนาระบบบริหารจัดการน้าท่ีมีความสมดุล ป้องกันและ
แก้ไขปญั หา หมอกควนั ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มเมอื ง

7 สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (2564, กรกฎาคม). ร่ำงกรอบแผนพัฒนำภำค พ.ศ.2566 - 2570.

- 13 -

สภำพเศรษฐกิจสำขำเกษตรของภำคเหนอื
1. พนื้ ท่ใี ช้ประโยชน์ทำงกำรเกษตรส่วนใหญ่อยใู่ นภำคเหนือตอนลำ่ ง ในปี 2562 มีพ้ืนที่

ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรรวม 32.5 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.8 ของพื้นท่ีใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
ของทั้งประเทศ โดยพนื้ ทเี่ กษตรของภาคเหนือส่วนใหญ่อยูใ่ นภาคเหนือตอนล่าง ซ่ึงเปน็ พื้นท่ีราบ 21.9 ลา้ นไร่
ทาการผลติ พชื สาคญั ไดแ้ ก่ ข้าว อ้อยโรงงาน และมันสาปะหลงั และภาคเหนอื ตอนบน 10.6 ลา้ นไร่ เป็นพ้นื ท่ี
สาคัญในการผลิตพืชผัก และผลไม้

2. สัดส่วนพื้นท่ีชลประทำนต่อพื้นที่เกษตรของภำคเหนือสูงกว่ำสัดส่วนของประเทศ
ช่วยลดควำมเส่ียงของภัยแล้ง ในปี 2562 ภาคเหนือมีพื้นที่ชลประทานรวม 10.2 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ
29.4 ของพ้ืนที่ชลประทานท้ังประเทศ เพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 27.8 ในปี 2559 โดยมีสัดส่วนพื้นที่ชลประทาน
ต่อพนื้ ท่เี กษตรรอ้ ยละ 31.3 สูงกว่าระดับประเทศที่มีสดั ส่วนร้อยละ 23.2

3. ผลิตภำพแรงงำนภำคเกษตรต่ำ เมื่อเทียบกับผลิตภำพแรงงำนในสำขำกำรผลิตอ่ืน โดย
ผลิตภาพแรงงานภาคเกษตรภาคเหนือในปี 2562 เท่ากับ 42,112.56 บาทต่อคน ขณะที่ภาคอุตสาหกรรม
เทา่ กบั 293,852.56 บาทตอ่ คน และภาคบรกิ ารเทา่ กับ 160,676.88 บาทต่อคน รวมทัง้ มมี ลู คา่ เศรษฐกิจ
ต่า โดยในปี 2562 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคการเกษตรภาคเหนอื มีมูลค่า 333,195 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 25.6 ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมภาคเหนอื

4. กระบวนกำรผลิตกำรเกษตรเรม่ิ ปรบั เปล่ยี นสู่กำรเกษตรสร้ำงมลู ค่ำ เกษตรกรมีการปรับ
กระบวนการผลิตสู่เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์มากขึ้น ตามพฤติกรรมของผู้บริโภคท่ีใส่ใจในสุขภาพและ
ส่ิงแวดล้อม และมีการใช้เทคโนโลยใี นกระบวนการผลิต อาทิ การใช้โดรน การใช้แอปพลิเคชั่นทดแทนแรงงาน
เกษตรทสี่ งู วยั ซ่งึ จะเป็นการพฒั นาสู่ระบบเกษตรอจั ฉริยะทีม่ ีการบริหารจัดการผลิตอยา่ งมีประสิทธิภาพ

2.8 แผนปฏบิ ัตริ ำชกำรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)8
เป็นแผนหลักในการขับเคลื่อนภารกจิ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและเปน็ รูปธรรม
เพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ และแผนอืน่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง รวมท้งั
นาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ และนาไปใช้ในการติดตามและ
ประเมินผลโครงการสาคัญประจาปีงบประมาณ ตลอดจนผู้บริหารสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการกากับดูแล
และติดตามผลการดาเนินงานของโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในแต่ละผลผลิตให้สามารถดาเนินการได้ตาม
เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารราชการแผ่นดินในภาพรวม
มี วสิ ัยทัศน์ คือ “เกษตรกรมคี ณุ ภำพชีวิตท่ีดี มีรำยไดเ้ พมิ่ ขน้ึ ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 10 ต่อปี” โดยมเี ป้าหมาย
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสาขาเกษตรเพ่ิมข้ึน ผลิตภาพการผลิตของภาคเกษตรเพิ่มข้ึน รายได้เงินสดสุทธิ
ครัวเรอื นเกษตรเพ่ิมข้ึน สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกจิ ชุมชน กลุ่มเกษตรกร) มศี กั ยภาพเพิ่มขนึ้ และการ
บริหารจัดการทรัพยากรเพ่ือการผลิตทางการเกษตรมีความสมดุล ประกอบด้วย 5 ประเด็นการพัฒนา
28 แนวทางการพฒั นา ได้แก่

ประเด็นกำรพัฒนำท่ี 1 เสริมสร้ำงควำมม่ันคงทำงกำรเกษตร มีแนวทางการพัฒนา คือ
การปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความมน่ั คงทางการเกษตร

ประเด็นกำรพัฒนำท่ี 2 ยกระดับขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของภำคเกษตร มแี นวทาง
การพัฒนา คือ เกษตรอัตลักษณ์พ้ืนถิ่น เกษตรปลอดภัย เกษตรชีวภาพ เกษตรแปรรูป เกษตรอัจฉริยะ
การพัฒนาระบบ นิเวศการเกษตร ท่องเท่ียวเกษตรเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม โครงสร้างพ้ืนฐานและ
ระบบโลจิสติกส์การเกษตร การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน
กลมุ่ เกษตรกร) ใหเ้ ปน็ ผู้ประกอบการยคุ ใหม่ และการพัฒนาการเกษตรในเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ

8 กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ (2564, ตุลาคม). แผนปฏิบัติรำชกำรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.
2566 - 2570).

- 14 -

ประเดน็ กำรพฒั นำท่ี 3 สรำ้ งควำมเสมอภำคและกระจำยควำมเทำ่ เทียมทำงสังคมเกษตร
มีแนวทาง การพัฒนา คือ การเสริมสร้างทุนทางสังคม การรองรับสังคมเกษตรสูงวัยเชิงรุก การยกระดับ
ศักยภาพของเกษตรกร รายย่อยให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจ และการสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกท่ีส่งเสริม
การพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก

ประเด็นกำรพัฒนำท่ี 4 บริหำรจัดกำรทรัพยำกรกำรเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่ำงสมดุล
และย่ังยืน มีแนวทางการพัฒนา คือ การพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมเชิงนิเวศ การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
บนสังคมเศรษฐกิจ สีเขียว การสร้างการเติบโตอย่างย่ังยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล การสร้างการเติบโต
อย่างยั่งยืนบนสังคมท่ีเป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ การจัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและสารเคมี
ในภาคเกษตรท้ังระบบให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล การพัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มน้าท้ังระบบเพื่อเพิ่ม
ความมั่นคงด้านน้าของประเทศ การเพ่ิม ผลิตภาพของน้าท้ังระบบในการใช้น้าอย่างประหยัด รู้คุณค่า และ
สร้างมลู คา่ เพิม่ จากการใชน้ ้าใหท้ ัดเทยี มกับระดบั สากล

ประเด็นกำรพัฒนำที่ 5 พัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐและงำนวิจัยด้ำนกำรเกษตร
มแี นวทาง การพฒั นา คือ การพัฒนาบริการประชาชน การพัฒนาระบบบริหารงานภาครฐั การสร้างและพัฒนา
บุคลากรภาครัฐ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ การพัฒนากฎหมาย และการวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร

2.9 นโยบำยรฐั บำลทเี่ กย่ี วข้องกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์9
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา เม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562
โดยคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาให้ทราบถึงแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินที่รัฐบาล
จะดาเนินการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยความม่ันคง สังคมไทยมีความสงบสุข สามัคคี และ
เอ้ืออาทร คนไทยมีคุณภาพ ชีวิตท่ีดีขึ้นและมีความพร้อมท่ีจะดาเนินชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เศรษฐกิจไทย
มีความแข็งแกร่งและมีความสามารถในการแข่งขันสูงข้ึน ควบคู่ไปกับการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีนโยบายประกอบด้วย นโยบายหลัก 12 ด้าน
นโยบายเร่งด่วน 12 เร่ือง โดยมีนโยบายหลักและนโยบายเร่งด่วนท่ีเก่ียวข้องกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดังน้ี

1. นโยบำยหลัก 8 ด้ำน ประกอบด้วย นโยบายหลักท่ี 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบัน
พระมหากษตั ริย์ นโยบายหลกั ท่ี 4 การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก นโยบายหลักท่ี 5 การพฒั นาเศรษฐกิจ
และ ความสามารถในการแข่งขันของไทย นโยบายหลักท่ี 6 การพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจและการกระจาย
ความเจริญสู่ภูมิภาค นโยบายหลักท่ี 7 การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก นโยบายหลักท่ี 10
การฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างย่ังยืน นโยบายหลักที่ 11
การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ และนโยบายหลักท่ี 12 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบและกระบวนการยตุ ธิ รรม

2. นโยบำยเร่งด่วน 10 เร่ือง ประกอบด้วย นโยบายเร่งด่วนท่ี 1 การแก้ไขปัญหาในการดารง
ชีวติ ของประชาชน นโยบายเร่งดว่ นที่ 3 มาตรการเศรษฐกิจ นโยบายเร่งดว่ นที่ 4 การใหค้ วามช่วยเหลือเกษตรกร
และพัฒนานวัตกรรม นโยบายเร่งด่วนที่ 5 ยกระดับศักยภาพแรงงาน นโยบายเร่งด่วนท่ี 6 การวางรากฐาน
ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสอู่ นาคต นโยบายเรง่ ด่วนที่ 7 เตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 นโยบายเรง่ ดว่ นท่ี 8
การแก้ไข ปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการประจา นโยบายเร่งด่วน
ท่ี 9 การแก้ไข ปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพ้ืนที่ชายแดนภาคใต้ นโยบายเร่งด่วนที่ 10 การพัฒนา
ระบบการให้บริการ ประชาชน และนโยบายเร่งด่วนท่ี 11 การจัดเตรียมมาตรการรองรบั ภยั แล้งและอทุ กภัย

9 คำแถลงนโยบำยของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภำ วันพฤหัสบดีท่ี 25
กรกฎำคม 2562. (2562, 25 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนพเิ ศษ 186 ง.

- 15 -

2.10 นโยบำยสำคญั ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1. ยุทธศำสตร์และนโยบำยของรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน) ได้มีแนวทางการพัฒนาเพื่อขับเคล่ือนด้านการเกษตรให้มี
ความยั่งยนื ดว้ ยยุทธศาสตร์และแนวทางนโยบายหลัก ดังนี้

1.1 ยุทธศำสตร์ 5 ประเด็น ประกอบด้วย
1) ยุทธศำสตร์ตลำดนำกำรผลิต โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดาเนินการ

ประสาน ความร่วมมือกับกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย Lazada Shopee Alibaba สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เพื่อเพิ่ม
ช่องทางการตลาดให้มีความหลากหลาย ทั้งในรูปแบบตลาดออนไลน์และออฟไลน์ รวมถึงการจัดกิจกรรมจับคู่
ธรุ กิจผูซ้ ้อื กับผู้ขายเพื่อสรา้ งเครือข่ายธุรกิจเกษตรท้ังผลผลิตและสินค้าเกษตรแปรรูป เพอื่ เปน็ ผลติ ภัณฑ์เกษตร
ชุนชนท่ีเช่ือมโยงกับตลาดชุมชนหรือตลาดเกษตรกร อีกท้ังส่งเสริมระบบเกษตรพันธสัญญา เพ่ือสร้าง
ความไวว้ างใจระหวา่ งเกษตรกรกับผ้ปู ระกอบการ โดยมีความร่วมมือด้านการตลาดที่สาคัญ ได้แก่

1.1) ควำมร่วมมือกับกระทรวงพำณิชย์ การสร้างกลไกความร่วมมือให้เกิด
การบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรมระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์ ให้เกิด
การขับเคล่ือนภายใต้ ยุทธศาสตร์ตลาดนาการผลิต ผ่านคณะทางานร่วมของท้ัง 2 กระทรวง โดยการ
ดาเนินงานของคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน ได้แก่ (1) การสร้างและใช้ข้อมูลจากฐานเดียวกัน (Single Big
Data) จัดทา Dashboard สินค้าเกษตร (2) การสร้างแพลตฟอร์มกลาง “เกษตรผลิต พาณิชย์ตลาด” โดย
คัดเลือกกลุ่มสหกรณ์ กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ และวิสาหกิจชุมชนเป็นกลุ่มนาร่องในการออกแบบจัดทา
แพลตฟอร์มกลาง (3) การสร้างความเชื่อม่ันด้านคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และการตรวจสอบ
ยอ้ นกลับ และ (4) การพฒั นาคนและผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาด

1.2) ควำมร่วมมือกับสภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย โดยพัฒนาเกษตร
แม่นยา สู่ธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม ในสินค้าเกษตรสาคัญ อาทิ ยางพารา ปาล์มน้ามัน อ้อยโรงงาน ข้าวโพด
หวาน และมะเขือเทศ รว่ มกับบริษัทผูร้ บั ซื้อในเครือข่ายสภาอตุ สาหกรรม เปน็ การดาเนนิ งานทีเ่ น้นใหเ้ กษตรกร
รวมกลุ่มเป็นแปลงใหญ่ ด้วยกระบวนการจัดการท่ีลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตให้สูงข้ึน สนับสนุน
แผนการตลาดที่ชัดเจนของอุตสาหกรรม ทงั้ ด้านปรมิ าณ คณุ ภาพ และช่วงเวลาการรับซ้ือ ทัง้ น้ี พ้ืนทเ่ี ป้าหมาย
คือ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมท่ีผลิต สินค้าตามเป้าหมายของอุตสาหกรรมท่ีห่างจากแหล่งรับซ้ือผลผลิตในรัศมีไม่เกิน
100 กโิ ลเมตร เพือ่ ลดภาระตน้ ทนุ การจดั การด้านโลจสิ ติกส์

1.3) กำรพัฒนำระบบตลำดสินค้ำเกษตรเพื่อเพิ่มโอกำสและกำรรับรู้ควำม
ต้องกำรของตลำด โดยการพฒั นาช่องทางเชื่อมโยงตลาดสินคา้ เกษตรทัง้ ในและต่างประเทศ การจดั ทาร้านค้า
ออนไลน์ให้ กับสินค้าเกษตร ด้วยการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ พัฒนาระบบเพ่ือตอบสนอง
ความต้องการของผู้ใช้งานอย่างต่อเน่ือง และการพัฒนาต่อยอดระบบเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ การใช้งาน
ของเกษตรกร เชน่ การ Live จาหนา่ ย สินคา้ ทาง Facebook รวมถงึ การเชื่อมโยงระบบจดั เก็บและขนสง่ สินค้า
ตลอดจนการเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ ให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยการพัฒนากลไกเพื่อเพ่ิม
ชอ่ งทางการจาหน่ายสินคา้ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

2) ยุทธศำสตร์เทคโนโลยีเกษตร 4.0 เพื่อการพัฒนาภาคเกษตรกรรมโดยการใช้
เทคโนโลยี และนวัตกรรมตลอดโซ่อุปทานและโซ่คุณค่า (Supply-Value Chain) ต้ังแต่การผลิต การแปรรูป
จนถงึ การตลาด โดย

- 16 -

2.1) พัฒนำศูนย์เรียนรู้กำรเพ่ิมประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร (ศพก.)
เพื่อเป็นต้นแบบเกษตรอัจฉริยะให้กับเกษตรกร รวมถึงเป็นกลไกส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ เพื่อให้
เกษตรกรสามารถ เขา้ ถึงเทคโนโลยีการเกษตรผา่ นการรวมกลุ่ม

2.2) พัฒนำศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (AIC) เป็นแหล่งรวบรวม
องค์ความรู้ ด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร สนับสนุนและส่งเสริมเทคโนโลยีเกษตร การประดิษฐ์ นวัตกรรม
รวมทั้งเครื่องจักรกลเกษตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ของแต่ละจังหวัด โดยเช่ือมโยงการทางานกับศูนย์เรียนรู้
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เพื่อยกระดับสู่การทาเกษตรสมัยใหม่ เกษตรแบบแม่นยา
(Precision Agriculture) และเกษตร อจั ฉรยิ ะ

2.3) พัฒนำเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรปรำดเปร่ือง (Smart Farmer) และ
ส่งเสริม สถำบันเกษตรกร วิสำหกิจชุมชน ผู้ประกอบกำรธุรกิจเกษตร ให้เป็นผู้ให้บริการทางการเกษตร
(Agricultural Service Providers : ASP) เพ่ือยกระดับการให้บริการทางการเกษตร และเป็นช่องทาง
การเขา้ ถงึ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเกษตรสมยั ใหมไ่ ด้อย่างครบวงจร

3) ยุทธศำสตร์ 3’S คือ "Safety" ควำมปลอดภัยของอำหำร "Security"
ควำมมัน่ คง มั่งค่งั ของภำคกำรเกษตรและอำหำร และ "Sustainability" ควำมย่ังยืนของภำคกำรเกษตร

3.1) Safety เน้นสินค้าเกษตรและอาหารของไทยมีความปลอดภัย เช่ือมั่น
ในระบบที่มีมาตรฐาน สามารถตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) มาตรฐานสินค้าเกษตรของไทยเป็นไปตาม
มาตรฐานสากล และมั่นใจว่าสินค้าเกษตรและอาหารของไทยผลิตด้วยความปลอดภัยท้ังระบบ เพ่ือผู้บริโภค
ภายในประเทศและสง่ ออกไปยงั ตลาดตา่ งประเทศ

3.2) Security เน้น 4 ด้าน ได้แก่ (1) Food Security ไทยเป็นผู้ส่งออก
สินค้าเกษตรและอาหารท่ีสาคัญของโลก สามารถผลิตสินค้าเกษตรและอาหารได้เพียงพอ และสามารถผลิต
เล้ียงคนทั่วโลกได้ โดยมีตัวอย่างสินค้าดาวเด่นของไทย อาทิ ข้าว มันสาปะหลัง ไก่ สินค้าประมง (2) Health
Security ไทยมีมาตรการ ควบคุม ป้องกัน การระบาดโรคท่ีเข้มงวด (3) Biosecurity ไทยมีระบบควบคุม/
ป้องกันโรคระบาดในสัตว์และพืช รวมทั้งศัตรูพืช การนาแอพพลิเคชั่น e-Smart Plus มาใช้ในการประเมิน
ความเส่ียงฟาร์มสุกรแบบ Realtime สาหรับโรค African Swine Fever (ASF) และ (4) Farmer Security
เน้นการเสริมสร้างเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมเกษตรพอเพียง และ Smart
Farmer, Young Smart Farmer เพอื่ ให้ภาคเกษตรมีความม่นั คง

3.3) Sustainability ระบบการทาเกษตรของไทยเนน้ ความยั่งยืน เชน่ เกษตร
ผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ และวนเกษตร การลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ประชาสัมพันธ์
ให้เกษตรกร รบั รู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง มีการนาเทคโนโลยีฝนหลวงมาใช้ประโยชน์ มกี ารจัดสิทธ์ิ
ในการใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ให้ความสาคัญกับความย่ังยืนของดิน การบริหารจัดการพื้นท่ี
เกษตรกรรม (Zoning) เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน และมีการบริหารจัดการ
น้าท้ังระบบ รวมถึงการขับเคล่ือนโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว
(Bio - Circular - Green Economy : BCG Economy) และ SDGs ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภาคการเกษตร

4) ยทุ ธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรเชิงรกุ แบบบรู ณำกำรกบั ทุกภำคสว่ น
4.1) กำรบูรณำกำรเพื่อพัฒนำฐำนข้อมูล Big Data ในการใช้ประโยชน์และ

เช่ือมโยง แลกเปล่ียนกับหน่วยงานต่างๆ เพ่ือการบริหารและสนับสนุนข้อมูลท่ีดีแก่เกษตรกรสาหรับ
การตัดสินใจที่ถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงตรวจสอบศักยภาพพ้ืนท่ี โดยบูรณาการจัดทาระบบแผนที่เกษตร
เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) สาหรับเป็นเครื่องมือในการวางแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตร
ที่สาคัญ ที่คานึงถงึ ความเหมาะสมด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจสาหรบั การเชื่อมโยงข้อมูล และชว่ ยให้เกษตรกร

- 17 -

มีข้อมูลที่ดี โดยมีการรวบรวมข้อมูลและการดาเนินงานทุกอย่างที่เก่ียวข้องกับภาคเกษตรให้ครอบคลมุ ทุกด้าน
ทั้งสินค้า การตลาด และทรัพยากร และครอบคลุม พ้ืนท่ีทั้ง 77 จังหวัด เพ่ือบริหารจัดการสินค้าเกษตรและ
ทรัพยากรทางการเกษตร นาไปใช้วางแผนการผลิตอย่างเป็นระบบ รวมถึงการรับรู้ความต้องการคุณภาพและ
ปริมาณของตลาดทัง้ ในและตา่ งประเทศ

4.2) สร้ำงควำมร่วมมือกับทุกภำคสว่ นในด้ำนกำรพัฒนำกำรเกษตร การนา
จุดแข็ง หรือศักยภาพของแต่ละภาคส่วนมาร่วมมือกัน เพื่อพัฒนาภาคเกษตรตลอดโซ่อุปทาน เช่น ความร่วมมือ
ด้านการตลาด ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
แพลตฟอรม์ ตลาดออนไลน์ตา่ งๆ เพ่อื เชอื่ มโยงดา้ นการตลาดใหม้ ีความหลากหลาย ใช้ในการซื้อขายไดจ้ รงิ

5) ยุทธศำสตร์เกษตรกรรมย่ังยืนตำมแนวศำสตร์พระรำชำ โดยน้อมนาหลัก
ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันและสร้างความม่ันคงแก่เกษตรกร ได้แก่
โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริฯ เกษตรทฤษฎีใหม่ และโครงการหลวง ด้วยการถ่ายทอดองค์ความรู้
ผา่ นกลมุ่ เกษตรกร เครือข่ายเกษตรกร และสถาบนั เกษตรกร สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงและพงึ่ พาตนเองได้

1.2 แนวทำงนโยบำยหลัก 15 ด้ำน ประกอบดว้ ย
1) นโยบาย “ตลาดนาการผลิต” เป็นนโยบายหลักโดยเพ่ิมช่องทางตลาดให้

หลากหลาย ทั้งในรูปแบบตลาดออนไลน์ (แพลตฟอร์มรายสินค้าเพื่อรองรับ New Normal) ตลาดออฟไลน์
โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) รถโมบาย ตลาดสด ตลาดชุมชน คาราวานสินค้า เกษตรพันธสัญญา และ
เคาน์เตอร์เทรด จัดกิจกรรม จับคู่ธุรกิจผู้ซื้อกับผู้ขายเพ่ือสร้างเครือข่ายธุรกิจ โดยร่วมมืออย่างเข้มข้น
กบั กระทรวงพาณชิ ยภ์ ายใต้โมเดล “เกษตร - พาณชิ ย์ทันสมัย”

2) การสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันเกษตรกรและเศรษฐกิจฐานราก โดยส่งเสริม
ให้เกษตรกร มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกรและสถาบนั
เกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้มีอานาจต่อรองในการซ้ือขายผลผลิต ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร
เพ่ือเป็นผลิตภัณฑ์เกษตร ชุมชน เช่ือมโยงกับตลาดชุมชน/ตลาดเกษตรกร ตลาดสีเขียว (Green Market) และ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนภายในชุมชน รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ สามารถ
ช่วยเหลือสมาชิกเกษตรกรเอื้อให้เกิดการพัฒนาในพ้ืนที่ ท้ังสังคม ชุมชน วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาตใิ หเ้ ข้มแขง็ และยงั่ ยนื

3) การส่งเสริมสถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการ และ Start Up เป็นหน่วยธุรกิจ
ให้บริการ ทางการเกษตร (Agricultural Service Providers : ASP) เพ่ือยกระดับสู่การให้บริการทาง
การเกษตร เชน่ เทคโนโลยี ในการดูแลรักษา รถจกั รกลในการเตรียมดินและการเก็บเกีย่ ว สาหรับใหบ้ รกิ ารแก่
พ่นี อ้ งเกษตรกรแบบครบวงจร

4) การส่งเสริมเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) เพื่อสร้างความไว้วางใจ
และความร่วมมือในการพัฒนาศักยภาพการผลิตอย่างย่ังยืน ระหว่างเกษตรกรกับผู้ประกอบการ และร่วมกัน
ยกระดบั คณุ ภาพผลผลติ และแก้ปัญหาผลผลติ ลน้ ตลาด

5) การพัฒนาศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (AIC) เป็นแหล่งรวบรวม
องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร สนับสนุนและส่งเสริมเทคโนโลยีเกษตร โดยเช่ือมโยงการทางาน
กับ ศพก. เพอื่ ยกระดับ สกู่ ารทาเกษตรสมัยใหม่ และเกษตรแบบแมน่ ยา (Precision Agriculture)

6) การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ด้านการเกษตร เพื่อตอบสนองต่อโซ่อุปทาน
ท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยเฉพาะการค้าสินค้าเกษตรออนไลน์ท่ีขยายตัวต่อเนื่อง เพ่ือรักษาคุณภาพสินค้าเกษตรให้
มีความสดใหม่และ ถึงมือผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว รวมถึงพัฒนาระบบเชื่อมโยงทางอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ืออานวย
ความสะดวกในการส่งออกและนาเขา้ สนิ ค้าเกษตร

- 18 -

7) การบรหิ ารจัดการน้าอย่างเป็นระบบ มีการกระจายน้าอย่างเหมาะสมและทั่วถึง
รวมทั้ง พัฒนาแหล่งน้าในไร่นาของเกษตรกรและชุมชน เพื่อให้เกษตรกรมีน้าเพียงพอสาหรับใช้ในการอุปโภค
บริโภค และทาการเกษตร ตลอดจนปอ้ งกันและบรรเทาปญั หาอุทกภัย

8) การบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรม เพื่อให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์
จากท่ีดินได้ตรงตามศักยภาพของท่ีดิน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดมากที่สุด โดยกาหนดเขต
ความเหมาะสมในการทาการเกษตรในแต่ละพ้ืนที่ให้เกิดประสิทธิภาพในการผลติ สงู สุดผ่านข้อมูล Agri - Map

9) การส่งเสริมศูนยเ์ รียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เพ่ือ
บ่มเพาะ เกษตรกรให้เป็น Smart Farmer ผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการ และ
การตลาดแก่เกษตรกร รวมทัง้ ใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่ โดยมเี กษตรกรต้นแบบ
เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และเป็นกลไกในการบูรณาการการทางานของหน่วยงานต่างๆ ในการแก้ปัญหาและ
พัฒนาการเกษตรในระดบั พื้นท่ี

10) การประกันภัยพืชผล ให้ความคุ้มครองความเสียหายหรือความสูญเสีย
ต่อพืชผลที่เอาประกันภัย ซ่ึงเกิดจากภัยต่างๆ เช่น น้าท่วม ภัยแล้ง ลมพายุ ลูกเห็บตก เป็นต้น ซึ่งจะช่วยสร้าง
เสถียรภาพทางรายได้และความม่ันคงในอาชีพให้แก่เกษตรกร รวมถึงการให้ความช่วยเหลือเยียวยาเกษตรกร
ทีป่ ระสบภยั พิบัติทางธรรมชาตอิ ยา่ งทนั ท่วงที

11) การส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันและสร้างความมั่นคง
แก่เกษตรกร ได้แก่ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ และวนเกษตร
ด้วยการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรรับรู้เก่ียวกับการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง และ
มีการพัฒนาอาหารของไทย ให้เป็นรูปแบบอาหารที่ปลอดภัยและมีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
เพื่อตอบสนองต่อความตอ้ งการสินค้าเกษตรปลอดภยั ใน 5ร ได้แก่ โรงเรยี น โรงแรม โรงพยาบาล เรือนจา และ
รา้ นอาหาร

12) การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ที่มี
เอกลักษณ์ เฉพาะถ่ิน สรา้ งแบรนด์ใหก้ บั สนิ ค้าเกษตรอตั ลักษณ์ สง่ เสริมการแปรรูปสนิ คา้ จากความหลากหลาย
ทางชีวภาพ เช่น สมุนไพร แมลงเศรษฐกิจ ส่งเสริมสินค้าเกษตรที่มีศักยภาพทางด้านการตลาดในอนาคต
ท้ังสินค้าอาหารอนาคต (Future Food) และสินค้าเกษตรท่ีตอบสนองผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม (Functional
Food) รวมทงั้ สนิ คา้ เกษตรเพอ่ื พลังงานและอุตสาหกรรมแหง่ อนาคต

13) การวิจัยและพัฒนา เพื่อตอบสนองการพัฒนาภาคเกษตรของประเทศไทย
บนพ้ืนฐาน ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
เกษตรกรและผ้บู รโิ ภค

14) การพัฒนาฐานข้อมูล Big Data ในการใช้ประโยชน์และเชื่อมโยงแลกเปล่ียน
กับหน่วยงานต่างๆ เพื่อการบริหารและช่วยให้เกษตรกรมีข้อมูลที่ดีและเพียงพอต่อการตัดสินใจท่ีถูกต้องและ
เหมาะสม เพอื่ การผลติ และการจาหน่ายผ่านแพลตฟอรม์ ออนไลน์

15) การประกนั รายไดข้ องเกษตรกรผ้ปู ลกู ขา้ ว ยางพารา มนั สาปะหลงั ปาลม์ นา้ มนั
และขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์

2. แนวทำงกำรขับเคลื่อนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มอบแนวทางการขับเคลื่อน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้กับผู้บริหารและบุคลากรของส่วนราชการ/หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ทงั้ ในสว่ นกลางและส่วนภมู ิภาค โดยสรุปเปน็ แนวทางดาเนินงานหลกั ใน 3 ดา้ น ดงั นี้

- 19 -

2.1) ภำรกิจเร่งด่วนเพ่ือขับเคลื่อนยุทธศำสตร์และนโยบำยให้บรรลุเป้ำหมำย
ประกอบดว้ ย

1) เร่งรัดงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารขิ องกระทรวง
2) ขยายพ้นื ท่ีเกษตรทฤษฎีใหมส่ รา้ งความเขม้ แขง็ ใหเ้ กษตรกรฐานราก
3) ยกระดับศักยภาพแปลงใหญด่ ้วยเกษตรสมัยใหม่
4) ผลักดันการสรา้ งเกษตรมลู ค่าสูง
5) พัฒนาช่องทางเชอื่ มโยงตลาดสินคา้ เกษตรทง้ั ในและต่างประเทศ
6) ผลักดนั การพัฒนา Big Data อย่างเปน็ รปู ธรรม
7) ยกระดับ ศพก. สู่ศูนยพ์ ัฒนา Smart Farmer ครบวงจร
8) ปรับปรุงกลไกและคณะทางานขับเคล่ือนระดบั พน้ื ที่
9) มอบหมายรองปลัดกระทรวงดูแลการขบั เคลอ่ื นระดบั พน้ื ที่
10) ปรับปรงุ ระบบประชาสมั พันธท์ กุ รปู แบบใหท้ นั สมยั เขา้ ถึงเกษตรกร
2.2) ขบั เคล่อื นกำรแกไ้ ขปัญหำเฉพำะหน้ำให้เกษตรกร ประกอบดว้ ย
1) การแกไ้ ขปญั หาใหเ้ กษตรกรท่ีได้รับผลกระทบจากโควิด-19
2) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการและแกไ้ ขปัญหาภัยพบิ ตั ดิ ้านการเกษตร
3) การรบั เรอ่ื งราวร้องทกุ ขแ์ ละการเยี่ยมเยียนพ่นี ้องเกษตรกร
4) การแกไ้ ขปัญหาหน้ีสินใหเ้ กษตรกร
2.3) วำงรำกฐำนกำรทำงำนของกระทรวงรองรับควำมปกติใหม่ (New Normal)
ประกอบดว้ ย
1) สร้างเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพที่ชัดเจนและพัฒนา Smart Officer ให้
พร้อมรบั การเปลย่ี นแปลง
2) สร้างความตระหนักในวัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมร่วม และสร้างอัตลักษณ์ของ
กระทรวง รวมท้ังยกระดับสวัสดิการเพือ่ คนกระทรวง
3) กาหนดตัวช้ีวัดร่วมเพื่อสร้างพลังการขับเคลื่อนบูรณาการท้ังส่วนกลางและส่วน
ภูมภิ าค
4) ปรับปรุงโครงสร้าง อานาจหน้าท่ีและบทบาทของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
ให้สอดรบั กับเป้าหมายระยะยาวและแนวทางการพฒั นาด้านการเกษตรของประเทศ
5) สร้างเอกภาพในการขับเคลอ่ื นภารกจิ ของกระทรวง
6) สร้างหอบังคับการ (Control Tower) เพ่ือตรวจสอบ ติดตาม การบริหาร
แผนงานและงบประมาณของกระทรวง
7) ทบทวนแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัดให้เป็นแผนหลักด้าน
การเกษตรของกระทรวงในจงั หวัด เพื่อบูรณาการงบประมาณและสร้างแนวรว่ มการพฒั นา
8) ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงและผู้ตรวจราชการกรมเป็นผู้นาการเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการปฏิบัติราชการในพ้ืนท่ี
9) ผลกั ดนั การศึกษาวจิ ัย เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการเกษตรทุกดา้ น
2.11 ประเดน็ กำรพัฒนำตำมแผนพัฒนำจงั หวดั /กลุ่มจงั หวดั
2.12 แผนปฏิบัติกำรด้ำนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนพัฒนาการสหกรณ์ แผนปฏิบัติการด้าน
เกษตรอินทรีย์ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ภาคการเกษตร แผนปฏิบัติการการพัฒนาเขต
พัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ฯลฯ

ส่วนท่ี 2
ข้อมูลทั่วไปและขอ้ มูลด้านการเกษตรทส่ี าคัญของจังหวดั

1. ข้อมูลทวั่ ไปของจังหวดั
1.1 ข้อมลู ด้านกายภาพของจงั หวัด
1.1.1 ลักษณะทางภมู ิศาสตร์
1) ท่ตี ง้ั ขนาดพนื้ ที่
จังหวัดพจิ ิตร ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนลา่ งของประเทศไทย ระหวา่ งเสน้ แวงที่ 99 องศา

45 ลิปดาตะวนั ออกและระหว่างเสน้ ร้งุ ท่ี 15 องศา 50 ลปิ ดากบั 16 องศาลปิ ดาเหนือ มีพื้นท่ี 4,531.013
ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2,831,333 ไร่ มีแมน่ า้ สายส้าคัญไหลผ่าน 3 สาย ได้แก่ แม่น้าน่าน แมน่ ้ายม
และแมน่ า้ พจิ ิตร อยูห่ า่ งจากกรุงเทพฯ ข้ึนมาทางเหนือระยะทางประมาณ 347 กิโลเมตร

2) อาณาเขต
มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวดั ใกล้เคยี ง ดังน้ี
ด้านทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก
ดา้ นทิศตะวันออกตดิ ต่อกับ จังหวดั เพชรบรู ณ์ และจงั หวัดพิษณุโลก
ด้านทิศใต้ติดตอ่ กับ จงั หวัดนครสวรรค์
ด้านทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั จงั หวัดกาแพงเพชร และจงั หวัดนครสวรรค์

3) สภาพพ้ืนท่ี
ลกั ษณะพ้ืนท่ีของจังหวัดพิจิตร เป็นพน้ื ทีร่ าบลุ่มแอ่งกระทะทิศตะวันออกเป็นที่ลาดเชิงเขา

ทิศตะวันตกเปน็ พื้นทีล่ ุ่มต้่ากว่าจงั หวดั ก้าแพงเพชรประมาณ 20 เมตร มแี ม่น้า 3 สาย ท่ไี หลจากทศิ เหนือลงสู่
ทิศใต้ คือ แม่น้ายม แม่น้าน่าน และแม่น้าพิจิตร สภาพพื้นท่ีเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า ดินดีมีความอุดมสมบูรณ์
ปานกลางถึงสูง เน่ืองจากตะกอนท่ีน้าพัดมาทับถมเหมาะแก่การท้านา และปลูกพืชหมุนเวียน พ้ืนท่ีส่วนใหญ่
ถูกบุกเบิกเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จึงมีพ้ืนที่ป่าเหลือน้อยมากจนแทบไม่มีความส้าคัญทางเศรษฐกิจ
และจากการที่ตอนกลางของจังหวัดพิจิตรมีแม่น้าไหลผ่านถึง 3 สาย ได้แก่ แม่น้าน่าน แม่น้ายม และแม่น้า
พิจติ ร ซงึ่ สามารถแบ่งพนื้ ที่ตามสภาพภมู ิประเทศ ออกเป็น 3 พื้นที่ ดังน้ี

3.1) พ้ืนท่ีทางทิศตะวันออกของแม่น้าน่านเป็นที่ราบแบบลูกฟูก มีความลาดเทจากทิศ
ตะวนั ออกไปทางทิศตะวันตก โดยบริเวณทตี่ ดิ แม่น้าน่านจะมีพ้ืนที่ค่อนข้างตา้่ สว่ นพนื้ ท่ีท่ีอย่หู ่างจากแมน่ ้าน่าน
ออกไปทางทิศทางตะวันออกจะมีลักษณะค่อนข้างสูง มีล้าคลองธรรมชาติท่ีเกิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ์
หลายสาย ซ่ึงจะไหลผ่านพ้ืนท่ีน้ีและไหลลงสู่แม่น้าน่านในที่สุด พื้นที่ดังกล่าวน้ีได้แก่บางส่วนของอ้าเภอเมือง
พิจิตร อ้าเภอสากเหล็ก อ้าเภอวังทรายพูน อ้าเภอทับคล้อ อ้าเภอตะพานหิน อ้าเภอบางมูลนาก และอ้าเภอ
ดงเจริญ มีพ้ืนท่ีการเกษตรประมาณ 1,092,801 ไร่

3.2) พื้นท่ีราบลุ่มระหว่างแม่น้าน่านและแม่น้ายม พื้นที่นี้มีลักษณะเป็นลูกฟูกโดยมี
ลกั ษณะพื้นที่ลาดเทจากทิศเหนือ ในเขตอ้าเภอเมืองพิจิตร และอ้าเภอสามง่าม แล้วค่อยๆ ลาดตา้่ ลงไปทางทิศ
ใต้ในเขต อ้าเภอโพธิ์ประทับช้าง อ้าเภอตะพานหิน อ้าเภอโพทะเล และอ้าเภอบางมูลนาก อีกท้ังยังมีแม่น้า
พิจิตร (แม่น้าน่านเดิม) ไหลผ่านระหว่างแม่น้าท้ังสอง บริเวณนี้มีพ้ืนที่โครงการชลประทานขนาดใหญ่ ได้แก่
โครงการส่งน้าฯ พลายชุมพล โครงการส่งน้าฯ ดงเศรษฐี และโครงการส่งน้าฯ ท่าบัว รวมพ้ืนที่ชลประทาน
ประมาณ 371,973 ไร่

- 21 -

3.3) พ้ืนที่ทางทิศตะวันตกของแม่น้ายม พ้ืนที่ส่วนน้ีมีลักษณะลาดเทจากทิศตะวันตก
ไปทางทิศ ตะวนั ออก ซ่ึงพ้ืนทที่ ี่ติดแม่น้ายมจะเป็นพื้นทล่ี ุ่มต้่าน้าท่วมถึงในฤดนู ้าหลากน้าจากแม่น้ายมจะเอ่อล้น
ตลิ่งท่วมพื้นท่ีลุ่มต้่าอยู่เสมอ พื้นท่ีส่วนน้ีประกอบด้วยพื้นท่ีเขตอ้าเภอวชิรบารมี อ้าเภอสามง่าม อ้าเภอ
โพธ์ปิ ระทับชา้ ง อ้าเภอบงึ นาราง และอา้ เภอโพทะเล มพี ืน้ ทีก่ ารเกษตรประมาณ 883,039 ไร่
(ท่มี า : สถานีพัฒนาที่ดนิ จงั หวัดพจิ ติ ร)

4) ลกั ษณะดิน
4.1) ดินในพ้ืนทลี่ ุ่ม จ้านวน 12 ชดุ ดิน แบง่ ตามลกั ษณะดนิ ได้ 4 กล่มุ ดงั นี้
1) กล่มุ ดนิ เหนยี วลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้านา้ ทม่ี ีอายยุ ังน้อย ปฏิกริ ยิ าดินเป็นกลาง

ถึงเป็นด่าง การระบายน้าค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ได้แก่ ชุดดินบางมูลนาก ชุดดินบางระก้า
ชุดดินชุมแสง

2) กลุ่มดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้า ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง
การระบายน้าค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ได้แก่ ชุดดินเฉลียงลับ ชุดดินน่าน ชุดดินโพทะเล
ชดุ ดินพษิ ณโุ ลก ชุดดนิ สโุ ขทัย และชุดดินอุตรดติ ถ์

3) กลุ่มดนิ ร่วนละเอียดลึกมากทเ่ี กดิ จากตะกอนล้าน้า ปฏิกิรยิ าดนิ กลางหรือเป็นด่าง
การระบายน้าเลวถึงคอ่ นขา้ งเลว ความอดุ มสมบรู ณ์ต่า้ ถึงปานกลาง ได้แก่ ชุดดนิ โคกสา้ โรง

4) กลุ่มดินท่ีมีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ พบในสภาพพ้ืนที่ค่อนข้างดอน ได้แก่
ชุดดนิ บา้ นกลาง และชุดดนิ พจิ ิตร

4.2) ดินในพน้ื ท่ดี อนจ้านวน 12 ชุดดิน แบ่งตามลักษณะดินได้ 9 กลมุ่ ดังน้ี
1) กลุ่มดินเหนียวลกึ มากสีด้าที่มีรอยแตกระแหงกว้างและลึก ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง

ถึงเป็นดา่ ง การระบายนา้ ดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบรู ณป์ านกลางถงึ สูง ไดแ้ ก่ ชดุ ดนิ ชัยบาดาน
2) กล่มุ ดนิ ทรายแป้งละเอียดหรือดินร่วนละเอียดลึกมากท่เี กิดจากตะกอนแม่น้าหรือ

ตะกอนน้าพารูปพัด ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง การระบายน้าดีถึงดีปานกลาง ความอุดม
สมบูรณป์ านกลาง ได้แก่ ชุดดนิ กา้ แพงเพชร ชดุ ดนิ นา้ ดุก และชุดดนิ ตะพานหิน

3) กลุ่มดินร่วนละเอียดลึกถึงลึกมากที่เกิดจากตะกอนล้าน้าหรือวัตถุต้นก้าเนิดดิน
เนอื้ หยาบ ปฏกิ ริ ยิ าดินเปน็ กรดจดั มาก การระบายน้าดีถงึ ดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ตา้่ ได้แก่ ชดุ ดนิ ดอนไร่

4) กลุ่มดินร่วนหยาบลึกมากท่ีเกิดจากตะกอนริมแม่น้า มีปฏิกิริยาดินเป็นกรด
เล็กน้อยถงึ เป็นกลางการระบายน้าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณป์ านกลาง ได้แก่ ชดุ ดนิ ไทรงาม

5) กลุ่มดินตื้นถึงก้อนกรวด หรือเศษหินปนลูกรังหนามาก ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
จัดมาก การระบายน้าดี ความอุดมสมบรู ณ์ต้า่ ไดแ้ ก่ ชดุ ดนิ ชนแดน

6) กลุม่ ดินต้ืนถึงกอ้ นหนิ หรอื เศษหิน และอาจพบช้ันหนิ พ้ืนภายในความลกึ 150 ซม.
จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง การระบายน้าดี ความอุดมสมบูรณ์ต้่า ได้แก่ ชุดดินแก่งคอย และ
ชุดดนิ ไพศาลี

7) กลุ่มดนิ ลกึ ปานกลางถึงชั้นมารล์ หรือก้อนปูน ปฏกิ ริ ยิ าดินเปน็ ด่าง การระบายน้าดี
ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ได้แก่ ชุดดนิ สมอทอด

8) ดินร่วนท่ีเกิดจากดินตะกอนน้าพาเชิงซ้อน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง
การระบายน้าดถี งึ ดปี านกลาง ความอดุ มสมบูรณต์ า้่ ไดแ้ ก่ ดินตะกอนนา้ พาเชิงซ้อน

9) พ้นื ท่ีลาดชันเชงิ ซอ้ นทีม่ คี วามลาดชนั มากกว่า 35 เปอรเ์ ซน็ ต์ พ้ืนทีบ่ รเิ วณนีย้ ังไม่
มกี ารศึกษา สา้ รวจและจา้ แนกดิน เน่ืองจากสภาพพื้นท่ีมีความลาดชันสงู ซึ่งถอื วา่ ยากต่อการจัดการดแู ลรักษา
ส้าหรับการเกษตร เปน็ พืน้ ท่ลี าดชนั้ เชงิ ซ้อน

- 22 -

1.1.2 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

1) ฤดูกาล

ฤดูกาลของจังหวัดพิจิตร พิจารณาตามลักษณะลมฟ้าอากาศของประเทศไทยแบ่งออกได้

เป็น 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูรอ้ น เร่ิมต้ังแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน มีอากาศร้อนอบอ้าวทว่ั ไป โดยเฉพาะในเดือน

เมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวมากท่ีสุดในรอบปี ฤดูฝน เริ่มต้ังแต่พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ซึ่งเป็น

ระยะท่ีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย อากาศจะเริ่มชุ่มช้ืนและมีฝนตกชุกต้ังแต่ประมาณ

กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป เดือนทมี่ ฝี นตกมากทีส่ ุดคือเดือนสงิ หาคม ฤดูหนาวเริม่ ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน

ถึงเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ซึ่งเป็นชว่ งท่มี รสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื พดั ปกคลมุ ประเทศไทย อากาศโดยทั่วไปจะหนาวเย็น

และแห้ง เดอื นทม่ี ีอากาศหนาวทสี่ ดุ คือ เดือนธนั วาคมและมกราคม

2) ปรมิ าณน้าฝน (ข้อมูล 10 ปี)

ตารางที่ 1 ปรมิ าณน้าฝนจงั หวัดพจิ ติ ร 2554 - 2564

ปี ปรมิ าณนาฝน (มม.)

2554 2,011.00

2555 1,077.50

2556 1,225.50

2557 766.60

2558 909.30

2559 1,170.00

2560 1,542.70

2561 1,054.40

2562 837.60

2563 692.70

2564 1,025.1

ทม่ี า: กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยาพิจติ ร

3) อณุ หภูมแิ ละความช้ืนสัมพัทธ์ (ขอ้ มูล 10 ปี)

ตารางที่ 2 อุณหภูมิและความชน้ื สัมพัทธ์สงู สดุ - ต่้าสุด 2555 - 2564

ปี อุณหภมู ิ (˚C) ความชนื สัมพทั ธ์(%)

สงู สดุ ต่าสดุ เฉลีย่ ทังปี สูงสุด ต่าสดุ เฉลี่ยทังปี

2555 36.1 22.5 29.3 93 56 74

2556 35.7 19.8 27.8 94 53 73

2557 36.1 23.3 28.5 92 53 73

2558 34.5 23.8 29.2 91 50 71

2559 34.5 24.0 29.2 90 51 71

2560 33.4 24.1 28.8 92 56 74

2561 33.2 23.9 28.6 92 56 74

2562 34.7 24.2 29.5 91 51 71

2563 34.8 24.1 29.5 90 50 70

2564 34.3 23.1 28.7 92 48 70

ที่มา: กรมอุตนุ ยิ มวิทยาพจิ ติ ร

- 23 -

1.1.3 แหล่งนาธรรมชาติ
แม่นาน่าน ไหลจากจังหวัดพิษณุโลก ผ่านจังหวัดพิจิตร ท่ีอ้าเภอเมืองพิจิตร ตะพานหิน

บางมูลนาก ไปจังหวัดนครสวรรค์ มีคลองใหญ่รับน้าไหลลงสู่แม่น้าน่าน 7 คลอง แม่น้าน่านช่วงที่ไหลผ่าน
จังหวัดพิจิตร มีความยาวประมาณ 97 กิโลเมตร ปริมาณน้าไหลสูงสุด 1,040 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พ้ืนที่
ในลุ่มน้า ประมาณ 2,602 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,626,250 ไร่

แม่นายม ไหลจากจังหวัดพิษณุโลกผ่านจังหวัดพิจิตรท่ีอ้าเภอสามง่าม โพธิ์ประทับช้าง
โพทะเล ไปจังหวัดนครสวรรค์ มีคลองใหญ่รับน้าไหลลงสู่แม่น้ายม 7 คลอง แม่น้ายมช่วงที่ไหลผ่านจังหวัด
พจิ ติ ร มีความยาวประมาณ 124 กิโลเมตร มีปรมิ าณน้าไหลสูงสุด 900 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วนิ าที พื้นท่ีในล่มุ น้า
ประมาณ 2,046 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 1,276,750 ไร่

แม่นาพิจิตร เดิมเป็นแม่น้าน่าน เม่ือมีการขุดลอกคลองแยกสายท้าให้ต้ืนเขิน โดยอยู่ก่ึงกลาง
ระหวา่ งแม่นา้ นา่ นกับแม่น้ายม มคี วามยาว 127 กโิ ลเมตร ไหลผา่ นอา้ เภอเมืองพิจิตร โพธปิ์ ระทบั ช้าง ตะพานหิน
แล้วไปบรรจบกับแม่น้ายมที่บ้านบางคลาน อ้าเภอโพทะเล แม่น้าสายนี้ตื้นเขินมากและมีฝายก้ันน้า เป็นช่วงๆ
เพอ่ื ใช้ในสวนผลไม้

1.1.4 ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคญั เช่น ปา่ สงวนแห่งชาติ อทุ ยานแหง่ ชาติ
1) ปา่ สงวนแห่งชาติ
มีพื้นที่ป่าไม้ 7,849 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 0.27 ของพื้นท่ีจังหวัด และมีพ้ืนท่ีป่าสงวน

แห่งชาติ จา้ นวน 3 แหง่ มพี ้ืนทีร่ วม 3,910 ไร่ ประกอบดว้ ย
- ปา่ สงวนแหง่ ชาตปิ ่าหนองดง ตา้ บลทา่ เสา อา้ เภอโพทะเล มพี ้นื ที่ประมาณ 885 ไร่
- ป่าสงวนแห่งชาติเขาเจ็ดลูก-เขาตะพานนาค-เขาชะอม ต้าบลเขาเจ็ดลูก อ้าเภอทับคล้อ

มพี ืน้ ท่ปี ระมาณ 1,150 ไร่
- ปา่ สงวนแห่งชาตปิ า่ เขาทราย-เขาพระ ต้าบลเขาทราย อ้าเภอทบั คลอ้ มพี นื้ ทีป่ ระมาณ

1,875 ไร่
ตารางที่ 3 ป่าสงวนแห่งชาติ ในพน้ื ทีจ่ งั หวัดพจิ ิตร

ลาดับ ชื่อปา่ สงวนแหง่ ชาติ ท่ีตัง จานวนเนือ ตาราง
ที่ (ไร่) กิโลเมตร

1 ปา่ หนองดง ต.ทา่ เสา อ.โพทะเล 885 1.42

2 ปา่ เขาเจ็ดลกู /ปา่ เขาตะพานนาก/ปา่ เขาชะอม ต.เขาเจ็ดลูก อ.ทับคล้อ 1,150 1.84

3 ป่าเขาทราย/ปา่ เขาพระ ต.เขาทราย อ.ทบั คล้อ 1,875 3.00

รวม 3,910 6.26

ท่ีมา : สา้ นักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจงั หวัดพจิ ิตร

2) ป่าไม้ถาวร
พ้ืนท่ปี ่าไมถ้ าวร จา้ นวน 3 แห่ง มพี ้นื ทีร่ วม 2,194 ไร่ ประกอบด้วย
- ป่าท่ีจัดสรรต้าบลหนองปลาไหล ต้าบลหัวดง ต้าบลเขาทราย ต้าบลเขาพระ มีพ้ืนที่

ประมาณ 913 ไร่
- ปา่ ท่ีจัดสรรต้าบลวังงิว้ ตา้ บลวังงิว้ อ้าเภอดงเจริญ มีพนื้ ท่ีประมาณ 125 ไร่
- ป่าเขาสงู -เขารวก-เขา้ ช้างฟุบ ต้าบลวังงิว้ อา้ เภอดงเจริญ มีพ้ืนท่ปี ระมาณ 1,156 ไร่

- 24 -

ตารางที่ 4 ปา่ ไมถ้ าวร ในพื้นทีจ่ งั หวัดพจิ ติ ร

ลาดบั ชอื่ ปา่ ไมถ้ าวร ทีต่ ัง จานวนเนือท่ี
(ไร่)
1 ปา่ ท่จี ดั สรรต้าบลหนองปลาไหล ตา้ บลหัวดง ต.เขาพระ อ.วังทรายพนู 913

ต้าบลเขาทราย ตา้ บลเขาพระ ต.เขาพระ อ.ทับคล้อ 125
1,156
2 ปา่ ทจ่ี ัดสรรตา้ บลวังงวิ้ ต.วังง้ิว อ.ดงเจริญ 2,194

3 ป่าเขาสงู -เขารวก-เขาช้างฟบุ ต.วงั งิ้ว อ.ดงเจริญ

รวม

ที่มา : สา้ นกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมจงั หวัดพจิ ิตร

3) วนอทุ ยาน
- วนอุทยานนครไชยบวร ตงั้ อย่ใู นท้องทีต่ า้ บลทา่ เสา อ้าเภอโพทะเล มเี นื้อทีป่ ระมาณ

740 ไร่ โดยต้ังอย่ใู นพื้นที่ป่าสงวนแหง่ ชาติปา่ หนองดง
4) สวนรกุ ขชาติ
- สวนรุกขชาตกิ าญจนกุมาร ตัง้ อยทู่ อ้ งท่ตี า้ บลโรงชา้ ง อ้าเภอเมอื งพจิ ติ ร เนอ้ื ที่ประมาณ

328.750 ไร่ ต้ังอยู่ในพื้นท่ีของกรมอุทยานฯ โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแลพื้นที่ประมาณ 50 ไร่ ที่ใช้เป็นที่ต้ัง
ศาลหลกั เมอื ง แนวก้าแพง และโบสถเ์ ก่า (ยงั มไิ ด้ยืน่ ขออนุญาตใช้พื้นท)ี่
ตารางที่ 5 วนอุทยาน/สวนรกุ ขชาติ

ทต่ี งั ขนาดพนื ท่ี

ลาดบั ชื่อ ตาราง
กิโลเมตร
อาเภอ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ไร่

1 สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร เมือง องค์การบริหารส่วนต้าบล 0.526 328.750
เมอื งเกา่

2 วนอทุ ยานนครไชยบวร โพทะเล เทศบาลตา้ บลท่าเสา 0.035 21.875

องค์การบรหิ ารส่วนตา้ บล 1.184 740.000
ท่าเสา

รวม 1.745 1,090.625

ท่ีมา : สา้ นักบริหารพนื้ ท่ีอนรุ ักษท์ ี่ 12 จงั หวดั นครสวรรค์ ขอ้ มูล ณ ปี พ.ศ. 2564

1.2 ขอ้ มลู ดา้ นการปกครองของจังหวัด
1.2.1 การแบ่งเขตการปกครอง
จังหวัดพิจิตร แบ่งหน่วยการปกครองออกเป็นอ้าเภอ 12 อ้าเภอ 86 ต้าบล 889 หมู่บ้าน

หนว่ ยงานราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารสว่ นจังหวดั จา้ นวน 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง จา้ นวน 3 แห่ง
เทศบาลต้าบล จ้านวน 25 แหง่ องค์การบริหารสว่ นต้าบล จ้านวน 73 แหง่ และชุมชนุ จา้ นวน 47 แห่ง

- 25 -

ตารางที่ 6 การแบ่งเขตการปกครองของจงั หวดั พิจิตร

ที่ว่าการ จานวน

พนื ท่ี อาเภอหา่ ง
(ตร.กม.)
อาเภอ ร้อยละ จากศาลา หมู่บ้าน ตาบล อบต. เทศบาล เทศบาล ชุมชน
กลางจังหวัด เมอื ง ตาบล

(กม.)

เมืองพิจิตร 738.939 16.31 1 135 15 14 1 4 25

วังทรายพูน 259.501 5.73 31 57 4 3 - 2 -

โพธปิ์ ระทบั 378.561 8.35 25 98 7 5 - 2-
ชา้ ง

ตะพานหิน 468.93 10.35 28 91 12 10 1 1 16

บางมลู นาก 377.738 8.34 49 78 9 6 1 4 6

โพทะเล 484.209 10.69 57 97 11 9 - 4-

สามงา่ ม 338.083 7.46 21 80 5 4 - 3 -

ทบั คลอ้ 378.287 8.35 47 56 4 4 - 2 -

สากเหลก็ 176.351 3.89 20 40 5 5 - 1 -

บงึ นาราง 450.61 9.95 54 51 5 5 - - -

ดงเจริญ 220.303 4.86 64 55 5 4 - 2 -

วชิรบารมี 259.501 5.73 30 51 4 4 - - -

รวม 4,531.013 100.00 - 889 86 73 3 25 47

ท่ีมา : ท่ีทา้ การปกครองจงั หวดั พิจติ ร กลมุ่ งามปกครอง ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2565

1.2.2 ข้อมลู ประชากร

ตารางที่ 7 จา้ นวนประชากรของจงั หวัด

อาเภอ ชาย หญงิ รวมประชากร จานวนครัวเรือน
(คน) (คน) (คน)

เมืองพจิ ิตร 51,840 55,843 107,683 44,259
วงั ทรายพนู 11,882 12,213 24,095 8,366
โพธปิ์ ระทับชา้ ง 21,227 22,093 43,320 15,201
ตะพานหนิ 31,442 33,614 65,056 24,708
บางมลู นาก 21,312 22,830 44,142 18,730
โพทะเล 28,508 29,772 58,280 20,505
สามง่าม 20,474 21,144 41,618 15,049
ทบั คล้อ 20,662 21,538 42,200 16,459
สากเหล็ก 11,394 11,787 23,181 8,574
บงึ นาราง 14,129 14,709 28,838 10,896

- 26 -

อาเภอ ชาย หญงิ รวมประชากร จานวนครัวเรือน
(คน) (คน) (คน)

ดงเจรญิ 9,579 9,856 19,435 7,262

วชริ บารมี 15,293 15,655 30,948 11,080

รวม 257,742 271,054 528,796 201,089

ทม่ี า : ทีท่ า้ การปกครองจงั หวัดพจิ ิตร กลุ่มงามปกครอง ขอ้ มลู ณ วันท่ี 27 พฤษภาคม 2565

1.3 ข้อมลู ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม

1.3.1 ดา้ นสงั คม
- ดา้ นการศึกษาจากข้อมูลสา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ประจ้าปี พ.ศ.2564 ข้อมูลด้านการศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 และ
เขต 2 มีดงั นี้

ตารางท่ี 8 เขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพจิ ติ ร

หนว่ ยงาน จานวน ครู/ นักเรียน หอ้ งเรยี น
โรงเรยี น บคุ ลากร

สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 1 132 949 16,480 1,265

สนง.เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพจิ ิตร เขต 2 120 1,104 16,027 1,160

รวม 252 2,053 32,507 2,425

ท่ีมา : เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาจงั หวดั พจิ ิตร ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 พฤศจิกายน 2564

1.3.2 ดา้ นวัฒนธรรม
- ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 99.80 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาร้อยละ 0.17

นบั ถือศาสนาครสิ ต์ รอ้ ยละ 0.02 นบั ถอื ศาสนาอิสลาม และ ร้อยละ 0.01 นบั ถือศาสนาอน่ื ๆ
- ประเพณแี ขง่ เรือ
จังหวัดพิจิตรมีการแข่งเรือประเพณีมาเป็นเวลานานแล้วเพราะมีธรรมเนียมว่าวัดใด

ถ้าจัดงานปิดทองไหว้พระแล้วก็จะต้องจัดงานแข่งเรือควบคู่กันไปด้วย มักจัดกันในฤดูน้าหลาก ประมาณ
วันเสาร์ - อาทิตย์ตน้ เดอื นกันยายนของทุกปี ในงานจะมกี ารแข่งเรือประเพณีและการประกวดขบวนแหเ่ รือต่างๆ
ในแมน่ า้ น่าน หนา้ วดั ทา่ หลวงมกี ารจดั กจิ กรรมภายในงานทน่ี า่ สนในมากมาย การแข่งเรือยาวของหวัดท่าหลวง
เรมิ่ ในสมยั ท่าเจา้ คณุ พระธรรมทัสสม์ นุ ีวงค์ (เอีย่ ม) เจ้าอาวาสวดั ท่าหลวง และเจา้ คณะจงั หวัดพจิ ติ ร เมอ่ื
ประมาณ พ.ศ. 2450 ไดก้ ้าหนดงานจดั งานแข่งขันเรือตามกา้ หนดวนั คือ วนั ข้ึน 6 ค้า่ เดือน 11 ของทุก
ปี ภายหลังน้าในแม่น้านา่ นลดลงเรว็ เกินไป ไม่เหมาะสมจะแข่งขันเรือยาว จึงเปล่ียนมาเป็นวันข้ึน 6 ค้่า เดือน
10 และทางวัดแข่งขันเพียงวันเดียว การแข่งขันเรือยาวได้จัดน้าผ้าห่มหลวงพ่อเพชรมอบให้เป็นรางวัลส้าหรับ
เรอื ยาวท่ชี นะเลศิ และรองชนะเลิศ ต่อมาได้เปลี่ยนรางวัลเปน็ ธงที่มีรูปหลวงพ่อเพชรแทน

- ประเพณกี า้ ฟา้
เป็นประเพณีส้าคัญของชาวบ้านป่าแดง ต้าบลหนองพยอม อ้าเภอตะพานหิน ซึ่งเป็นชาว
ไทยพวน ซึ่งถือปฏิบัติต่อกันมา เป็นเวลาช้านาน จัดตรงกับวันข้ึน 2 ค้่าและ 3 ค้่า เดือน 3 (ประมาณเดือน
กุมภาพันธ์) เพื่อแสดงความเคารพบูชาเทวดาและพระมหากษัตริย์ เม่ือถึงวันก้าฟ้าชาวไทยพรวนจะกลับมายัง
บ้านของตน เพ่อื รว่ มท้าบุญกบั ญาติพน่ี ้อง พบปะสังสรรคแ์ ละเล่นกีฬาพน้ื บา้ น

- 27 -

1.4 ขอ้ มูลโครงสร้างพืนฐานและสาธารณูปโภค
1.4.1 การคมนาคมขนส่ง โครงสรา้ งพนื ฐาน
1) ระบบขนส่งทางถนน
(1) เส้นทางที่ 1 จากกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 1 แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32

ท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถึงจังหวัดนครสวรรค์ แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 1118 เส้นทางจังหวัด
นครสวรรค์ - อ้าเภอชุมแสง - อ้าเภอบางมูลนาก - อ้าเภอตะพานหิน - จังหวัดพิจิตร รวมระยะทางประมาณ
345 กโิ ลเมตร

(2) เส้นทางท่ี 2 จากกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 1 แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32
ท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถึงอ้าเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี แยกเข้าสู่เส้นทางหลวงหมายเลข 11 เส้นทาง
อา้ เภอตากฟา้ - เขาทราย อ้าเภอทับคล้อ - อ้าเภอสากเหล็ก - แยกเขา้ สู่จงั หวัดพิจิตร ตามทางหลวงหมายเลข
111 รวมระยะทางประมาณ 344 กโิ ลเมตร

(3) เส้นทางท่ี 3 จากกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 1 แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32
ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถึงอ้าเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี แยกเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 11 เส้นทาง
อ้าเภอตากฟ้า - เขาทราย อ้าเภอทับคล้อ - แยกเข้าอ้าเภอตะพานหินตามทางหลวงหมายเลข 113 เข้าสู่
จงั หวัดพจิ ิตร ตามทางหลวงหมายเลข 113 รวมระยะทางประมาณ 338 กิโลเมตร

(4) เส้นทางท่ี 4 จากกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 1 แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32
ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถึงจังหวัดนครสวรรค์ แยกเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 117 เส้นทางจังหวัด
นครสวรรค์ - พิษณุโลก ถึงอ้าเภอวชิรบารมี - แยกเข้าอ้าเภอสามง่ามตามทางหลวงหมายเลข 115 เข้าสู่
จงั หวัดพิจติ ร รวมระยะทางประมาณ 360 กโิ ลเมตร

2) ระบบขนส่งทางราง
จังหวัดพิจิตรมีทางรถไฟสายกรุงเทพ - เชียงใหม่ ตัดผ่านเชื่อมโยงกับจังหวัดต้ังแต่ต้นทาง

ถึงปลายทาง ในส่วนของจังหวัดพิจิตร ผ่านอ้าเภอบางมูลนาก อ้าเภอตะพานหิน และอ้าเภอเมืองพิจิตร ซึ่งจะ
ท้าให้เพิ่มขีดความสามารถในการขนส่งระหว่างจังหวัดและเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านในอนาคต อีกท้ังยัง
อา้ นวยความสะดวกในด้านการคมนาคมของประชาชน

1.4.2 ไฟฟา้ (ที่มา : การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาคจงั หวดั พจิ ติ ร)
กระแสไฟฟ้าจา้ หน่ายจังหวดั พจิ ติ รรับซ้ือมาจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ณ แหล่งผลิต

เขื่อนสิริกิตต์ จังหวัดอุตรดิตถ์ และเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก โดยมีการจัดการภายใต้ความรับผิดชอบของ
การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคแบง่ ออกเป็น 2 เขต ตามเขตการปกครอง ดง้ั นี้

- เขตการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดพิจิตร (การไฟฟ้าระดับ 2) รับผิดชอบในเขตพ้ืนที่อ้าเภอเมือง
จังหวดั พจิ ิตร อา้ เภอสามงา่ ม อา้ เภอวังทรายพูน อา้ เภอโพธปิ์ ระทบั ชา้ ง อ้าเภอสากเหลก็ และอ้าเภอวชิรบารมี

- เขตการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอ้าเภอตะพานหิน (การไฟฟ้าระดับ 2) รับผิดชอบในเขตพ้ืนท่ี
อ้าเภอตะพานหิน อ้าเภอบางมูลนาก อ้าเภอโพทะเล อ้าเภอทับคล้อ อ้าเภอดงเจริญ อ้าเภอบึงนาราง มีก้าลัง
การผลติ ทงั้ ส้นิ 220 MW

1.4.3 ข้อมูลดา่ นการกักกันของจังหวดั (โปรดท้าเครอ่ื งหมาย )
มดี า่ น  ศลุ กากร ที่ตั้ง..... ประเภท..........(ดา่ นชายแดน ท่าเรือ ท่าอากาศยาน คนเดนิ เทา้ อน่ื ๆ)

 ตรวจพชื ทตี่ ั้ง..... มีห้องปฏบิ ัตกิ ารตรวจเบ้ืองต้น  ไมม่ ี  มี ทตี่ ั้งสถานกกั กนั พืช  ไมม่ ี  มี
 ตรวจประมงทต่ี ้งั ..... มีหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารตรวจเบอ้ื งตน้  ไมม่ ี  มี ทตี่ ง้ั สถานกักกันสตั วน์ า้  ไมม่ ี  มี
 ปศุสัตว์ ท่ีต้ัง ด่านกกั กนั สตั ว์พจิ ิตร เลขท่ี 89 ถนนร่วมจติ บันดาล ต้าบลบางมูลนาก อา้ เภอบางมลู นาก

จงั หวัดพิจิตร

- 28 -

จดุ ตรวจสตั ว์ : จดุ ตรวจสัตวว์ ังงว้ิ เลขท่ี 191 หมู่ 2 ต้าบลวังงิ้วใต้ อ้าเภอดงเจริญ จังหวดั พิจิตร
มีหอ้ งปฏิบตั กิ ารตรวจเบื้องตน้  ไมม่ ี  มี
ทต่ี ้งั ดา่ นกกั กนั สัตว์  ไม่มี  มี

1.4.4 ขอ้ มลู โครงสร้างพนื ฐานและสาธารณปู โภคอน่ื ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
(1) การประปา จังหวัดพิจิตร มีประปาโดยการด้าเนินงานของการประปาส่วนภูมิภาคจ้านวน

3 แหง่ คือ ส้านกั งานประปาพิจิตร ส้านักงานประปาตะพานหนิ และส้านกั งานประปาบางมลู นาก

1.5 ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ ของจังหวดั
1.5.1 สภาพเศรษฐกิจโดยทวั่ ไป (ทม่ี า : ส้านักงานคลังจังหวดั )
สภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปของจังหวัดพิจิตร พืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร

จังหวัดพิจิตร พืชไร่ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันส้าปะหลัง อ้อยโรงงาน รองลงมาได้แก่ไม้ผล คือ มะม่วง
ส้มโอ มะยงชิด ไม้ยืนตน้ ไดแ้ ก่ ยางพารา

1.5.2 ผลิตภณั ฑม์ วลรวมของจังหวัด (GPP) 16 สาขา (ที่มา : ส้านกั งานคลงั จังหวัด)
ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) ณ ราคาประจ้าปี 2563 มีค่า

เท่ากับ 42,643 ล้านบาท ลดลงจากปี 2562 ที่ 50,440 ล้านบาท เท่ากับ 7,797 ล้านบาท หรือลดลง
รอ้ ยละ -15.5 โดยผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดต่อหวั (GPP per capita) ปี 2563 เท่ากบั 83,450 บาท ลดลง
จากปี 2562 ที่ 98,011 บาท เท่ากบั 14,561 บาท หรือลดลงร้อยละ -14.9

1.6 ขอ้ มลู ดา้ นอน่ื ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง
1.6.1 การทอ่ งเทีย่ ว
- ทอ่ งเที่ยวเชงิ ประวตั ศิ าสตร์
วัดมหาธาตุ เป็นโบราณสถานก่อด้วยอิฐ ตั้งอยู่ก่ึงกลางเมืองพิจิตรเก่า ทางฝ่ังตะวันออกของ

แม่น้าน่านเก่า กรมศิลปากรได้ประกาศข้ึนทะเบียนโบราณสถานของวัดนี้เมื่อพ.ศ.2478 ประกอบไปด้วย
พระธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ทรงลังกา ภายในมีพระเครื่องชนิดต่างๆซ่ึงได้ถูกลักลอบขุดค้นไป ด้านหน้าพระเจดีย์
เป็นที่ตั้งของวิหารเก้าห้อง ด้านหลังพระเจดีย์เป็นพระอุโบสถ มีใบเสมา 2 ชั้น มีรากไทรเกาะอยู่ ท่ีหน้าบัน
หลังคาถูกต้นไม้ล้มทับหกั ลงมาองค์พระก็พลอยโค่นลงมาด้วย บัดน้ีเหลือแต่ฐานอิฐสูง กรมศิลปากรด้าเนินการ
ขดุ แตง่ เมอ่ื พ.ศ. 2534 บริเวณใตเ้ นนิ ดนิ ส่วนวหิ ารไดพ้ บสง่ิ กอ่ สรา้ ง 2 ยคุ สมยั คอื สมยั สโุ ขทยั และสมยั อยธุ ยา
บริเวณโดยรอบพบเจดีย์รายจ้านวนมากและแนวก้าแพงขนาดใหญ่ วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ใน “อุทยานเมืองเก่า
พิจิตร” ซึ่งเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวท้ังทางประวัติศาสตร์โบราณคดีและธรรมชาติที่ส้าคัญแห่งหน่ึงของจงั หวัดพจิ ิตร
ภายในอุทยานมีโบราณสถานและปูชนียสถานหลายแห่ง รวมท้ังสภาพโดยท่ัวไปยังมีความร่มร่ืนและเงียบสงบ
เนื่องจากเป็น “สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร” เหมาะท้ังการท่องเที่ยวเพิ่มพูนความรู้ สักการะส่ิงศักดิ์สิทธิ์
สร้างเสริมประสบการณ์ และพักผ่อนหย่อนใจมีสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับนักท่องเท่ียว เช่น ป้ายบอกทาง
ไปยังสถานท่ีส้าคัญภายในอุทยานและป้ายบรรยายให้ข้อมูลโบราณสถานแต่ละแห่งตัวโบราณสถานและสภาพ
ภูมิทัศน์ได้รับการดูแล อนุรักษ์ และบูรณปฏิสังขรณ์เป็นอย่างดี แม้ว่าจะมีพืชและส่ิงต่างๆรบกวนอยู่บ้าง ท้ังที่
ขึ้นบนตัวโบราณและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ โดยเฉพาะไมย้ ืนตน้ ขนาดใหญ่ทีข่ น้ึ ชิดกบั โบราณสถาน

วัดโพธิ์ประทับช้าง หนึ่งในหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากมายท่ีสะท้อนให้เห็นวา่ “พิจิตร”
คือจังหวัดท่ีเก่าแก่มากจังหวัดหน่งึ ในประเทศไทย นั่นก็คือ วัดโพธิ์ประทับช้าง โบราณสถานของจงั หวัดอันเปน็
ทปี่ ระสูติของพระเจ้าเสือ หรอื สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 จากต้านานทเี่ ลา่ สืบต่อกนั มา วา่ กันวา่ วัดนี้ พระเจ้าเสือ
ทรงโปรดฯ ให้สร้างขึ้นในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2242 - 2244 เพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสถานท่ีท่ีพระองค์
ประสูตินั่นเอง ปัจจุบันวัดแห่งนี้ได้รับการประกาศข้ึนทะเบียนเป็นโบราณสถานและกลายเป็นแหล่งเรียนรู้

- 29 -

ศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายที่มีคุณค่า ท้ังปูชนียวัตถุส้าคัญอย่างอุโบสถ ซ่ึงมีโครงสร้างก่ออิฐถือปูน มีก้าแพง
ล้อมรอบ 2 ช้ัน ตัวอุโบสถมีหน้าต่างถ่ี ซุ้มประตูมีขนาดใหญ่รูปทรงแบบซุ้มประตูวัดราชบูรณะ ส่วนลวดลาย
ซุ้มประตแู ละหนา้ ตา่ งคล้ายกบั ที่วดั กฎุ ีดาว ดา้ นหนา้ อุโบสถมกี ารสร้าง “มขุ เด็จ” ลกั ษณะเป็นเฉลียงยน่ื ออกมา
ไว้ส้าหรับพระมหากษัตริย์ออกพบปะประชาชนยามเสด็จประพาสมายังวัด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นวัดหลวง
น่ันเองเมื่อมาที่น่ี นอกจากจะได้ศึกษาศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายแล้ว เรายังจะได้สักการะพระพุทธรูปส้าคัญ
ท่ีเรียกกันว่า “หลวงพ่อโต” อีกด้วย ซึ่งเป็นพระพุทธรูปปูนป้ันสมัยกรุงศรีอยุธยา มีหน้าตักกว้าง 4 ศอก
กว้าง 5 ศอก อายรุ าว 300 ปีเศษ เปน็ พระประธานประจ้าอุโบสถวัดโพธ์ิประทับช้าง ไม่เพียงเทา่ น้ัน ทหี่ น้าวดั
ยังมตี ้นตะเคียนใหญ่ ขนาดโดยรอบ 7 เมตร 60 เซนติเมตร หรือ 7 คนโอบ!!!! เชอ่ื ว่ามอี ายุมากกวา่ 260 ปี

- ทอ่ งเทย่ี วเชิงศาสนา
หลวงพ่อเพชร วัดท่าหลวงความสงบสมกับเป็นเมืองพระของจังหวัดพิจิตร กลายเป็นเสน่ห์
ที่ท้าให้หลายคนมุ่งหน้ามาท่ีนี่ เพื่อมาชมความงดงามทางประวัติศาสตร์ของวัดวาอารามเก่าแก่ต่างๆ
อย่าง “วัดท่าหลวงแห่งนี้ วัดส้าคัญของจังหวัด ซึ่งเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ อายุนับร้อยปี
อันเป็นที่ประดิษฐานของ “หลวงพ่อเพชร” พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสนที่มีอายุกว่า 800 ปี
เลยทีเดียว จากต้านานที่มีการเล่าสืบต่อกันมาเกี่ยวกับหลวงพ่อเพชร ว่ากันว่า พระพิจิตรผู้เป็นเจ้าเมือง
อยากได้พระประธานมาประดิษฐานท่ีเมืองพิจิตร เม่ือทัพกรุงศรีอยุธยาเดินทางผ่านเมืองเพ่ือไปปราบ
ขบถจอมทองเมืองเชียงใหม่ ท่านจึงได้ขอร้องแม่ทัพให้หาพระพุทธรูปมาฝาก ครั้นพอเสร็จศึก แม่ทัพ
เลยอาราธนาพระพุทธรูปหลวงพ่อเพชรมาให้เจ้าเมืองตามค้าขอ หลังจากวันนั้น หลวงพ่อเพชร ได้กลายเป็น
ศูนย์รวมจติ ใจของชาวพิจติ รมาจนถึงปนั จบุ นั
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน หากเอ่ยถึงเกจิอาจารย์ช่ือดังของจังหวัดพิจิตร เชื่อว่าหลายคน
ตอ้ งนึกถงึ “หลวงพ่อเงินวัดบางคลาน” พระชื่อดังกบั เร่ืองราวปาฏิหารยิ ์จนผู้คนมากมายเล่ือมใสศรัทธาย้อนไป
ในปี พ.ศ. 2377 “วัดวังตะโก” หรือ “วัดบางคลาน” ถูกสร้างข้ึนโดยหลวงพ่อเงิน จากน้ันได้เจริญเติบโตขึ้น
อย่างรวดเร็วด้วยแรงศรัทธาของผู้คนท่ีมีต่อท่านมาจนถึงปัจจุบัน “วัดบางคลาน” แห่งนี้ก็ยังเป็นเป้าหมายของ
ลูกศิษย์ลูกหาที่นับถือหลวงพ่อเงิน และเรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์รวมถึงโบราณวัตถุต่างๆ เนื่องจากทางวัดได้
สะสมไว้โดยสว่ นใหญ่จะเป็นวตั ถทุ ี่มีผูน้ ้ามาถวาย เช่น พระพุทธรูป พระพมิ พ์ เคร่ืองป้นั ดินเผา ฯลฯ นอกจากนี้
ยังมีสิ่งก่อสร้างที่น่าสนใจ คือ พิพิธภัณฑ์นครไชยบวร ซ่ึงเป็นพิพิธภัณฑ์รูปมณฑป 2 ชั้น ชั้นบนประดิษฐาน
รูปหล่อเท่าองค์จริงของหลวงพ่อเงิน ส่วนช้ันล่างเป็นพิพิธภัณฑ์นครไชยบวร พิพิธภัณฑ์แห่งแรกและแห่งเดียว
ของจังหวัดพจิ ติ ร จดั แสดงโบราณวัตถุตา่ งๆ ทท่ี างวดั ไดเ้ ก็บรักษาไว้

2. ขอ้ มลู ด้านการเกษตรทสี่ าคัญของจงั หวัด

2.1 ครวั เรือนเกษตรกรและแรงงานภาคเกษตร

ตารางที่ 9 จ้านวนครัวเรอื นเกษตรกรและจ้านวนแรงงานภาคเกษตรของจังหวดั พิจติ ร

อาเภอ จานวนครวั เรือน จานวนครวั เรอื น รอ้ ยละจานวนครัวเรือน

เกษตรกร เกษตร/ครวั เรอื นทังหมด

เมืองพจิ ิตร 44,259 10,510 23.75

วังทรายพนู 8,366 4,244 50.73

โพธ์ิประทบั ชา้ ง 15,201 5,981 39.35

ตะพานหนิ 24,708 8,509 34.44

บางมลู นาก 18,730 6,847 36.56

- 30 -

อาเภอ จานวนครวั เรอื น จานวนครัวเรอื น รอ้ ยละจานวนครัวเรือน
เกษตรกร เกษตร/ครวั เรือนทังหมด
โพทะเล 20,505
สามงา่ ม 15,049 9,348 45.59
ทบั คล้อ 16,459 7,070 46.98
สากเหลก็ 8,574 5,037 30.60
บงึ นาราง 10,896 2,747 32.04
ดงเจริญ 7,262 4,794 44.00
วชิรบารมี 11,080 3,690 50.81
201,089 5,465 49.32
รวม 74,242 36.92

2.2 การใช้ท่ีดนิ เพือ่ การเกษตร
ตารางที่ 10 การใชท้ ่ดี นิ เพอ่ื การเกษตรแยกตามรายอา้ เภอ จงั หวัดพิจติ ร

พนื ทีท่ าการเกษตร รวมพนื ที่ทาการเกษตร

อาเภอ พืนที่ทังหมด ทีน่ า ไมผ้ ล/ไมย้ ืนตน้ พืชไร่/พืชผกั /ไมด้ อก เกษตรอื่นๆ
เมอื งพิจติ ร (ไร่)
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
461,837 (ไร่) พนื ท่ี (ไร)่ พนื ที่ (ไร)่ พนื ท่ี (ไร)่ พนื ที่ (ไร)่ พืนท่ี
เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร ทังหมด
256,893
243,252 94.69 9,399 3.66 3,991 1.55 251 0.10 55.62

วังทรายพนู 162,188 130,918 93.39 3,220 2.30 2,898 2.07 3,141 2.24 140,177 86.43
236,601 180,939 85.56 12,997 6.15 16,518 7.81 1,011 0.48 211,465 89.38
โพธิ์ประทบั 293,081 222,152 94.11 5,595 2.37 8,077 3.42 244 0.10 236,068 80.55
ชา้ ง

ตะพานหิน

บางมูลนาก 236,086 215,304 99.03 1,191 0.55 272 0.13 640 0.29 217,407 92.09

โพทะเล 302,631 229,399 87.12 8,674 7.09 12,014 4.56 3,212 1.22 263,299 87.00

สามง่าม 211,302 174,154 87.86 1,635 0.82 22,123 11.16 295 0.15 198,207 93.80

ทบั คลอ้ 236,430 187,988 92.33 1,071 0.53 14,076 6.91 474 0.23 203,609 86.12

สากเหลก็ 110,219 69,140 72.66 22,072 23.19 2,907 3.05 1,040 1.09 95,159 86.34

บึงนาราง 281,631 94,269 55.56 16,657 9.82 55,204 32.54 3,537 2.08 169,667 60.24

ดงเจรญิ 137,689 104,784 90.52 878 0.76 10,071 8.70 25 0.02 115,758 84.07

วชิรบารมี 162,188 137,961 96.74 113 0.08 4,523 3.17 10 0.01 142,607 87.93

รวม 2,831,883 1,990,260 88.44 93,502 4.16 152,674 6.78 13,880 0.62 2,250,316 79.46

ทีม่ า : ส้านกั งานเกษตรจังหวัดพิจติ ร

- 31 -

2.3 แหล่งนาเพื่อการเกษตร
2.3.1 พืนทชี่ ลประทานและระบบชลประทาน

ตารางท่ี 11 แหล่งนา้ เพอื่ การเกษตร

โครงการชลประทานขนาดใหญ่ โครงการ พืนท่รี ับนาจากกาแพงเพชร รวมพนื ท่ี
ในเชต
ท่ี อาเภอ/ ดงเศรษฐี ทา่ บัว พลายชมุ พล รวม ชลประทาน วังบัว วงั ยาง- รวม ชลประทาน
ตาบล ขนาดกลาง หนองขวัญ
(ไร่)
(ไร)่ (ไร)่ (ไร)่ (ไร่) (หน่วย:ไร)่ (ไร่) (ไร่) (ไร)่

1 เมืองพจิ ิตร 62,137 32,864 4,790 99,791 55,036 0 0 0 154,827

เมืองเกา่ 12,262 4,052 16,314 16,314

ท่าฬ่อ 1,058 1,058 1,058

ปา่ มะคาบ 0 11,583 11,583

ดงกลาง 2,103 8,259 10,362 10,362

ไผ่ขวาง 6,019 6,019 6,019

โรงชา้ ง 10,230 10,230 10,230

หัวดง 146 146 19,805 19,951

บา้ นบุ่ง 0 18,971 18,971

ปากทาง 584 584 2,588 3,172

ยา่ นยาว 1,086 4,790 5,876 5,876

สายคา้ โห้ 0 1,591 1,591
12,444 12,444
คลองคะ 12,444 8,916 8,916
เชนทร์ 8,916

ฆะมัง

ดงปา่ คา้ 5,649 20,553 26,202 26,202

ท่าหลวง 1,640 1,640 246 1,886

ในเมอื ง 0 252 252

2 วังทรายพนู 0 0 0 0 2,039 0 0 0 2,039

หนองปลา 0
ไหล

วงั ทรายพูน 2,039 2,039

หนองปล้อง 0

หนองพระ 0

3 โพธ์ิประทับ 18,564 10,013 0 28,577 0 100,922 0 100,922 129,499
ช้าง

โพธิป์ ระทบั 11,129 10,013 21,142 0 21,142
ชา้ ง

ไผ่ทา่ โพ 4,398 4,398 0 4,398

วงั จิก 3,037 3,037 0 3,037

- 32 -

โครงการชลประทานขนาดใหญ่ โครงการ พืนที่รับนาจากกาแพงเพชร รวมพืนท่ี
ในเชต
ท่ี อาเภอ/ ดงเศรษฐี ท่าบวั พลายชุมพล รวม ชลประทาน วงั บัว วังยาง- รวม ชลประทาน
ตาบล ขนาดกลาง หนองขวัญ
(ไร่)
(ไร่) (ไร)่ (ไร)่ (ไร่) (หนว่ ย:ไร)่ (ไร)่ (ไร)่ (ไร)่

ไผ่รอบ 0 18,268 18,268 18,268

ดงเสือ 0 22,898 22,898 22,898
เหลือง
0 23,326 23,326 23,326
เนินสว่าง

ทงุ่ ใหญ่ 0 36,430 36,430 36,430

4 ตะพานหนิ 39,236 55,210 0 94,446 18,876 0 0 0 113,322

งว้ิ ราย 0 7,788 7,788

หว้ ยเกตุ 10,627 10,627 10,627

ไทรโรงโขน 0 4,662 4,662

หนองพยอม 0 3,368 3,368

ทุง่ โพธ์ิ 0 0

ดงตะขบ 0 3,058 3,058

คลองคณู 3,675 10,119 13,794 13,794

วงั ส้าโรง 9,135 20,803 29,938 29,938

วังหว้า 4,521 7,717 12,238 12,238

วงั หลมุ 0 0

ทบั หมนั 7,690 16,571 24,261 24,261

ไผ่หลวง 3,588 3,588 3,588

ตะพานหิน 0 0

5 บางมูลนาก 1,589 28,978 0 30,567 26,494 0 0 0 57,061

บางมลู นาก

ลา้ ปะดา 0 717 717

หว้ ยเขน 0 0

บางไผ่ 1,589 5,659 7,248 8,890 16,138

เนินมะกอก 9,536 9,536 4,412 13,948

ภูมิ 0 4,089 4,089

หอไกร 13,783 13,783 7,732 21,515

วงั สา้ โรง 0 654 654

6 โพทะเล 39,875 60,747 0 100,622 69,965 0 117,533 117,533 288,120

7 สามงา่ ม 1,624 0 22,151 23,775 30,000 105,976 0 105,976 159,751

8 วชริ บารมี 0 0 0 0 0 10,955 0 10,955 10,955

- 33 -

โครงการชลประทานขนาดใหญ่ โครงการ พนื ทร่ี บั นาจากกาแพงเพชร รวมพืนที่
ในเชต
ที่ อาเภอ/ ดงเศรษฐี ทา่ บัว พลายชุมพล รวม ชลประทาน วงั บัว วังยาง- รวม ชลประทาน
ตาบล ขนาดกลาง หนองขวัญ
(ไร)่
(ไร)่ (ไร)่ (ไร่) (ไร่) (หน่วย:ไร่) (ไร)่ (ไร่) (ไร)่

9 บงึ นาราง 5,100 0 0 5,100 11,626 27,049 82,983 110,032 126,758

บงึ นาราง 0 4,581 6,685 4,639 11,324 15,905

แหลมรงั 0 20,364 26,463 46,827 46,827

บางลาย 5,100 5,100 6,174 - 11,274

10 ทับคลอ้ 0 0 0 0 11,290 0 0 0 11,290

ทับคล้อ 0 0

เขาทราย 0 11,290 11,290

เขาเจ็ดลูก 0 0

ทา้ ยทงุ่ 0 0

11 ดงเจริญ 0 0 0 0 32,776 0 0 0 32,776

วังงิว้ ใต้ 9,286 9,286

วงั งว้ิ 17,044 0
5,214 17,044
สา้ นกั ขุน 5,214
เณร

หว้ ยพุก

หว้ ยรว่ ม 1,232 1,232

12 สากเหล็ก 0 0 0 0 1,331 0 0 0 1,331

สากเหลก็ 1,331 1,331

ทา่ เย่ยี ม 0
0
หนองหญา้ 0
ไทร

คลองทราย

วังทบั ไทร 0

รวม 168,125 187,812 26,941 382,878 259,433 244,902 200,516 445,418 1,087,729

ทม่ี า : โครงการชลประทานพจิ ิตร

- 34 -

2.3.2 แหลง่ นาอ่ืนๆ

ตารางที่ 12 แหล่งน้าอื่น ๆ

ปี พ.ศ. บ่อนาขนาดเลก็ ในไรน่ า นอกเขต บ่อบาดาล

ชลประทาน (บอ่ )

(1,260 ลบ.ม.)

(บอ่ )

2561 275 1,964

2562 372 2,203

2563 328 2,914

2564 101 3,298

2565 216 -

2566 60 -

ท่ีมา : สถานพี ฒั นาทด่ี ินจังหวดั พจิ ิตร และสา้ นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจังหวัดพจิ ติ ร

2.4 ข้อมูลสนิ ค้าเกษตรที่สาคญั ของจังหวัดพิจติ ร

2.4.1 ด้านการปลกู พืชเศรษฐกจิ ของจงั หวัดพิจติ ร ปีการผลติ 2564/65
ตารางท่ี 13 ด้านการปลกู พชื เศรษฐกิจหลกั ของจงั หวัด ปีการผลติ ปี 2566/65

ชนิดพชื จานวน เนือท่ี เนอื ที่เกบ็ ผลผลิตทเ่ี กบ็ ผลผลติ ราคาขาย
เกษตรกร เพาะปลกู เกี่ยว เก่ียวได้ เฉลีย่ / เฉล่ยี
เนือที่เกบ็

(ราย) (ไร่) (ไร่) (กโิ ลกรัม) เกีย่ ว (บาท/ตัน)
(กโิ ลกรมั )

ข้าวนาปี 72,118 1,862,257 1,730,596 1,069,508 618 8,347
2564/65

ขา้ วนาปรงั 21,866 462,838 462,838 317,044 685 7,988
2564/65

ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 2,354 31,853 31,853 25,069 787 942
รนุ่ 1 2564/64

สม้ โอ ปี 2564 1,347 16,767 16,767 46,261 2,759 30,000

มะม่วง ปี 2564 4,212 28,327 28,327 39,997 1,412 25,000

ถัวเขยี ว ปี 1,526 26,885 26,885 5,377 200 26,000
2564

มนั สา้ ปะหลงั ปี 1,458 16,480 16,480 52,738 3,200 2,000
2564

อ้อย ปี 2564 1,540 35,156 35,156 421,866 12,000 1,070

มะยงชดิ ปี 2564 861 2,315 2,315 692 299 100,000

พืชผัก ปี 2564 2,992 13,983 13,983 13,032 932 20,000

ทีม่ า : สา้ นกั งานเกษตรจังหวดั พิจิตร จากระบบทะเบียนเกษตรกร กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ตดั ยอด ณ วนั ท่ี 29
พฤษภาคม 2565

- 35 -

2.4.2 ดา้ นการปศสุ ตั วข์ องจังหวัด ปี 2565
ตารางท่ี 14 ดา้ นการปศุสตั ว์ของจังหวัด ปี 2565

ทม่ี า : สา้ นกั งานปศุสัตวจ์ งั หวัดพิจติ ร

2.4.3 ดา้ นการประมงของจังหวัด ปี 2565
ตารางที่ 15 ดา้ นการประมงของจังหวัด ปี 2565

ชนดิ สตั ว์ จานวน พืนทกี่ ารเลียง ผลผลติ ราคาเฉลย่ี มลู คา่ ผลผลิต
เกษตรกร เฉลีย่ ไร่/ปี (บาท/กก.) (บาท)
(ราย) จานวน จานวนบ่อ (กิโลกรมั )
พนื ท่ี (ไร่) (บ่อ)

1 .กบ 77 53.31 396 850.96 58.32 2,645,668
46.61 52,923,833
2. ปลาดกุ 2,553 2,894.00 3,737 392.35 33.48 25,587,185
61.19 20,215,924
3. ปลาสวาย 1,930 2,258.03 2,658 338.46 43.10 56,503,236
48.54 157,875,845
4. ปลาทบั ทิม 606 838.91 1,032 393.82

5. ปลานิล 3,267 3,871.08 6,415 338.66

รวม 8,433 9,915.33 14,238 2,706.59

ทีม่ า : ส้านกั งานประมงจังหวัดพิจิตร ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2565

2.4.4 ขอ้ มลู สนิ คา้ เกษตรทไ่ี ด้รบั รองส่ิงบง่ ชที างภูมิศาสตร์(GI)

ตารางท่ี 16 ขอ้ มูลสินค้าเกษตรทไี่ ดร้ ับรองส่ิงบง่ ช้ีทางภูมิศาสตร์ (GI)

ชนิดสนิ คา้ หนว่ ยนบั จานวนปรมิ าณผลผลติ
603,000 กก.
พืช

1. สม้ โอท่าข่อยเมอื งพิจิตร เกษตรกรผู้ปลูกสม้ โอทา่ ข่อยเมอื ง

ทะเบยี นเลขท่ี สช 56100052 พจิ ิตร ที่ขอยืน่ ใช้ตราสัญลักษณ์สง่ิ

บ่งช้ีทางภมู ศิ าสตร์ไทย (GI) จา้ นวน

ทง้ั สิ้น 31 ราย 46 แปลง 241 ไร่

2 งาน

- 36 -

ชนดิ สนิ ค้า หน่วยนบั จานวนปริมาณผลผลิต
133,500 กก.
2.ข้าวขาวกอเดียวพจิ ิตร เกษตรกรผ้ผู ่านการตรวจประเมนิ
ทะเบียนเลขท่ี สช 64100154 คุณภาพสนิ ค้าสงิ่ บง่ ช้ีทางภมู ิศาสตร์ จานวนปริมาณ
ขอบเขตการปลูกข้าวขาวกอเดยี ว ไทย (GI) จา้ นวนท้งั สิน้ 13 ราย ผลผลติ
ครอบคลุมพืน้ ท่ี 6 อ้าเภอของจังหวดั พ้นื ที่ 267 ไร่
พจิ ิตร ไดแ้ ก่ อ้าเภอเมืองพิจิตร อา้ เภอ -
โพธ์ปิ ระทับชา้ ง อา้ เภอสามง่าม อา้ เภอ -
สากเหล็ก อา้ เภอวชิรบารมี และอา้ เภอ -
บึงนาราง 2,489,400 กก.
547,750 กก.
ทม่ี า : สา้ นกั งานเกษตรจังหวัดพิจิตร -
-
2.4.5 ขอ้ มูลมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร 30,000 กก.
ตารางท่ี 17 ขอ้ มลู มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร
-
มาตรฐาน/ชนดิ สินคา้ หน่วยนบั จานวนไร่

GAP

1) พชื

ไม้ผลและไม้ยนื ตน้ 690 ราย/935 แปลง 10,137.33
345.94
พชื ผกั 137 ราย/147 แปลง 949.38

พชื ไร่ 24 ราย/40 แปลง 4,149
1,095.50
2) ขา้ ว GAP 129.25
119 ฟารม์
GAP grain 8 กลมุ่ /199 ราย
10 ไร่
GAP seed 5 กลุม่ /40 ราย
720.75 ไร่
3) ประมง 86 ราย

4) ปศสุ ัตว์ 119 ราย

5) อาหารสัตว์ (หญา้ แพงโก 2 ราย

ลา่ )

เกษตรอนิ ทรยี ์

ข้าวรับรองแลว้ 3 กลุ่ม/58 ราย

อ่ืนๆ

ทีม่ า : ส้านักงานเกษตรจังหวดั พิจติ ร

- 37 -

2.4.6 สนิ ค้า OTOP ของจังหวัด
ตารางที่ 18 สนิ คา้ OTOP 10 อนั ดับแรกของจงั หวดั พิจิตร

สินค้า กล่มุ เกษตรกรท่ผี ลิต แหล่งรับซือ การสนับสนนุ ของ
วตั ถดุ ิบ กระทรวงเกษตร

และสหกรณ์

ตะไครห้ อมไลย่ ุง กลมุ่ สมนุ ไพรชุมชนปา่ ตาล
น้าปลารา้ ปรุงรส วิสาหกจิ ชมุ ชน รมิ ยม ฟดู๊

แผ่นประคบร้อนเอว แผ่น กลุ่มสมนุ ไพรท่งุ ทรายทอง
ประคบร้อนถงุ มือ
กล้วยตากไฮโซพลงั งาน กลมุ่ สง่ เสริมอาชีพกลว้ ยตาก
แสงอาทิตย์เพ่ือสุขภาพ ไฮโซพลังงานแสงอาทติ ย์เพื่อ
สขุ ภาพ
จัสมิน ไรซ์ สครับ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชน วาเบลลล์ า่ ซ์
ไขเ่ ค็มใบเตยเสรมิ ไอโอดนี ปลา กลมุ่ แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารไข่
รา้ สับอบแหง้ เคม็ และน้าพริก

สบกู่ ลเี ซอรนี ผสมนา้ มนั รา้ ข้าว กลมุ่ สมุนไพรวดีอร
สบกู่ ลเี ซอรนี ผสมน้าผ้ึง

สมนุ ไพรปรบั อากาศ กลมุ่ อนุรักษ์สมนุ ไพรบ้านทับ
นา้ พริกเหด็ กรอบสามสหาย คลอ้

ศรีแกว้ ฟาร์มเหด็

ไข่เค็มศรจี ติ ร กลุ่มอาชีพสตรบี ้านหนองหญ้า

ปลอ้ ง

ทมี่ า : ส้านกั งานพัฒนาชมุ ชนจังหวดั พจิ ิตร

2.4.7 การเพาะปลูกและผลผลติ เก็บเกี่ยวรายเดือนของสินคา้ เกษตรของจังหวัด

ตารางที่ 19 ข้อมลู การเพาะปลกู และร้อยละผลผลิตเกบ็ เกี่ยวรายเดือนของสนิ ค้าเกษตรของจังหวัด

หน่วย : ร้อยละ

ชนดิ สนิ ค้า ปี 2563 ปี 2564

ม ก มี เม พ มิ ก ส ก ต พ ธ ม ก มี เม พ มิ ก ส ก ต พ ธ

คพค ย คยคคยคยคคพค ย คยคคยคยค

พชื ไร่

1. ขา้ วนาปี

ชว่ งเวลาการเพาะปลูก

ช่วงเวลาการออก 55 55
ผลผลติ 00 00
(ร้อยละ)

พชื ผัก

ทม่ี า : สา้ นักงานเกษตรจังหวดั พจิ ิตร

- 38 -

2.5 สถาบนั เกษตรกรและองคก์ รเกษตรกร
2.5.1 ประเภทสหกรณ์และจานวนสมาชิก

ตารางที่ 20 ประเภทสหกรณ์และจา้ นวนสมาชิก

ประเภทสหกรณ์ จานวนสหกรณ์ จานวนสมาชิก
(แห่ง) (ราย)
74,180
สหกรณภ์ าคการเกษตร 37 16,721

สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 6 90,901

รวม 43

ท่มี า : ส้านักงานสหกรณจ์ ังหวดั พจิ ิตร

2.5.2 กลมุ่ เกษตรกรจังหวัดพจิ ิตร

ตารางท่ี 21 จา้ นวนและสมาชกิ สถาบันเกษตรกรจังหวัดพิจิตร

อาเภอ กลุม่ เกษตรกร1 กลมุ่ ส่งเสริม กล่มุ แมบ่ ้าน กลุ่มยุวเกษตรกร2 กล่มุ วสิ าหกิจ
อาชีพการเกษตร2 เกษตรกร2 ชุมชน2

กลมุ่ สมาชิก กลมุ่ สมาชกิ กลมุ่ สมาชกิ กลมุ่ สมาชิก กลมุ่ สมาชิก

เมืองพจิ ติ ร 9 891 4 115 6 110 1 43 36 658

วงั ทรายพูน 5 285 7 124 2 56 3 45 13 252

โพธิ์ประทบั ชา้ ง 3 243 1 23 6 65 2 40 48 1,249

ตะพานหนิ 5 282 4 49 3 32 2 42 40 604

บางมูลนาก 2 103 4 56 5 57 2 45 29 580

โพทะเล 5 344 4 137 5 47 3 45 33 656

สามงา่ ม 4 828 5 56 5 51 2 54 117 3,181

ทบั คล้อ 2 184 4 64 22 312 1 20 53 1,077

สากเหล็ก 3 139 2 32 1 10 1 18 15 298

บงึ นาราง - - 1 13 1 8 1 27 63 1,221

ดงเจรญิ 4 159 4 68 5 72 1 30 22 467

วชริ บารมี - - 5 66 3 99 1 13 28 768

รวม 42 3,458 45 803 64 919 20 422 497 11,011

ท่มี า : ส้านกั งานเกษตรจังหวัดพิจิตร

2.6 ขอ้ มูลจานวนอาสาสมคั รเกษตรของจังหวัด
ตารางที่ 22 จา้ นวนอาสาสมคั รเกษตรของจังหวดั พิจติ ร

ด้านอาสาสมัครเกษตร หมาย

เหตุ

อาเภอ ฝน บัญชี ประ ปศุ หมอ เกษตร สห ชล เศรษฐ ปฏิ ชาว ยาง หมอ่ น Q
เมืองพจิ ติ ร หลวง มง สตั ว์ ดิน หมู่ กรณ์ ประ กจิ การ รปู นาชัน พารา ไหม อาสา
บา้ น ทาน เกษตร ทดี่ ิน นา

46 11 135 135 3 32 1 0 005

วงั ทรายพูน 31 26 57 57 3 0 1 0 001

โพธ์ปิ ระทบั ชา้ ง 2 1 13 98 98 0 2 1 3 203

- 39 -

ดา้ นอาสาสมคั รเกษตร หมาย
เหตุ

อาเภอ ฝน บัญชี ประ ปศุ หมอ เกษตร สห ชล เศรษฐ ปฏิ ชาว ยาง หมอ่ น Q
ตะพานหิน หลวง มง สัตว์ ดนิ หมู่ กรณ์ ประ กจิ การ รปู นาชัน พารา ไหม อาสา
บ้าน ทาน เกษตร ท่ีดิน นา

55 76 94 91 3 17 1 0 001

บางมลู นาก 65 2 78 78 4 9 1 0 00 -

โพทะเล 45 59 97 97 2 22 1 0 001

สามงา่ ม 47 69 80 80 3 0 1 6 211

ทับคล้อ 45 66 57 56 3 0 1 0 01 -

สากเหลก็ 11 4 46 39 40 0 0 1 0 003

บึงนาราง 24 42 51 51 1 1 1 5 602

ดงเจริญ 46 68 55 55 0 0 1 0 002

วชริ บารมี 54 51 50 51 3 0 1 4 002

รวม 54 53 0 529 891 889 25 83 12 18 0 10 2 21

ท่มี า : สา้ นักงานเกษตรจงั หวัดพิจติ ร

2.7 จานวนปราชญ์ชาวบ้านของจังหวัดภายใต้โครงการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โดยยึดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง
ตารางที่ 23 จ้านวนปราชญ์ชาวบา้ นแยกรายอ้าเภอ

อาเภอ จานวน(ราย)
วงั ทรายพนู 1

ทีม่ า : สา้ นกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั พิจิตร

2.8 ขอ้ มูลดา้ นการเกษตรอ่ืนๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง

2.8.1 จังหวัดพิจิตรมี Smart Farmer ที่ผ่านโครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปร่ือง ได้รับการพัฒนา

รายเป็นเกษตรกรปราดเปรือ่ ง ปี 2563-2565 จ้านวน 428 ราย

ตารางท่ี 24 จา้ นวนเกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) ของจังหวัดพิจิตร

อาเภอ จานวนเกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) (ราย) รวมทงั สนิ

ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

เมอื งพิจติ ร 16 16 9 41

วงั ทรายพนู 4 19 8 31

โพธิป์ ระทับชา้ ง 20 7 1 28

ตะพานหนิ 655 16

บางมลู นาก 20 2 8 30

โพทะเล 10 5 10 25

สามงา่ ม 12 20 10 42

ทับคล้อ 20 18 8 46

สากเหลก็ 20 20 10 50

บงึ นาราง 12 13 6 31

ดงเจริญ 20 19 27 66

- 40 -

อาเภอ จานวนเกษตรกรปราดเปร่อื ง (Smart Farmer) (ราย) รวมทังสิน

ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 22
428
วชริ บารมี 9 3 10

รวมทังสนิ 169 147 112

ทม่ี า : สา้ นกั งานเกษตรจังหวดั พจิ ิตร

2.8.2 จงั หวัดพจิ ติ รมี จา้ นวน Young Smart Farmer ปี 2557 – 2564 จ้านวน 226 ราย

ตารางที่ 25 จา้ นวน Young Smart Farmer ของจังหวดั พิจิตร

อาเภอ ปี ปี จานวน Young Smart Farmer ปี ปี รวม
2557 2558 2564 2565 ทังสิน
ปี ปี ปี ปี ปี
2559 2560 2561 2562 2563

เมอื งพิจติ ร 2 4 4 4 5 2 3 0 2 26

วงั ทรายพนู 2 2 0 2 4 3 4 1 7 25

โพธ์ปิ ระทับช้าง 2 2 1 2 7 0 1 0 2 17

ตะพานหนิ 2 2 2 2 2 1 0 2 1 14

บางมูลนาก 2 2 2 2 1 0 1 0 4 14

โพทะเล 3 2 2 4 1 1 3 0 2 18

สามงา่ ม 2 2 3 3 7 0 6 2 1 26

ทบั คล้อ 2 0 2 2 3 15 0 4 2 30

สากเหลก็ 2 2 0 2 2 2 1 0 1 12

บึงนาราง 2 2 0 0 3 2 0 2 2 13

ดงเจรญิ 2 2 0 3 2 3 2 0 1 15

วชริ บารมี 2 2 1 0 0 0 3 4 4 16

รวมทังสิน 25 24 17 26 37 29 24 15 29 226

2.8.3 จังหวัดพิจิตรมีจ้านวนกลุ่มและสมาชิกวิสาหกิจชุมชน ปี 2565 จ้านวน 512 กลุ่ม จ้านวน

สมาชกิ 11,000 ราย

ตารางท่ี 26 กลุ่มและสมาชกิ วสิ าหกจิ ชมุ ชน

อาเภอ จานวนกลุ่มและสมาชกิ วสิ าหกิจชุมชน
กลมุ่ สมาชกิ

เมืองพิจิตร 27 493

วังทรายพูน 13 252

โพธปิ์ ระทบั ช้าง 48 1,247

ตะพานหนิ 41 611

บางมูลนาก 29 580

โพทะเล 38 706

สามง่าม 121 3,159

ทับคลอ้ 69 1,257

สากเหล็ก 15 298

บึงนาราง 64 1,231

ดงเจริญ 19 397

วชิรบารมี 28 769

รวมทงั สนิ 512 11,000

ที่มา : ระบบสารสนเทศวสิ าหกิจชมุ ชน ข้อมูล ณ วนั ท่ี 20 ม.ิ ย 2565

สว่ นท่ี 3
การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมดา้ นการเกษตรและสหกรณข์ องจงั หวัด

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด เป็นการวิเคราะห์

สภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกจังหวัด ที่จะมีผลกระทบต่อการพัฒนาด้านการเกษตรและสหกรณ์ข อง

จังหวัด ซ่ึงข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ จะนามาเป็นพื้นฐานในการกาหนดทิศทางการพัฒนาการเกษตรและ

สหกรณ์ ตามเครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ เช่น

การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในโดย McKinsey 7-S Framework

ซึ่งจะวิเคราะห์ว่ามี จุดแขง็ จุดออ่ น อย่างไรในปจั จัยทง้ั 7 ประการ ประกอบดว้ ย

1. กลยทุ ธ์ (Strategy)

2. โครงสร้างขององคก์ ร (Structure)

3. ระบบการปฏบิ ัติงาน (System)

4. บคุ ลากร (Staff)

5. ทักษะ ความรู้ ความสามารถ (Skill)

6. รปู แบบการบริหารจดั การ (Style)

7. คา่ นิยมรว่ ม (Shared Values)

ตารางที่ 27 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในโดย McKinsey 7-S Framework

7-S McKinsey จุดแข็ง (Strength) จุดออ่ น (Weakness)

กลยุทธ์ - มีศักยภาพในการบรหิ ารจัดการนา้ - ขาดแหล่งน้าตน้ ทนุ ทางการเกษตร

(Strategy) ในเขตพื้นทชี่ ลประทาน - พืน้ ที่ทาการเกษตรสว่ นใหญอ่ ยู่นอกเขต

- ศักยภาพของพื้นทีม่ ีความเหมาะสม ชลประทาน

สาหรบั การทาการเกษตร (Zoning) - เกษตรกรสว่ นใหญข่ าดความรใู้ นการ

- มพี น้ื ที่มเี ส้นทางขนส่งสินค้าทางการ บรหิ ารจดั การน้านอกเขตชลประทาน

เกษตรทสี่ ะดวก - ขาดแหลง่ รวบรวมผลผลิตทางการเกษตร

- มแี หลง่ เรยี นรดู้ า้ นการผลติ เมล็ดพนั ธุ์

ขา้ ว

โครงสร้างขององค์กร - ภาครัฐและภาคีเครือขา่ ยบูรณาการ - หน่วยงานสว่ นใหญ่มงุ่ เน้นการปฏิบตั งิ าน

(Structure) ความรูเ้ ทคโนโลยีและนวตั กรรมดา้ น ตามภารกจิ ของต้นสังกดั และทาให้ขาด

การ เกษตรทห่ี ลากหลาย แรงจงู ใจในการทางานแบบบูรณาการ

- มีการรวมกลมุ่ ในการบรหิ ารจัดการ - เกษตรกรยงั ขาดวินัยทางการเงิน และ

อาชีพทางการเกษตร การจดั ทาบัญชคี รวั เรือน

ระบบการปฏบิ ตั งิ าน - มกี ารพัฒนารูปแบบทาการเกษตรท่ี - กระบวนการผลติ สินคา้ ทางการเกษตรยัง

(System) หลากหลาย ขาดคุณภาพ ขาดความเข้าใจและการ

เขา้ ถงึ ระบบรับรองคณุ ภาพมาตรฐาน

สินค้าเกษตร

บุคลากร - Smart Officer ,Smart Farmer - Smart Officer ,Smart Farmer

(Staff) Young Smart Farmer และปราชญ์ Young Smart Farmer และปราชญ์

เกษตรกร ทมี่ คี วามรู้ความสามรถใน เกษตรกร มสี ัดส่วนนอ้ ยตอ่ จานวน

การถ่ายทอดองค์ความรู้ เกษตรกรทั่วไป

- 42 -

7-S McKinsey จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness)
ทักษะ ความรู้
ความสามารถ - พัฒนาศักยภาพเกษตรกร ส่วนใหญ่ - บุคลากรภาครัฐและเกษตรกร บางส่วนยัง
(Skill)
สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ขาดทักษะและประสบการณ์ในการใช้
รูปแบบการบรหิ าร
จดั การ ดา้ นการเกษตร เทคโนโลยีสมัยใหม่ และเกษตรกรส่วนใหญ่
(Style)
- บุคลากรภาครัฐมีการพัฒนาตนเองทั้ง ยังปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
ค่านิยมร่วม
(Shared Values) ด้านศักยภาพและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยสี มัยใหม่

เพื่อใหเ้ ป็นที่ยอมรบั ของเกษตรกร

- เกษตรกรมสี ว่ นร่วมในการกาหนด - หนว่ ยงานภาครัฐบางส่วนขาดการบรู ณา

แนวทางพัฒนาด้านการเกษตร รว่ มกับ การแผนงาน โครงการ ทต่ี อ่ เนอ่ื งเช่อื มโยง

หนว่ ยงานในพน้ื ที่จดั ทาแผนพัฒนา ซง่ึ มีผลต่องบประมาณท่ีได้รบั

อาชีพ และมีกระบวนการเรียนรอู้ ย่าง

ตอ่ เน่ือง

- หนว่ ยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ บูรณาการแผนงานโครงการ

และงบประมาณทสี่ อดคล้องกับจังหวดั

กลมุ่ จงั หวดั และแผนพัฒนาภาค

- เกษตรกร องค์กรและสถาบัน

เกษตรกรมีความมุ่งมั่นในการพัฒนา

อาชีพและสรา้ งเครือข่ายการเรียนรู้

สามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างเข้มแข็ง

และยง่ั ยืน

- มสี ิ่งบง่ ชี้ทางภูมศิ าสตร์ (GI) ไดแ้ ก่

ส้มโอ ท่าข่อย และขา้ วขาวกอเดยี ว

เปน็ อตั ลักษณ์ของจงั หวดั

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกโดย PESTEL Analysis
1. ปัจจัยด้านการเมืองและกฎหมาย (Political Factors) เช่น นโยบายของรัฐ ระบบการปกครอง
เสถียรภาพ ด้านการเมอื ง ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ
2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic Factors) เช่น การปรับอัตราภาษี อัตราดอกเบ้ีย อัตราการ
จ้างงาน ภาวะทางเศรษฐกิจ
3. ปัจจัยดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม (Social cultural Factors) เช่น เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา คา่ นยิ ม
การบริโภคอุปโภค
4. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technological Factors) เช่น เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยี
สารสนเทศ
5. ปัจจัยด้านกฎหมาย (Law/Legal Factors) เช่น กฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ระเบยี บข้อบงั คับด้านธรุ กจิ
6. ปัจจัยดา้ นสง่ิ แวดล้อม (Environment Factors) เช่น สภาพภมู อิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ ธรรมชาติ

- 43 -

ตารางที่ 28 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกโดย PESTEL Analysis

โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threats)

ดา้ นการเมือง

- นโยบายตลาดนาการผลติ (แปลงใหญ)่ ในการผลติ - การเปลยี่ นแปลงของนโยบายของภาครัฐมี

แปรรปู และจาหนา่ ยสินคา้ เกษตร ผลกระทบต่อระบบการผลติ สินคา้ เกษตร

ดา้ นเศรษฐกจิ

- แนวโน้มความตอ้ งการสินค้าเกษตรและสนิ ค้า - การกีดกันทางการคา้ หรือเง่ือนไขการนาเข้าสนิ ค้า

เกษตรปลอดภัย ของผู้บริโภคท้ังในประเทศและ เกษตรของประเทศคู่ค้าแตล่ ะประเทศมคี วาม

ต่างประเทศมจี านวนเพมิ่ มากข้ึน แตกตา่ งกนั อาจทาให้ประเทศไทยเสยี เปรียบ

- มีช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีหลากหลายและ ประเทศอื่นๆได้ เชน่ ภาษีนาเข้า มาตรฐานการ

สามารถเข้าถึงผบู้ ริโภคโดยตรง อย่างการขายสินค้า นาเขา้ สินคา้ เกษตร เป็นตน้

ออนไลน์ สามารถใชแ้ พลตฟอร์มต่างๆ ได้แก่ - ปจั จยั การผลติ ทางการเกษตรมตี น้ ทุนที่สูงข้ึน

ตลาดเกษตรกรออนไลน์, shopee/Lazada,

Facebook Page, Line เปน็ ตน้ หรอื ทาการตลาด

โดยการใชผ้ ู้มอี ิทธิพลทางสงั คม เขา้ มาช่วยในการ

รวี ิวและขายสินค้าทางการเกษตร

- แหลง่ ผลิตเมล็ดพันธ์ุขา้ วคุณภาพดีของจังหวัดพิจิตร

- มแี หลง่ รบั ซอ้ื ผลผลิตและแหล่งแปรรูปสินคา้ ทาง

การเกษตร เช่น ข้าว มะมว่ ง ส้มโอ ข่า เปน็ ตน้

ด้านสงั คม

- ผ้บู ริโภคนยิ มบรโิ ภคอาหารเพ่อื สุขภาพเพ่ิมขึ้น - คา่ นยิ มคนรนุ่ ใหม่ สว่ นใหญ่ไม่สนใจอาชพี

เกษตรกรรม

- ขาดแรงงานดา้ นการเกษตรและเกษตรกรส่วนใหญ่

เปน็ ผ้สู ูงวยั

ดา้ นเทคโนโลยี

- นโยบายขับเคลื่อนเกษตร 4.0 (AIC) เป็นแหลง่ - มขี อ้ จากัดในการเขา้ ถึง มตี ้นทนุ สูงในการใช้

การเรยี นร้เู ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหม่ๆให้กบั เทคโนโลยสี มัยใหม่ และขาดต้นแบบของศนู ยเ์ รียนรู้

เกษตรกร และเทคโนโลยี

ดา้ นกฎหมาย

- กฎหมายค้มุ ครองการผลติ ภาคการเกษตร - เกษตรกรส่วนใหญข่ าดแรงจูงใจและไมใ่ ห้

- เกษตรพนั ธสญั ญา, พรบ.มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร ความสาคญั กับการตรวจรับรองมาตรฐานสนิ ค้า

พ.ศ. 2551 เกษตรปลอดภยั เช่น การผลิตทางการเกษตรที่ดีและ

เหมาะสม (GAP)

- หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดแู ลและตรวจรบั รองสนิ ค้า

เกษตรปลอดภยั มจี านวนนอ้ ย

- การปรับปรงุ กฏหมายเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับ

สถานการณ์ปัจจบุ ัน เง่ือนไขทางการคา้ หรือข้อจากัด

ทางการคา้ ของแตล่ ะประเทศ เชน่ มาตรฐานการ

นาเข้าสนิ คา้ เกษตร

- 44 -

โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threats)

ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม - Climate Change , มลพิษทางสิ่งแวดลอ้ ม
- การขยายตัวของกิจกรรมด้านสิ่งแวดลอ้ ม เช่น โรคระบาดในพืช สัตว์ ประมง, โรคระบาดในคน
การทาน้าหมักชีวภาพ
- พฤตกิ รรมการดารงชีวติ ให้ความสาคัญกับความ
เป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อมมากข้ึน
- นโยบายกระทรวงเกษตรฯ ใหค้ วามสาคญั กับ
โครงการที่เป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น โครงการ
BCG Model

- 45 -

การจัดทา TOWS Matrix เพื่อกาหนดประเด็นการพัฒนาเชิงรุก เชิงแก้ไข เชิงป้องกัน และเชิงรับ

ตารางที่ 29 TOWS Matrix เพ่ือกาหนดประเด็นการพฒั นาเชิงรุก เชิงแก้ไข เชงิ ป้องกัน และเชิงรบั

S จุดแข็ง (ภายใน) W จดุ ออ่ น (ภายใน)

1.มีศกั ยภาพในการบริหารจัดการนา้ 1. ขาดแหล่งน้าต้นทุนทางการเกษตร

ในเขตพื้นทีช่ ลประทาน 2. พ้นื ทท่ี าการเกษตรสว่ นใหญอ่ ย่นู อก

ปจั จยั ภายใน 2. ศกั ยภาพของพ้ืนท่มี คี วาม เขตชลประทาน และเกษตรกรส่วนใหญ่

เหมาะสมสาหรบั การทาการเกษตร ขาดความรู้ในการบริหารจัดการน้านอก

(Zoning) เขตชลประทาน

3. มีพ้นื ท่ีมเี ส้นทางขนส่งสนิ ค้า 3. ขาดแหลง่ รวบรวมผลผลติ ทางการ

ทางการเกษตรท่สี ะดวก เกษตร

4. มีแหลง่ เรยี นรูด้ า้ นการผลิตเมลด็ 4. หน่วยงานสว่ นใหญ่มงุ่ เน้นการ

พนั ธข์ุ ้าว และมีการบรู ณาการความรู้ ปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจของต้นสงั กัดและ

เทคโนโลยีและนวัตกรรมดา้ น ทาให้ขาดแรงจูงใจในการทางานแบบ

การเกษตรทหี่ ลากหลาย บูรณาการ ซึง่ มผี ลต่องบประมาณทไ่ี ดร้ บั

5. การพัฒนารูปแบบทาการเกษตรท่ี 5. เกษตรกรยังขาดวินัยทางการเงนิ และ

หลากหลายและมีการรวมกลุ่มในการ การจัดทาบญั ชีครัวเรือน

บริหารจดั การอาชีพทางการเกษตร 6. กระบวนการผลิตสินคา้ ทางการเกษตร

ปัจจยั ภายนอก 6.Smart Officer ,Smart Farmer ยงั ขาดคุณภาพ ขาดความเข้าใจและการ

Young Smart Farmer และปราชญ์ เข้าถึงระบบรับรองคณุ ภาพมาตรฐาน

เกษตรกร ทม่ี ีความรู้ความสามารถใน สนิ คา้ เกษตร

การถา่ ยทอดองค์ความรู้ 7. Smart Officer ,Smart Farmer

7. บุคลากรภาครฐั มีการพฒั นา Young Smart Farmer และปราชญ์

ตนเองทั้งดา้ นศักยภาพและพัฒนา เกษตรกร มีสดั สว่ นน้อยต่อจานวน

องค์ความรูเ้ พื่อให้เป็นท่ยี อมรับของ เกษตรกรทั่วไป

เกษตรกร 8.บุคลากรภาครัฐและเกษตรกร บางสว่ น

8. เกษตรกรสว่ นใหญ่ มีส่วนร่วมใน ยังขาดทกั ษะและประสบการณใ์ นการใช้

การกาหนดแนวทางพฒั นาด้าน เทคโนโลยีสมัยใหม่ และเกษตรกรสว่ น

การเกษตร ร่วมกับหนว่ ยงานในพ้นื ท่ี ใหญย่ ังปรับตวั ไม่ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง

จัดทาแผนพฒั นาอาชีพ และมี ของเทคโนโลยีสมยั ใหม่

กระบวนการเรยี นรู้อย่างต่อเน่อื ง

9. มีสงิ่ บง่ ช้ที างภมู ศิ าสตร์ (GI) ไดแ้ ก่

สม้ โอทา่ ข่อย และขา้ วขาวกอเดียว

เปน็ อัตลกั ษณ์ของจังหวดั

10.เกษตรกร องค์กร สถาบนั

เกษตรกร มีความมุ่งมั่นในการพัฒนา

อาชีพและพฒั นาเครอื ขา่ ย อย่าง

เข้มแข็งและย่งั ยืน

- 46 -

O โอกาส(ภายนอก) SO WO
1. นโยบายสนับสนุนการขับเคล่ือนด้าน
การเกษตรทั้งในเร่ืองการตลาดนาการ ประเด็นการพัฒนาเชิงรกุ ประเดน็ การพัฒนาเชิงแกไ้ ข
ผลิต (แปลงใหญ่ ศพก และเกษตร S1,2,4,9 O1,2,4,10 – สง่ เสริมการทา W1,2,6 O1,2,4 -พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน
ปลอดภัย) AIC และ BCG model เกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตร สนบั สนุนการผลติ
2. แนวโนม้ ความตอ้ งการสินค้าเกษตร
และสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั และผบู้ ริโภค ปลอดภัย และ ศพก. W6,7,8 O2,3,5 –พัฒนาคุณภาพเกษตรกร
นิยมบรโิ ภคอาหารเพื่อสุขภาพเพ่ิมข้ึน S4,8, O1,4 – ส่งเสรมิ และพฒั นา กล่มุ เกษตรกร และบคุ ลากรใหเ้ ขา้ ถึงการ
ระบบการผลติ เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม เกษตรกรผลิตเมลด็ พันธ์ขุ ้าว
มากข้นึ ขายสนิ ค้าแบบออนไลน์
3. มชี อ่ งทางการจัดจาหน่ายท่ี S2 O2,5 – ส่งเสริมการผลิตสินคา้
หลากหลายและสามารถเขา้ ถึงผูบ้ ริโภค เกษตรให้มมี าตรฐาน
โดยตรง อยา่ งการขายสินคา้ ออนไลน์
สามารถใช้แพลตฟอรม์ ออนไลน์ หรอื ทา S3 O1,3 - สง่ เสริมการจาหน่ายสนิ ค้า
การตลาดโดยการใชผ้ ู้มีอิทธพิ ลทาง เกษตรในรูปแบบออนไลน์
สงั คม เข้ามาช่วยในการรวี วิ และขาย S4 O3,5,6 – สง่ เสรมิ การเกษตร
สินคา้ ทางการเกษตร อัจฉรยิ ะ
4. พฒั นาแหลง่ นา้ และแหลง่ ผลติ เมลด็
พันธุข์ า้ วคณุ ภาพดีของจังหวดั พจิ ติ ร
5. มแี หลง่ รบั ซอื้ ผลผลิตและแหลง่ แปร
รูปสินคา้ ทางการเกษตร เชน่ ขา้ ว
มะมว่ ง สม้ โอ ข่า เป็นต้น
6. มกี ฎหมายค้มุ ครองด้านการเกษตร
ได้แก่เกษตรพนั ธสัญญา, พรบ.มาตรฐาน
สนิ ค้าเกษตร พ.ศ. 2551
7. การขยายตวั ของกจิ กรรมด้าน
สิ่งแวดล้อม เช่น การทานา้ หมักชวี ภาพ
ปุ๋ยหมกั ชีวภาพ

T อปุ สรรค (ภายนอก) ST WT
ประเด็นการพัฒนาเชิงรับ
1. การเปลย่ี นแปลงของนโยบายของ ประเดน็ การพัฒนาเชิงป้องกัน
W6,7 T5 – สนบั สนุนการเรียนรูอ้ ยา่ ง
ภาครัฐมีผลกระทบต่อระบบการผลิต S1,2 T1,2 – บริหารจัดการพ้นื ที่ ต่อเนื่อง
W3,5T3,4,5 – พัฒนาองค์ความรใู้ ห้แก่
สินคา้ เกษตร เหมาะสมกบั การเกษตร (Zoning) เกษตรกรเพ่ือปรับเปล่ยี นระบบการผลติ

2. การกีดกันทางการคา้ หรอื เงอื่ นไขการ S5,10 T3 – พัฒนาการรวมกลุ่มของ

นาเข้าสินค้าเกษตรของประเทศคู่ค้าแต่ เกษตรกร

ละประเทศมีความแตกต่างกัน อาจทาให้

ประเทศไทยเสียเปรียบประเทศอ่ืนๆได้

เช่น ภาษีนาเข้า มาตรฐานการนาเข้า

สินคา้ เกษตร เป็นต้น

- 47 -

3. ปัจจยั การผลติ ทางการเกษตร และ
การเข้าถงึ เทคโนโลยีสมยั ใหม่มตี น้ ทุนท่ี
สงู ขนึ้
4. คา่ นิยมคนรุ่นใหม่ ส่วนใหญ่ไมส่ นใจ
อาชพี เกษตรกรรม และเกษตรกรส่วน
ใหญเ่ ปน็ ผูส้ ูงวยั
5. เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดแรงจงู ใจและ
ไม่ใหค้ วามสาคัญกบั การตรวจรับรอง
มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั เชน่
การผลติ ทางการเกษตรทีด่ ีและ
เหมาะสม (GAP)
6. ยงั ไม่มกี ารปรบั ปรุงกฎหมายเพื่อให้
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จุบนั
เง่ือนไขทางการค้าหรอื ข้อจากัดทาง
การคา้ ของแต่ละประเทศ เชน่ มาตรฐาน
การนาเข้าสินค้าเกษตร
7. Climate Change, มลพษิ ทาง
สิ่งแวดล้อมโรคระบาดในพืช สัตว์
ประมง, โรคระบาดในคน, ภยั พิบัติทาง
ธรรมชาติ


Click to View FlipBook Version