The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ แกล้งดิน-combined_1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarinkhana.m, 2022-03-04 22:54:26

โครงการ แกล้งดิน-combined_1

โครงการ แกล้งดิน-combined_1

พระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

โครงการพระราชดำริ
แกล้งดิน

โ ค ร ง ก า ร ใ น พ ร ะ ร า ช ดำ ริ ใ น พ ร ะ บ า ท
ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว

แกล้งดิน

เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
เกี่ยวกับการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว หรือดินเป็นกรด โดยมีการขังน้ำไว้ใน
พื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีทำให้ดินเปรี้ยวจัด จนถึงที่สุด แล้วจึง

ระบายน้ำออก และปรับสภาพฟื้ นฟูดินด้วยปูนขาว จนกระทั่งดินมี
สภาพดีพอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้

ที่มาของโครงการ

จ า ก ก า ร เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ดำ เ นิ น ไ ป ท ร ง เ ยี่ ย ม ร า ษ ฎ ร ใ น จั ง ห วั ด ภ า ค ใ ต้
ทำให้ทรงทราวว่าราษฎรมีความเดือดร้อนหลายเรื่ องโดยเฉพาะ
ในกลุ่ มของเกษตร เช่น การขาดแคลนที่ ทำกิ นหรือปั ญหาในพื้ นที่
พรุซึ่ งมีน้ำขังอยู่ตลอดปี แม้สามารถทำให้น้ำแห้งได้ ดินในพื้ นที่
เหล่ านั้นก็ ยังเป็นดินเปรี้ยวจัด ทำการเกษตรได้ผลน้อยไม่คุ้ มทุน
พระองค์ ทรงตระหนักถึ งปั ญหาเหล่ านี้ว่ามีความ จำนงเร่งด่วนที่
จะต้ องพระราชทานความช่วยเหลื อ ดังจะเห็นได้จากความตอน

หนึ่ งในพระราชดำรัสต่ อไปนี้

. . ที่ ที่ น้ำ ท่ ว ม นี่ ห า ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ม่ ไ ด้ ถ้ า เ ร า

จะทำให้มันโผล่ พ้นน้ำขึ้ นมา มีการ
ระบายน้ำออกไป ก็ จะเกิ ดประโยชน์
กั บประชาชนในเรื่ องของการทำมา

. . ”ห า กิ น อ ย่ า ง ม ห า ศ า ล

การดำเนินงาน

1 วิธีการที่ ใช้น้ำชะล้ างความเป็นกรด ดำเนินการตามขั้น

-    pHตอนดังนี้ เพิ่มขึ้ น โดยวิธี
ใช้น้ำชะล้ างดินเพื่ อล้ างกรด ทำให้ค่ า

การปล่ อยน้ำให้ท่ วมขังแปลงแล้ วระบายออก ทำเช่นนี้
2-3 1-2ประมาณ
ครั้ง โดยเว้นให้ห่างกั นประมาณ สั ป ด า ห์
-   ดินจะเปรี้ยวจัดในช่วงดินแห้งหรือในฤดูแห้ง ดังนั้น การ

ชะล้ างควรเริ่มในฤดูฝนเพื่ อลดปริมาณการช้ำชลประทาน

การใช้น้ำชะล้ างความเป็นกรดต้ องกระทำต่ อเนื่ องและต้ อง

1 2หวังผลในระยะยาวมิใช่ กระทำเพียง หรือ ครั้งเท่านั้น

วิธีนี้เป็นวิธีที่ ง่ ายที่ สุด แต่ จำเป็นต้ องมีน้ำมากพอที่ จะใช้

ชะล้ างดินควบคู่ ไปกั บการควบคุมระดับน้ำใต้ ดินให้อยู่เหนือ

ชั้นดินเลนที่ มีสารประกอบไพไรต์ มาก เพิ่มขึ้ น อี ก

-    pHเมื่ อดินคลายความเปรี้ยวลงแล้วจะมีค่า

ทั้งสารละลายเหล็ กและอะลูมินัมที่ เป็นพิษก็ เจือจางลงจน

ทำให้พืชสามารถ เจริญเติ บโตได้ดีถ้ าหากใช้ปุ๋ยไนโตรเจน

และฟอสเฟตเช่วยก็ สามารถเจริญเติ บโต ได้ดีถ้ าหากใช้ปุ๋ย

ในโตรเจนและฟอสเฟตช่วยก็ สามารถทำการเกษตรได้

2วิธีการที่ การแก้ ไขดินเปรี้ยวโดยใช้ปู นผสมคลุกเคล้ ากั บ

หน้าดิน คื อ
- (mar)ใช้วัสดุปู นที่หาได้ง่ายในท้องที่ เช่น ใช้ปู นมาร์ล
( lime dust )สำหรับภาคกลาง หรือปูนฝุ่น
สำ ห รั บ ภ า ค ใ ต้
1-4 (หว่านให้ทั่ว
ตั นต่ อไร่แล้ วไถแปรหรือพลิ กกลบคื น

)ปริมาณของปู นที่ ใช้ขึ้ นอยู่กั บความรุนแรงในความเป็นกรด

ข อ ง ดิ น

การดำเนินงาน

3 วิธีการที่ การใช้ปู นควบคู่ไปกับการใช้น้ำ

ชะล้ างและควบคุมระดับน้ำใต้ ดินเป็นวิธีการที่
สมบู รณ์ที่ สุดและใช้ได้ผลมากในพื้ นที่ ซึ่ งดิน
เป็นกรดจัดรุนแรงหรือถูกปล่ อย ทิ้ งให้รกร้าง

 ว่างเปล่ าเป็นเวลานาน

วิธีการแก้ ไข ให้ปฏิ บัติ ไปตามลำดับขั้นตอนดั งนี้

-    1-2หว่านปูนให้ทั่วพื้ นที่ โดยใช้ปูน ตั นต่ อไ ร่

แล้ วไถกลบ

-       ใ ช้ น้ำ ช ะ ล้ า ง ค ว า ม เ ป็ น ก ร ด อ อ ก จ า ก ห น้ า ดิ น
-       ค ว บ คุ ม น้ำ ใ ต้ ดิ น ใ ห้ อ ยู่ เ ห นื อ ชั้ น ดิ น เ ล น ที่ มี

สารประกอบไพไรต์ มากเพื่ อป้องกั นมืให้ทำป ฏิ

กริยากั บออกซิเจน เพราะจะทำดินกลายเป็นก

รด

การปรับพื้นที่

เนื่ องจากสภาพพื้ นที่ ดินเปรี้ยวในแถบนี้เป็นป่าพรุ มี
ลั กษณะเป็นที่ ราบลุ่ ม จึงทำการระบายน้ำออกจาก

2พื้ นที่ ได้ลำบาก จำเป็นต้ องมีการปรับสภาพพื้ นที่ ซึ่ ง

โดยทั่วไปทำกั นอยู่ วิธี คื อ

3.1 การปรับผิวหน้าดิน โดยการทำให้ผิวหน้าดินลาด

เอี ยงเพื่ อให้น้ำไหลออกไปสู่คลองระบายน้ำได้หรือ
ถ้ าเป็นการทำนาก็ จัดตกแต่ งแปลงนาและคั นนาให้
สามารถเก็ บกั กน้ำและสามารถระบาย น้ำออกได้ถ้ า
ต้ องการ

3.2 การยกร่องปลูกพืช วิธีนี้ใช้สำหรับพื้ นที่ที่จะ

ทำการปลูกพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล หรือไม้ยืนต้ น แต่ วิธี
นี้จำเป็นจะต้ องมีแหล่ ง น้ำชลประทาน เพราะจะต้ อง
ขังน้ำไว้ในร่องเพื่ อใชถ่ ายเทเปลี่ ยน เมื่ อน้ำในร่อง
เ ป็ น ก ร ด จั ด
ในการขุ ดร่องนี้ เกษตรกรจะต้ องทราบว่าในพื้ นที่ นั้น
มีดินชั้นเลนซึ่ งเป็นดินที่ มีสารประกอบไพ ไรต์ มาก
อยู่ลึ กในระดับใด เพราะเมื่ อขุ ดร่องจะให้ลึ กเพียง

100ระดับดินเลนนั้น โดยทั่วไปจะลึกไม่เกิน

เซนติ เมตร
ขั้นตอนการขุ ดร่องสวน

นาย ฆัชฌากร ผินสุวรรณ
รหัส 6330122115007
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์

โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดำริ




โครงการพระราชดำริ

กังหันน้ำช
ัยพัฒนา

กังหันน้ำชัยพัฒนา

สารอินทรีย์หรือสิ่งปฏิกูลต่างๆ ในน้ำจะถูกย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ซึ่ง
มีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน (aerobic bacteria) และ
จุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic bacteria) หากในน้ำมี
ออกซิเจน (O2) เพียงพอจะทำให้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลายสาร
ได้ดี เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้ำ (H2O) ออกมา
แต่หากปริมาณ O2 ไม่เพียงพอ จุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะเข้ามา
ทำงานแทนที่และเกิดแก๊สไดไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) หรือแก๊สไข่เน่า
ออกมา เกิดปัญหาน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น ดังนั้น การบำบัดน้ำเสีย
เบื้องต้นคือการเติม O2 ที่ละลายในน้ำให้เพียงพอต่อการใช้ย่อยสลาย
สารอินทรีย์ของจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน

ที่มาของโครงการ

ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้ เป็นผลมาจากภาวะมลพิษของน้ำเน่าเสียที่มีปริมาณสูงขึ้น
จนยากแก่การแก้ไขให้บรรเทาเบาบางลงได้ ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของพสกนิกรทั้งหลายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
หัวฯทรงห่วงใยในความเดือดร้อนทุกข์ยากที่เกิดขึ้นนี้ ได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสภาพน้ำเน่าเสียในพื้นที่
หลายแห่งหลายครั้ง ทั้งในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และต่างจังหวัด พร้อมทั้งพระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับ
การแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียการนี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณ เพื่อการศึกษา

และวิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ โดยดำเนินการจัดสร้างเครื่องมือบำบัดน้ำเสียร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มีการผลิต
เครื่องกลเติมอากาศขึ้นในเวลาต่อมา และรู้จักกันแพร่หลายทั่วประเทศในปัจจุบัน คือ "กังหันน้ำชัย"

การดำเนินโครงการ

เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานรูปแบบและพระราชดำริ เรื่องการ
แก้ไขปัญหาน้ำเสีย โดยการเติมออกซิเจนในน้ำ

1.ใช้อากาศอัดเข้าไปตามท่อเป่าลงไปใต้ผิวน้ำแบบกระจายฟอง

2.น่าจะกระทำได้โดยกังหันวิดน้ำ วิดตักขึ้นไปบนผิวน้ำ แล้วปล่อยให้ตกลงไปยัง
ผิวน้ำตามเดิม โดยที่กังหันน้ำดังกล่าวจะหมุนช้า ๆ ด้วยกำลังของมอเตอร์ไฟฟ้า
เป็นฝอย ซองน้ำนี้จะถูกขับเคลื่อนให้หมุนโดยรอบ ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2
แรงม้า ระบบแรงดัน 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิร์ท ผ่านระบบส่งกำลังด้วยเฟือง
เกียร์ทดรอบและ/หรือจานโซ่ ซึ่งจะทำให้การหมุนเคลื่อนที่ของซองน้ำวิดตักน้ำ
ด้วยความเร็ว 5 รอบ/นาที สามารถวิดน้ำลึกลงไปใต้ผิวน้ำ ประมาณ 0.50
เมตร ยกน้ำขึ้นไปสาดกระจายเป็นฝอยเหนือผิวน้ำด้วยความสูงประมาณ 1.00
เมตร ทำให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสระหว่างน้ำกับอากาศกว้างขวางมากขึ้น เป็นผลทำให้
ออกซิเจนในน้ำละลายเข้าไปในน้ำได้อย่างรวดเร็ว และในขณะที่นำเสียถูกยกขึ้น
ไปสาดกระจายสัมผัสกับอากาศแล้วตกลงไปยังผิวน้ำนั้น จะเกิดการอัดอากาศ
ภายในซองน้ำภายใต้ผิวน้ำจนกระทั่งซองน้ำจมน้ำเต็มที่ ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการถ่ายเทออกซิเจนได้สูงขึ้นตามไปด้วย หลังจากนั้นน้ำที่ได้รับการเติม
อากาศแล้ว จะเกิดการถ่ายเทของน้ำเคลื่อนที่ออกไปด้วยการผลักดันของซอง
น้ำด้วยความเร็วของการไหล 0.20 เมตร/วินาที จึงสามารถผลักดันน้ำออกไป
จากเครื่อง มีระยะทางประมาณ 10.00 เมตร และผลพลอยได้อีกประการหนึ่ง
ได้แก่ การโยกตัวของทุนลอยในขณะทำงานจะส่งผลให้แผ่นไฮโดรฟลอยที่ติด
ตั้งไว้ในส่วนขนาดเล็กไม่เกิน 2 แรงม้า หรืออาจจะใช้พลังน้ำไหลก็ได้

หลักการทำงานของกังหันชัยพัฒนา

 1.โครงกังหันน้ำรูป 12 เหลี่ยม ติดตั้งซองพรุนบรรจุน้ำโดยรอบจำนวน

6 ซอง
2.รูพรุนของซองน้ำเมื่อขับเคลื่อนด้วยเกียร์มอเตอร์ จะหมุนรอบ

 ทำให้ซองน้ำวิดตักน้ำ โดยสามารถวิดน้ำลึกลงไปจากใต้ผิวน้ำประมาณ

0.5 เมตร
3.เมื่อซองน้ำถูกยกขึ้น น้ำจะสาดกระจายเป็นฝอยเหนือผิวน้ำ ได้สูงถึง
1 เมตร ทำให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสระหว่างน้ำกับอากาศมาก ทำให้ออกซิเจน
สามารถละลายเข้าไปในน้ำ ได้อย่างรวดเร็ว
4.น้ำที่ตกลงมายังผิวน้ำนั้นจะเกิดฟองอากาศ จมตามลงไปใต้ผิวน้ำ
ด้วย ในขณะที่ซองน้ำกำลังเคลื่อนที่ลงสู่ผิวน้ำแล้วกดลงไปใต้ผิวน้ำนั้น
จะเกิดการอัดอากาศภายในซองน้ำจนกระทั่งซองน้ำจมน้ำเต็มที่ทำให้
เพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทออกซิเจนได้สูงขึ้น

นายราชชัสสะ จงห่วงกลาง

6330122115010

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

โครงการในพระราชดําริ

ศู นย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

“ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแห่งใหม่ ลำดับที่
35” คือ “ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ”
อ.แม่ระมาด จ.ตาก ที่มีเป้าหมายในการเสริม
สร้างอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
เกษตรกรในพื้นที่ ด้วยการส่งเสริมพืชเศรษฐกิจ
ทดแทนการปลูกฝิ่ น และการทำไร่เลื่อนลอย

พระราชปณิธาน ร.10
‘เลอตอ’ โครงการหลวง
แห่งใหม่ พลิกฟื้ นชีวิต

"ชาวเขาปกากะญอ"

- MATICHON ONLINE -

Learn more about Voting & Why It
Matters for the Environment at

MATICHON.CO.TH

พระราชปณิธาน ร.๑๐ ‘เลอตอ’ โครงการหลวง
แห่งใหม่ พลิกฟื้ นชีวิตชาวเขาปกากะญอ



ด้วยพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระ
ราชปณิธานในการสืบสาน รักษา ต่อยอดงานของมูลนิธิโครงการหลวง เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทยภูเขา ลดการปลูกฝิ่ น และ
ฟื้ นฟูป่าต้นน้ำลำธาร ตามแนวทางพระราชทานพระบาทสมเด็จพระบรมชน
กาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ก่อตั้งเป็น “ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแห่งใหม่ ลำดับที่ 35” คือ “ศูนย์
พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ” อ.แม่ระมาด จ.ตาก ที่มีเป้าหมายในการเสริม
สร้างอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ ด้วยการส่งเสริม
พืชเศรษฐกิจทดแทนการปลูกฝิ่ น และการทำไร่เลื่อนลอย

โอกาสนี้ ประชาชนจิตอาสา “เราทำความ ดีด้วยหัวใจ” ในพื้นที่ ทั้ง
เกษตรกร เด็กนักเรียน เยาวชน และผู้เฒ่าผู้แก่ รวม 200 คน ได้ร่วม
กิจกรรมปลูกหญ้าแฝกป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน บริเวณศูนย์
พัฒนาฯ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องใน
วันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2562

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

นอกจากนี้ มูลนิธิโครงการหลวงยังมีความประสงค์ที่จะพัฒนา “ปัจจัย
พื้นฐาน” ในชุมชนดังกล่าว อาทิ ถนน ไฟฟ้า น้ำ จัดทำแปลงปลูกพืชในระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ำ ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ กรมชลประทาน กรม
พัฒนาที่ดิน กรมทางหลวงชนบท การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และสำนักงาน
จังหวัดตาก ผลักดันให้ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอเป็น “ต้นแบบการ
พัฒนาพื้ นที่สูงแห่งแรกของจังหวัดตาก”

เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา
ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานแก่งานโครงการหลวง และดำเนินการสนองพระราชปณิธานใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

สำหรับสภาพพื้นที่ในความดูแลของศูนย์พัฒนาฯครอบคลุม 2 อำเภอ
คือ อ.แม่ระมาด และ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก ซึ่งเป็นถิ่นอาศัยของชาวไทยภูเขา
เผ่าปกากะญอ 6 หมู่บ้าน จำนวน 1,111 ครัวเรือน เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน
ห่างไกล ทุรกันดาร ไม่มีไฟฟ้า ไม่มีน้ำประปา และราษฎรยากจน ถือครอง
พื้นที่ทำกินสืบทอดจากบรรพบุรุษ และดำรงชีพด้วยการปลูกฝิ่ นและบุกรุก
ป่าเพื่ อปลูกข้าวโพด

เส้นทางสู่โครงการหลวงเลอตอ

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

แปลงปลูกผัก

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

สมชาย เขียวแดง หัวหน้าศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ เล่าว่า แต่
เดิม อ.แม่ระมาด เป็นพื้นที่ปลูกฝิ่ นมากเป็น “อันดับ 1” ในประเทศไทย จน
กระทั่งปลายปี พ.ศ.2559 มูลนิธิโครงการหลวงได้เริ่มเข้าดำเนินงานพัฒนา
ชุมชนบ้านเลอตอ โดยใช้ประสบการณ์การพัฒนาพื้นที่สูงตลอดระยะเวลา
50 ปี (พ.ศ.2512-2562) ของโครงการหลวงมาปรับใช้ เริ่มจากการสำรวจพื้นที่
พูดคุยกับชาวบ้านเพื่อรับทราบข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ โดยยึดหลักสำคัญคือ
“ป่าอยู่ในส่วนที่เป็นป่า ทำไร่ทำสวนในส่วนที่ควรเพาะปลูก อย่าให้ทั้งสอง
ส่วนนี้รุกล้ำซึ่งกันและกัน”

“ปัญหาแรกที่พบคือการสื่อสารกับชาวบ้าน เพราะชาวบ้านที่นี่เป็นชนเผ่า
ปกากะญอ 100 เปอร์เซ็นต์ จึงต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจเพื่อให้ได้รับ
การยอมรับจากชาวบ้าน” หัวหน้าศูนย์เล่าด้วยน้ำเสียงจริงจัง
และแม้การบุกเบิกพัฒนาโครงการหลวงเลอตอจะยากลำบาก แต่ด้วยความ
มุ่งมั่นเพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จตามพระราชประสงค์และพระราชปณิธาน ใน
ระยะเวลาเพียง 1 ปี สภาพพื้นที่ที่เป็นไร่ฝิ่ นและไร่เลื่อนลอย เริ่มแปรเปลี่ยน
เป็นแปลงผัก ผลไม้เขตหนาว เกษตรกรเริ่มเข้าใจและเกิดจิตสำนึกในการ
ฟื้ นฟูอนุรักษ์ดิน น้ำ ป่า

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

แปลงปลูกเสาวรส

ส่วนดาวเด่นคือ “เสาวรส” เพราะปลูกในพื้นที่หนาวได้เปรียบเรื่อง
รสชาติ พื้นที่ใช้ปลูกน้อยแต่ให้ปริมาณเยอะ ดูแลไม่ยากมาก ตลอดจนเป็น
ไม้ผลที่ระบบการจัดการเก็บเกี่ยวสามารถ “รอได้” ซึ่งเหมาะกับวิถีชีวิตของ
ชาวปกากะญอซึ่งต้องปลูกข้าวตลอดทั้งปี การมาดูแลแปลงไม้ผลและพืช
ผักจึงมักจะทำในช่วงที่ว่างหลังจากงานหลัก

“การส่งเสริมการทำนาและปลูกข้าวไร่ถือเป็นภารกิจหลักของโครงการ
หลวงเพราะเป็นความมั่นคงทางด้านอาหาร ส่วนที่เป็นพืชรายได้อื่นๆ
เกษตรกรจะเป็นคนเลือกปลูกแล้วแต่ว่าใครชอบอะไร แล้วมาส่งให้เราจัดส่ง
การผลิตที่โรงคัดบรรจุ เป้าหมายตอนนี้คือปีหน้าสร้างถนนขึ้นมาถึงโรงคัด
บรรจุได้เสร็จก็พอใจแล้ว เพราะบนนี้เราสามารถบริหารจัดการได้ พร้อมขาย
พร้อมแปรรูป ที่จะวิ่งเข้ากรุงเทพฯ” หัวหน้าศูนย์กล่าว

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

อิทธิพล ดอยสะอาด อายุ 47 ปี เกษตรกรในโครงการหลวงเลอตอ รุ่นที่
2 เจ้าของพื้นที่เพาะปลูกกว่า 4 ไร่ เต็มไปด้วยเสาวรส อะโวคาโด พลับ และ
ลิ้นจี่ เผยว่า ก่อนหน้านี้เขาปลูกข้าวโพดเป็นอาชีพเสริมประมาณ 2 ปี แต่พอ
มีโครงการหลวงเข้ามาให้ความรู้ก็เลิกและไม่กลับไปปลูกอีกแน่นอน เพราะ
การปลูกข้าวโพดทำลายป่า และใช้ต้นทุนสูงมาก โดยเฉพาะสารเคมี

“ภูมิใจมากๆ ที่ได้เป็นเกษตรกรในโครงการหลวง เพราะตั้งแต่มี
โครงการหลวงเข้ามาในหมู่บ้านเรา หมู่บ้านเราเจริญขึ้นเยอะ จากที่เมื่อก่อน
แย่มาก ถนนไม่มี ต้องเดินอย่างเดียว เวลาชาวบ้านป่วยต้องหามไปเพราะ
ไม่มีรถ เสียชีวิตกลางทางก็มี” อิทธิพลกล่าวด้วยน้ำเสียงตื้นตัน

ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอตอ

ขณะที่ แปะแหละ บำเพ็ญขุนเขา อายุ 47 ปี เกษตรกรในโครงการหลวง
เลอตอรุ่นแรก เล่าว่า ด้วยสภาพการเดินทางที่ยากลำบาก ไม่มีถนนเข้าถึง
ไม่มีไฟฟ้า ไม่มีน้ำประปา ทำให้ชาวบ้านไม่สามารถออกไปทำงานในเมืองได้
จึงใช้ชีวิตกันตามอัตภาพ ครั้นมีการก่อตั้ง “ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงเลอ
ตอ” ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านก็เริ่มมีแนวโน้มดีขึ้น

“พอเห็นถนน ก็เหมือนเห็นอนาคต” แปะแหละกล่าวด้วยน้ำเสียงและแวว
ตาจริงจัง และเล่าว่า ตอนแรกเริ่มปลูกผักกลางแจ้ง เจอปัญหาเยอะทั้ง
หนอนและแมลง เจ้าหน้าที่โครงการหลวงก็ได้มาแนะนำให้ปลูกในโรงเรือน
ทั้งยังน้อมนำเอาแนวทางพระราชทานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาใช้คือการ
ปล่อยไก่เข้ามาในโรงเรือน โดยไก่จะช่วยจิกกินหนอนแมลงที่อยู่ในดินซึ่งเรา
มองไม่เห็น เป็นการกำจัดศัตรูพืชแบบหนึ่ง ส่วนแรงงานก็ทำกันเองใน
ครอบครัว ไม่มีลูกจ้าง

เมื่อถามว่า “คุณภาพชีวิตดีขึ้นไหม” แปะแหละบอกว่า ชีวิตเป็นอยู่ก็ดีขึ้น
เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา โดยเฉพาะการทำงานที่ไม่หนักเท่าเมื่อก่อน และเชื่อว่า
ชีวิตจะดีขึ้นอีกแน่นอน

จัดทำโดย

น.ส.ศรินทร์คณา มีทิพย์
ID 6330122115017

วิทยาการคอมพิวเตอร์ 52

เปน็ โครงการทีก่ ่อกำเนดิ จากพระมหากรุณาธิคณุ ที่ทรงหว่ งใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรใน
ท้องถิน่ ทุรกนั ดาร ทีต่ อ้ งประสบปัญหาขาดแคลนนำ้ เพือ่ อุปโภคบรโิ ภค และเกษตรกรรม อนั
เนื่องมาจากภาวะแหง้ แลง้ ซงึ่ มสี าเหตุมาจาก ความผันแปร และคลาดเคล่ือนของฤดูกาลตาม
ธรรมชาติ กลา่ วคอื ฤดูฝนเริ่มต้นลา่ เกนิ ไป หรือหมดเร็วกวา่ ปกตหิ รอื ฝนทิ้งชว่ งยาวในช่วงฤดูฝน
จากพระราชกรณยี กิจ ในการเสด็จพระราชดำเนนิ เยย่ี มพสกนิกร ในทกุ ภูมภิ าคอย่างตอ่ เนอ่ื ง
สม่ำเสมอนับแตเ่ สดจ็ ข้ึนเถลิงถวลั ย์ราชสมบัติ จนตราบเทา่ ทุกวนั นี้ ทรงพบเห็นวา่ ภาวะแหง้ แล้ง ได้
ทวคี วามถ่ี และมแี นวโนม้ ว่าจะรนุ แรงย่งิ ขึ้นตามลำดบั เพราะนอกจากความผันแปร และคลาดเคล่อื น
ของฤดกู าลตามธรรมชาตแิ ล้ว การตดั ไม้ทำลายป่า ยงั เป็นสาเหตุใหส้ ภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
เปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ซึง่ สร้างความเดอื ดรอ้ นใหแ้ กร่ าษฎร ในทุกภาคของประเทศ ทำความ
เสยี หายแกเ่ ศรษฐกิจโดยรวมของชาติเป็นมลู คา่ มหาศาลในแตล่ ะปี ตามเสน้ ทางท่เี คยเสดจ็ พระราช
ดำเนิน ทง้ั ภาคพ้ืนดนิ ทางอากาศยานดงั กลา่ ว ทรงสงั เกตเหน็ วา่ มีเมฆปริมาณมากปกคลมุ ท้องฟ้า
แตไ่ มส่ ามารถกอ่ รวมตัวกนั จนเกดิ เปน็ ฝนได้ เปน็ เหตใุ ห้เกิดภาวะฝนทงิ้ ชว่ งระยะยาวทั้ง ๆ ทเ่ี ปน็ ช่วง
ฤดฝู น ทรงคดิ คำนึงวา่ นา่ จะมมี าตรการทางวิทยาศาสตร์ ทีจ่ ะช่วยให้เมฆเหลา่ นน้ั กอ่ รวมตวั กนั จน
เกิดเปน็ ฝนได้ ทรงเชื่อมัน่ วา่ ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมอิ ากาศ และภมู ิประเทศของประเทศไทย
ซ่ึงตัง้ อย่ใู นภมู ภิ าคเขตร้อน และอยู่ในอทิ ธิพลของฤดมู รสมุ ของทวปี เอเชยี โดยเฉพาะฤดมู รสุม
ตะวนั ตกเฉียงใตซ้ ่งึ เปน็ ฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลกู ประจำปขี องประเทศไทย จะสามารถดดั แปรสภาพ
อากาศ ให้เกดิ เปน็ ฝนตกได้ อยา่ งแนน่ อน ตามท่ีทรงเลา่ ไวใ้ น RAINMAKING STORY จาก พ.ศ.
๒๔๙๘ เปน็ ต้นมา ทรงศึกษาค้นคว้า และวจิ ัยทางเอกสาร ทั้งดา้ นวิชาการอุตุนยิ มวทิ ยา และการดัด
แปรสภาพอากาศ ซง่ึ ทรงรอบรู้ และเชยี่ วชาญ เปน็ ทีย่ อมรบั ทั้งใน และตา่ งประเทศ จนทรงมน่ั
พระทยั จงึ พระราชทานแนวคดิ นแี้ ก่ ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกลุ ผู้เชย่ี วชาญในการวิจัยประดิษฐ์ทางดา้ น
เกษตรวศิ วกรรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณข์ ณะนั้น ในปีถัดมา และทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้

โปรดกระหม่อม ใหห้ าลู่ทางทจ่ี ะทำใหเ้ กดิ การทดลองปฏิบตั ิการในทอ้ งฟา้ ให้เปน็ ไปได้

โครงการฝนหลวง เกดิ ข้ึนจากพระราชดำริส่วนพระองค์ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ในปี
พ.ศ ๒๔๙๕ เม่ือคราวเสด็จพระราชดำเนินเย่ียมพสกนิกรในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้ทรง
รับทราบถงึ ความเดือดร้อน ทกุ ข์ยากของราษฎร และเกษตรกรท่ีขาด แคลนนำ้ อปุ โภค บริโภค
และการเกษตร จงึ ได้มีพระมหากรุณาธคิ ณุ พระราชทาน โครงการพระราชดำริ “ฝนหลวง”
ให้กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดำเนินการ ซึง่ ต่อมา ได้เกดิ เป็นโครงการคน้ ควา้ ทดลอง
ปฏบิ ัตกิ ารฝนเทียมหรือฝนหลวงข้ึน ในสังกดั สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมือ่
ปี ๒๕๑๒ ด้วยความสำเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตงั้ สำนกั งานปฏิบัติการ
ฝนหลวง ขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ือเป็นหนว่ ยงานรองรับ
โครงการ พระราชดำริ “ฝนหลวง” ตอ่ ไป
สำนกั งานปฏิบตั กิ ารฝนหลวง ไม่สามารถขยายขอบเขตการใหบ้ รกิ ารฝนหลวง แก่ประชาชน
และเกษตรกรได้อย่างท่วั ถึง และเพียงพอกับความต้องการใช้ประโยชน์ได้ เช่น ในฤดูแลง้ ปี พ.ศ.
๒๕๓๐

การทำฝนหลวงนี้มีข้นั ตอน ยงุ่ ยากหลายประการ จงึ ตอ้ งใชบ้ ุคลากรหลายฝา่ ยร่วมมือ
กนั จึงจะประสบความสำเรจ็ ซง่ึ เป็นเหตุผลหนึ่ง ที่ต้องมหี ลายหนว่ ยงานเข้ารว่ มกนั
สร้างสรรค์โครงการน้ี ใหเ้ ป็นฝนั ที่เปน้ จริงของพน่ี ้องชาวอีสานในส่วนของฝนหลวงพเิ ศษ
โครงการฝนหลวงพิเศษ หากสามารถช่วยเหลือพ่ีน้องชาวอสี านจากภาวะแห้งแล้ง ถึงแม้จะมี
การสรา้ งเขื่อนหรอื อา่ งเก็บน้ำขนาดเลก็ ในบางสว่ นของภูมิภาค แตก่ ย็ งั ไม่ เพียงพอท่จี ะเก็บกกั
น้ำสำรับอปุ โภค บริโภคและใช้ในการเกษตร โครงการน้จี ึงสามารถ บรรเทา่ ความเดือดร้อนได้
เพราะสามารถท่ีจะเข้าไปปฏิบตั ิ ภารกจิ ในจุดตา่ งๆ ซ่งึ เกดิ ภาวะแห้งแล้งได้ แม้ฝนที่ตกใน
บางคร้ัง อาจจะผิดเป้าหมายไปบ้าง เนื่องจาก ขอ้ ผิดพลาดของสภาพลมฟา้ อากาศ หรอื จาก
การคำนวน แต่กเ็ ป็น เพียงสว่ นน้อย เมอ่ื เทียบกับผลสำเร็จซึ่งนับได้วา่ อยูใ่ นระดบั ที่น่าพึงพอใจ

จากทก่ี ล่าวมาในขา้ งต้น สามารถพสิ จู นไ์ ด้ว่า กองทัพเรือไม่ได้มเี พียงหน้าทใี่ นการ
ปกปอ้ งนา่ นน้ำไทยเท่าน้ัน แตย่ ังไดเ้ ข้าชว่ ยเหลือราษฎรในภมู ิภาคต่างๆ ในหลาย โครงการท่ี
ร่วมมือกบั ภาครฐั อ่ืนๆ เช่น โครงการดบั ไฟปา่ ท่ี จว.เชยี งใหม่ สามารถรกั ษา พ้ืนท่ีป่าให้พน้ จาก
ความเสยี หายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ทง้ั ท่ีเพอ่ื รบั ใชเ้ บื้องพระยคุ ลบาท ในการชว่ ยเหลือราษฎร

ของพระองค์ท่าน ให้อยู่ดีกินดี มีคุณภาพชวี ติ ท่ดี ีขึ้น
ความรับผิดชอบของของทัพเรือท่ีมีต่อโครงการฝนหลวง
กองทัพเรือได้รว่ มเขา้ โครงการน้ำพระทัยจากในหลวงในสว่ นของ ฝนหลวงพเิ ศษ มา
ต้งั แตเ่ ร่มิ ตน้ โดยผบู้ ัญชาการทหารเรือ มคี ำสงั่ ให้ดำเนินการดดั แปลง บ.C-47 จำนวน ๒ ลำ
เพื่อใช้ในการโปรยสารเสมีและทำการทดลองในช่วงแรก ตั้งแต่ ๑๕ เม.ย.-๓๐ ต.ค.พ.ศ.๒๕๓๐
รวม ๒๐๐ วนั ปรากฎว่าประสบความสำเรจ็ เป็นท่ีนา่ พอใจ และได้รับหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบทำฝน
หลวง ในพ้นื ท่ี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยส่ง บ. C-47 ๑ ลำ ร่วมกบั กรมตำรวจ ซ่ึง
ส่ง บ.แบบปอรต์ เตอร์เข้ารว่ มโครงการ จำนวน ๓ ลำ มศี ูนยป์ ฏิบตั กิ ารอยทู่ ี่สนามบินขอนแกน่
สว่ นภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนล่าง เป็นหน้าที่รับผิดชอบของกองทพั อากาศ ในปี พ.ศ.
๒๕๓๕ บ.C-47 ไดเ้ ลิกปฏิบัตภารกิจ เนื่องจากมีอายุการใช้งานมานาน และมีปัญหาดา้ นการ
ซ่อมบำรงุ เนื่องจากบริษัทผผู้ ลิต เลิกสายการผลิตอะไหล่ กองการบนิ ทหารเรอื จงึ ได้จัด บ.ธก.

๒ (N-24A) สังกดั ฝูงบิน ๒๐๑ กองบิน

การทำฝนหลวง เป็นกรรมวิธกี ารเหนยี่ วนำน้ำจากฟ้า ซ่ึงต้องใชเ้ คร่อื งบินท่ีมอี ตั ราการบรรทกุ
มาก ๆ บรรจสุ ารเคมีข้ึนไปโปรยในท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของจำนวนเมฆ และสภาพของ
ทศิ ทางลมประกอบกัน ปัจจัยสำคัญท่ที ำให้เกิดฝน คือ ความร้อนช้นื ปะทะความเย็น และมแี กน
กลน่ั ตัวที่มีประสทิ ธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม น่ันคอื เม่ือมวลอากาศ ร้อนชื้นทีร่ ะดับผวิ พ้ืนขนึ้
สู่อากาศเบื้องบน อณุ หภูมขิ องมวลอากาศจะลดต่ำลงจนถึงความสูงทร่ี ะดับหนงึ่ อุณหภูมทิ ลี่ ด
ต่ำลงนนั้ มากพอจะทำให้ไอน้ำในมวลอากาศอ่มิ ตวั จนเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอนำ้ ขึ้นบน
แกนกลั่นตัวจนกลายเปน็ ฝนตกลงมาฉะน้นั สารเคมดี งั กลา่ ว จงึ ประกอบดว้ ยสตู รรอ้ น เพ่ือใช้
กระตุ้น กลไกการหมุนเวยี นของ บรรยากาศสูตรเย็น ใชเ้ พ่ือกระตุ้นกลไกการรวมตวั ของละออง
เมฆให้โตขึ้นเป็นเมด็ ฝน และสูตรท่ใี ช้เป็นแกนดูดซบั ความชน้ื เพื่อกระตุน้ กลไกระบบการกลัน่ ตัว
ให้มีประสิทธภิ าพที่สูงข้ึน มขี ้ันตอนดงั นี้

การกอ่ กวน เป็นข้นั ตอนท่ีเมฆธรรมชาติเร่มิ ก่อตวั ทางแนวตง้ั การปฏบิ ัติการฝนหลวงใน
ข้ันตอนนี้ จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระต้นุ ให้มวลอากาศเกิดการลอยตวั ขึ้นสู่เบ้อื งบน เพ่อื ให้เกดิ
กระบวนการชักนำไอนำ้ หรือ ความชื้นเข้าสรู่ ะบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาทีจ่ ะปฏบิ ัตกิ ารใน
ขน้ั ตอนนี้ ไม่ควรเกิน 10.00 น. ของแต่ละวนั โดยการใชส้ ารเคมีท่ีสามารถดูดซบั ไอน้ำจากมวล
อากาศได้ แม้จะมีเปอรเ์ ซ็นต์ความชืน้ สัมพทั ธ์ตำ่ เพ่ือกระตุน้ กลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้ำ
ในมวลอากาศ ทางด้านเหนอื ลมของพ้ืนที่เป้าหมาย เมอื่ เมฆเริ่มเกดิ มีการก่อตวั และเจริญเติบโต
ในแนวตงั้ จึงใช้สารเคมีท่ใี หป้ ฏิกิริยาคายความร้อน โปรยเป็นวงกลม หรือเป็นแนวถดั มาทางใต้
ลมเปน็ ระยะทางสนั้ ๆ เข้าส่กู อ้ นเมฆ เพ่ือกระตุ้นใหเ้ กดิ กลุ่มแกนร่วมในบริเวณปฏิบัติการสำหรับ
ใช้เปน็ ศูนยก์ ลางท่จี ะสร้างกลุ่มเมฆฝนใน

การเลย้ี งให้อ้วน เป็นขั้นตอนที่เมฆกำลงั ก่อตัวเจรญิ เติบโตซงึ่ เปน็ ระยะทีส่ ำคัญมากในการ
ปฏิบตั กิ ารฝนหลวง เพราะจะต้องไปเพิ่มพลงั งานให้กบั การลอยตวั ของกอ้ นเมฆใหย้ าวนาน
ออกไป โดยตอ้ งใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์ หรือศิลปะแหง่ การทำฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน

เพอ่ื ตัดสนิ ใจ โปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ท่ใี ดของกล่มุ ก้อนเมฆ และในอตั ราใดจึง
เหมาะสม เพราะ ตอ้ งให้กระบวนการเกดิ ละอองเมฆสมดลุ กบั การลอยตัวของเมฆ มฉิ ะนนั้ จะทำ

ให้เมฆสลาย

การโจมตี ถอื เปน็ ข้ันตอนสุดทา้ ยของกรรมวิธปี ฏิบัตกิ ารฝนหลวง โดย เมฆ หรือ กลมุ่ เมฆฝน
ตอ้ งมคี วามหนาแนน่ มากพอท่ีจะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกล่มุ เมฆจะมีเมด็ น้ำขนาดใหญ่
มากมาย หากเคร่ืองบินบินเขา้ ไปในกลุ่มเมฆฝนนี้ จะมเี ม็ดน้ำเกาะตามปกี และกระจังหน้าของ
เคร่ืองบิน ซึ่งในจะต้องปฏิบัติการเพ่ือลดความรุนแรงในการลอยตัวของก้อนเมฆ หรือทำให้อายุ
การลอยตวั น้ันหมดไป สำหรับการปฏบิ ตั กิ ารในขั้นตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุง่ หมายของการ
ทำฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็น คือ เพอ่ื เพิม่ ปริมาณฝนตก และเพอ่ื ให้เกิดการกระจายการตก
ของฝน
ด้วยความสำคัญ และปริมาณความตอ้ งการใหม้ ปี ฏิบัติการฝนหลวงช่วยเหลือทวีจำนวนมากขน้ึ
ฉะนั้นเพ่อื ชว่ ยเหลือทวแี ห้งแล้งจำนวนมากน้ัน เพอื่ ใหง้ านปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงสามารถ
ปฏิบตั ิการช่วยเหลือเกษตรกรไดก้ ว้างขวาง และได้ผลดียงิ่ ขนึ้ รัฐบาลจงึ ไดต้ ราพระราชกฤษฎกี า
ก่อตั้ง สำนักงานปฏบิ ตั ิการฝนหลวง ในสงั กดั สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เม่ือ
วันที่ 21 กนั ยายน พ.ศ. 2518 เพ่อื เป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดำริฝนหลวงต่อไป
กระทงั่ มีการปรับปรุง และพฒั นาปฏิบตั กิ ารฝนหลวงมาจนถงึ ปัจจุบัน

เนือ่ งจากการทำฝนเป็นเทคโนโลยีทย่ี ังใหมต่ ่อการรับรู้ของบคุ คลท่ัวไป และในประเทศไทยยงั ไม่
มีนักวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านนใ้ี นระยะแรกเริ่มของโครงการฯ ดังน้ัน พระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หวั จึงทรงเป็นกำลงั สำคัญ และทรงร่วมในการพฒั นากจิ กรรมนี้ ทง้ั โดยทางตรงและ
ทางอ้อม ทรงวางแผนการทดลองปฏิบัตกิ ารการติดตามและ ประเมินผลปฏิบตั กิ ารทกุ ครง้ั
อยา่ งใกลช้ ิดและรวดเรว็ ชนดิ วันตอ่ วัน
นอกจากน้ันยังทรงปฏบิ ตั ใิ ห้เป็นแบบอย่างในการประสานงาน ขอความรว่ มมือจากผเู้ ชย่ี วชาญ
และองคก์ รตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งเพื่อสนับสนุนกิจกรรม อาทิ เช่น กรมอุตนุ ยิ มวิทยา กรม
ชลประทาน การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย กองบนิ ตำรวจ กองการส่ือสารกรมตำรวจ
และกองทัพอากาศ ในรูปของศูนย์อำนวยการฝนหลวงพเิ ศษสวนจิตรลดา และกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ในรูปของคณะกรรมการดำเนนิ การทำฝนหลวง ซึง่ การทพ่ี ระองค์ตดิ ตามโครงการ
ดังกล่าวอย่างใกล้มาตลอด และได้ให้แนวทางในการปฏิบัตอิ ย่างเปน็ รปู ธรรม จงึ ทำให้โครงการ
ฝนหลวง พัฒนากา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ เมื่อเทยี บกับประเทศอ่นื ๆ

สบื เนื่องจากเดิมที โครงการฝนหลวง มีขึ้นเพ่ือรับภาระหน้าทใี่ นการบำบดั ทกุ ข์บำรงุ สขุ แก่
ประชาชน ดงั น้ัน นอกจากการบรรเทาปัญหาภัยแล้งแล้ว เมอื่ หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องได้รับการ
รอ้ งเพ่อื ขอใหข้ ยายการบรรเทาความเดือดร้อนทีส่ ืบเน่อื งมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม และ
ภาวะส่งิ แวดลอ้ มท่ีเปน็ พิษ การทำฝนหลวงจึงมีประโยชนใ์ นด้านอน่ื ๆ ท่ีน่าสนใจ โดยเฉพาะการ
มสี ่วนช่วยเหลือในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ดงั น้ี
ดา้ นการเกษตร : มกี ารร้องขอฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำในช่วงที่เกดิ ภาวะฝนแล้ง
หรือฝนทิ้งชว่ งยาวนาน ซ่ึงมีผลกระทบต่อแหล่งผลติ ทางการเกษตรท่กี ำลังใหผ้ ลผลติ ในพืน้ ท่ี
ต่าง ๆ
ด้านการอปุ โภค บริโภค : การทำฝนหลวงไดช้ ่วยตอบสนองภาวะความต้องการ น้ำกิน น้ำใช้ ที่
ทวคี วามรนุ แรงมากในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เน่ืองจากคณุ สมบัติของดนิ ในภมู ิภาคนี้เปน็ ดิน
ร่วนปนทรายไมส่ ามารถอุ้มซับน้ำได้ จึงไม่สามารถเก็บกกั น้ำไดด้ ีเท่าที่ควร
ด้านการแกไ้ ขปญั หาคุณภาพนำ้ : เน่อื งจากใต้พ้ืนดินของภาคอสี านมีแหล่งหินเกลอื เป็นจำนวน
มากและครอบคลุมพื้นทกี่ ว้างขวาง หากยามใดอ่างเก็บนำ้ ขนาดเลก็ และขนาดกลางเกดิ มี
ปริมาณน้ำเหลือน้อย ยอ่ มส่งผลให้นำ้ เกิดน้ำกรอ่ ยหรอื เค็มได้ ดังนั้น การทำฝนหลวงมคี วามจำ
เป็นมากในการช่วยบรรเทาปญั หาดงั กล่าว
ดา้ นการเสริมสร้างเส้นทางคมนาคมทางน้ำ : เม่ือปริมาณนำ้ ในแม่นำ้ ลดต่ำลง จนไม่สามารถ
สัญจรไปมาทางเรือได้ จึงต้องมีการทำฝนหลวงเพ่ือเพิ่มปริมาณน้ำใหก้ บั บริเวณดังกล่าว เพราะ
การขนส่งสินค้าทางน้ำเสียค่าใชจ้ า่ ยนอ้ ยกว่าทางอ่ืน และการจราจรทางน้ำยังเปน็ อีกชอ่ งทาง
หน่ึง สำหรบั ผู้ทีต่ ้องการหลีกเลี่ยงปัญหาการจราจรทางบก ที่นบั วนั ย่ิงทวีความรุนแรงมาก
ด้านการปอ้ งกนั และบำบัดภาวะมลพษิ ของสง่ิ แวดล้อม : หากน้ำในแม่นำ้ เจ้าพระยาลดน้อยลง
เมื่อใด น้ำเค็มจากทะเลอ่าวไทยก็จะไหลหนนุ เนื่องเข้าไปแทนที่ทำให้เกิดนำ้ กร่อย และสรา้ งความ
เสยี หายแก่เกษตรกรเป็นจำนวนมาก ดังน้ันการทำฝนหลวง จงึ ช่วยบรรเทาภาวะดงั กล่าว อีก
ทง้ั การทำฝนหลวงยังชว่ ยในเร่ืองของสิ่งแวดล้อมทีเ่ ปน็ พิษอนั เกิดจากการระบายน้ำเสียท้งิ ลงสู่
แมน่ ้ำเจ้าพระยา โดยปริมาณนำ้ จากฝนหลวงจะช่วยผลักสง่ิ แวดล้อมทเ่ี ป็นพิษให้ออกสู่ท้อง
ทะเล ทำให้ภาวะมลพษิ จากนำ้ เสยี เจือจางลง
ดา้ นการเพ่ิมปริมาณน้ำในเขอื่ นภูมิพลและเขอื่ นสิริกิติ์เพ่อื ผลิตกระแสไฟฟ้า : เนือ่ งจาก
บา้ นเมืองเราเริม่ ประสบปัญหาการขาดแคลนพลงั งานไฟฟ้ามากข้นึ เน่ืองจากมีความต้องการ
ใช้ไฟฟ้าในปรมิ าณทส่ี งู มาก ดังนนั้ เมื่อเกดิ ภาวะวิกฤติ โดยระดับนำ้ เหนอื เขือ่ นมรี ะดับต่ำมากจน
ไมเ่ พยี งพอต่อการใช้พลังงานนำ้ ในการผลิตกระแสไฟฟา้ การทำฝนหลวงจงึ มีความสำคญั ใน
ด้านดังกลา่ วดว้ ยเช่นกัน เปน็ ต้น ทงั้ น้ี จากประโยชน์นานปั การของโครงการฝนหลวง อันเกดิ
จากพระปรีชาสามารถ และสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ท่ีทรง
คำนึงถงึ ประโยชน์ทุกข์สขุ ของราษฎร

นาย ณฐั พัชร์ ธติ กิ ลุ ธรณ์
6330122115014

สาขาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 52

โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ

โครงการหญ้าแฝก

โครงการในพระราชดาริ
ในพระบามสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ ๙

โครงการหญ้าแฝก

ใหใ้ ช้หญา้ แฝกในการพฒั นา ปรับปรงุ บารงุ ดิน
ฟ้นื ฟดู ินใหม้ คี วามอุดมสมบรู ณ์ และแก้ปัญหาดินเส่อื มโทรม

โครงการหญา้ แฝก

แนวพระราชดาริในด้านการอนรุ ักษแ์ ละฟื้นฟดู ิน
ขององคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช
ท่สี าคัญมี 4 สว่ น คือ
(1) แบบจาลองการพัฒนาพ้ืนท่ีที่มีสภาพขาดความสมบูรณ์

ดนิ ปนทราย และปัญหาการชะล้างพงั ทลาย
(2) การแกป้ ญั หาดินเปรีย้ ว โดยทฤษฎีแกลง้ ดิน
(3) การอนรุ กั ษ์ดินโดยหญา้ แฝก
(4) การห่มดิน ฉะนั้น เพื่อความต่อเน่ืองในแนวพระราชดาริ

ในเร่ือง “ดิน” จึงนาเสนอตอ่ ในเร่ือง “หญ้าแฝก”

“ความเปน็ มา” การอนรุ ักษ์ดนิ ดว้ ยหญ้าแฝก

กอ่ นหนา้ ปี 1991 (พ.ศ.2534) ตามข้อแนะนาของธนาคารโลก
(World Bank) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงศึกษา
รวบรวมเร่อื งการใชป้ ระโยชน์จากหญ้าแฝกมาก่อนแล้ว
เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2534 ทรงตรัสว่าหญ้าแฝกเป็นหญ้า
ของไทยสามารถใช้อนุรักษ์ดินและน้าได้ดี ป้องกันการชะล้าง
พงั ทลายของดิน ในขณะนน้ั ยงั ไม่มีใครรู้จักหญา้ แฝก
ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระองค์แรก
ท่ีทาการทดลองเลี้ยงและปลูกหญ้าแฝกเป็นจานวน 1 ล้านถุง
แรกท่ดี อยตุง

“ความเป็นมา” การอนรุ กั ษด์ ินดว้ ยหญา้ แฝก

จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงศึกษาเร่ือง
ก า ร ใ ช้ ห ญ้ า แ ฝ ก ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ดิ น แ ล ะ น้ า ต า ม เ อ ก ส า ร
ของธนาคารโลก ท่ีได้ส่งเสริมเร่ืองการใช้หญ้าแฝกเป็นพืช
เพื่อการป้องกันการชะล้างหน้าดินซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ที่ทาให้
ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ซ่ึงได้มีการศึกษา ทดลองใช้อย่าง
ได้ผลดีในประเทศแถบเอเชียหลายประเทศ ดังพระราชดารัส
ของพระองค์ท่าน ณ ศาลาเริง วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน
จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ เม่ือวันท่ี 21 กมุ ภาพันธ์ 2546 วา่

“ให้ใช้หญ้าแฝกในการพัฒนา ปรับปรุงบารุงดิน ฟ้ืนฟูดินให้มี
ความอุดมสมบรู ณ์ และแก้ปัญหาดนิ เสอื่ มโทรม”

“ความเป็นมา” การอนรุ กั ษด์ นิ ดว้ ยหญ้าแฝก

ดาเนินการขยายพันธุ์ ทาให้มีกล้าหญ้าแฝกเพียงพอด้วย
ท่ีสาคัญต้องไม่ลืมหน้าท่ีของหญ้าแฝก ในการอนุรักษ์ดินและ
น้า และเพื่อการรักษาดิน ให้ทุกหน่วยงานและหน่วยงาน
ราชการท่ีมีศักยภาพในการขยายพันธุ์ ให้ความร่วมมือ
กับกรมพัฒนาที่ดิน ในการผลิตกล้าหญ้าแฝก และแจกจ่าย
กลมุ่ เป้าหมายที่ตอ้ งการให้เพียงพอ

ประโยชน์มหาศาลของหญ้าแฝก

“หญ้าแฝก” พืชมหัศจรรย์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงนามาเผยแพร่กว่าทศวรรษน้ัน เป็นพืชที่ให้คุณประโยชน์
อนันต์ในด้านการอนุรักษ์ดินและน้าอย่างย่ังยืน โดยสามารถ
นาไปใช้ได้ในแทบทุกสภาพพ้ืนท่ีของประเทศไทย ด้วยเหตุ
ท่หี ญา้ แฝกไมใ่ ช่วัชพชื เพราะมคี ณุ คา่ ตอ่ การฟน้ื ฟูสภาพแวดล้อม
โดยเฉพาะการป้องกนั การพงั ทลายของดิน การฟื้นฟูสภาพดิน
การสร้างความชุ่มช้ืนให้แก่พื้นดิน การอนุรักษ์แหล่งน้า
ต ล อ ด จ น ยั ง ส า ม า ร ถ เ อ้ื อ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า พื้ น ที่
เกษตรกรรมต่างๆ ไดอ้ ย่างหลากหลายอกี ด้วย

ประโยชนม์ หาศาลของหญา้ แฝก

กรมพฒั นาท่ดี นิ ได้นาเอาหญ้าแฝกมาปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลาย
หนา้ ดนิ ตามลาคลอง อ่างเก็บน้า หญา้ แฝกช่วยกรองทาใหน้ ้าใส
เพราะความมหศั จรรย์ของหญ้าแฝกทมี่ ีรากยาวที่สดุ ในบรรดาพืช
ตระกูลหญ้าท้ังหมด ดินท่ีแข็งมากก็ทาให้ร่วนซุยด้วยหญ้าแฝก
ภายใน 6–8 เดือน หญ้าแฝกจะหย่ังรากลึกชอนไชใหด้ นิ เกดิ รู
พรุนทาใหด้ ินใช้ประโยชนไ์ ด้ และสามารถฟน้ื ฟูดินที่เสอ่ื มสภาพ
ให้ใชป้ ระโยชน์ไดภ้ ายใน 1–2 ปี

ประโยชนม์ หาศาลของหญา้ แฝก

การดาเนินโครงการ

พระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีให้หน่วยงานต่าง ๆ
ดาเนนิ การศกึ ษาและปลูกหญา้ แฝกมใี จความสรปุ ได้ว่า

๑. หญ้าแฝกเป็นพืชที่มีระบบรากลึก แผ่กระจายลงไป
ในดินตรง ๆ เป็นแผงเหมือนกาแพง ช่วยกรองตะกอนดนิ และ
รกั ษาหนา้ ดนิ ไดด้ ี จึงควรนามาศึกษาทดลองปลูก ให้ทดลอง
ปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดินในพ้ืนที่ศูนย์
ศึกษาการพฒั นาและพน้ื ทีอ่ ื่น ๆ ที่เหมาะสมอย่างกว้างขวาง

การดาเนนิ โครงการ

๒. การดาเนินการทดลองการปลูกหญ้าแฝก
ให้พิจารณาลักษณะของภูมิประเทศ ซึ่งแบ่งตามลักษณะของ
พ้นื ท่ีดังนี้

ก. การปลูกหญา้ แฝกบนพน้ื ทีภ่ เู ขา ให้ปลูกหญ้าแฝกตาม
แนวขวางของความลาดชนั และในร่องน้าของภูเขา เพื่อป้องกันการ
พงั ทลายของหนา้ ดนิ และชว่ ยเกบ็ ความชื้นในดินไวด้ ้วย

ข. การปลูกหญ้าแฝกบนพ้ืนท่ีราบ ให้ดาเนินการใน
ลักษณะดงั น้ี
- ปลูกโดยรอบแปลง
- ปลูกลงในแปลง แปลงละ ๑ หรือ ๒ แนว
- สาหรบั แปลงพชื ไร่ ให้ปลูกตามร่องสลับกบั พชื ไร่

การดาเนินโครงการ

ค. การปลูกหญ้าแฝกรอบสระน้า เพื่อป้องกันอ่างเก็บ
น้ามิให้ต้ืนเขินอันเน่ืองมาจากตะกอนจากการพังทลายของดิน
ตลอดจนช่วยรกั ษาดินเหนืออ่างและช่วยให้ป่าไม้ในบริเวณพ้ืนที่
รบั นา้ ทวคี วามสมบรู ณข์ ้ีนอย่างรวดเรว็

ง. การปลูกหญ้าแฝกเหนือบริเวณแหล่งน้า ปลูกแฝก
เป็นแนวป้องกันตะกอนดินและกรองของเสียต่าง ๆ ที่ไหลลง
ในแหล่งน้าทั้งนี้ให้บันทึกภาพก่อนดาเนินการและหลังการ
ดาเนินการไว้เป็นหลกั ฐาน

จัดทาโดย

นายณฐภัทร หุ่นสนิ
รหสั นักศึกษา 6330122115012
สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ รุ่นที่ 52

พ ร ะ ร า ช ดำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน

โ ค ร ง ก า ร ใ น พ ร ะ ร า ช ดำ ริใ น
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

พ ร ะ ร า ช ดำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน

โ ค ร ง ก า ร นี้ เ ป็ น ส ถ า น ที่ ท่ อ ง เ ที่ ย ว ที่ น่ า ส น ใ จ อี ก ที่
ห นึ่ ง ข อ ง จ . เ พ ช ร บุ รี ซึ่ ง ภ า ย ใ น โ ค ร ง ก า ร มีทั้ง

แ ป ล ง ป ลูก พืช เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ พืช ไ ร่ห ล า ย ช นิ ด
อ า ทิ สับ ป ะ ร ด ม ะ น า ว ช ม พู่เ พ ช ร มัน เ ท ศ

ย า ง พ า ร า แ ล ะ แ ป ล ง ป ลูก ข้า ว โ ด ย ทั้ง ห ม ด นี้ ใ ช้
เ ก ษ ต ร อิ น ท รีย์ ไ ม่ใ ช้ส า ร เ ค มี มีฟ า ร์ม โ ค น ม

ฟ า ร์ม ไ ก่ แ ล ะ มีกั ง หัน ล ม ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้า ข า ย ใ ห้กั บ ก า ร
ไ ฟ ฟ้า ส่ว น ภูมิภ า ค แ ถ ม มีมุ ม ถ่ า ย ภ า พ ส ว ย ๆ ใ ห้

เ ก็ บ ภ า พ เ ป็ น ที่ ร ะ ลึ ก กั น

พ ร ะ ร า ช ดำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน

ค ว า ม เ ป็ น ม า

ที่ ม า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร นี้ มีว่า ข้า ร า ช บ ริพ า ร ใ น
พ ร ะ อ ง ค์ ไ ด้ ม า ซื้ อ ที่ ดิ น บ ริเ ว ณ นี้ สำ ห รับ อ ยู่อ า ศั ย
ป ลูก พืช ผ ล ต่ อ ม า ค ว า ม ท ร า บ ถึ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ

พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว ท ร ง ส น พ ร ะ ทั ย จึง ไ ด้ เ ส ด็ จ
พ ร ะ ร า ช ดำ เ นิ น ม า ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร ที่ ดิ น แ ล ะ ไ ด้ ท ร ง
ซื้ อ ที่ ดิ น บ ริเ ว ณ ดั ง ก ล่ า ว จำ น ว น 2 5 0 ไ ร่ สำ ห รับ

เ พ า ะ ป ลูก พืช ทำ เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช ดำ ริ
แ ล ะ ไ ด้ มีมีช า ว บ้า น ไ ด้ นำ มัน เ ท ศ ที่ ป ลูก ม า

ทูล เ ก ล้ า ฯ ถ ว า ย พ ร ะ อ ง ค์ แ ต่ เ มื่ อ เ ส ด็ จ ก ลั บ มิไ ด้
ท ร ง นำ มัน หัว นั้น ไ ป ด้ ว ย แ ต่ เ มื่ อ เ ส ด็ จ ก ลั บ ม า อี ก
ค รั้ง ท ร ง พ บ ว่า มัน หัว นั้น ง อ ก เ ป็ น ต้ น จึง มีพ ร ะ

ร า ช ดำ รัส ว่า มัน อ ยู่ที่ ไ ห น ก็ ง อ ก ไ ด้ จึง มีพ ร ะ
ร า ช ดำ ริใ ห้จัด เ ป็ น พื้ น ที่ เ พ า ะ ป ลูก พืช ต่ า ง ๆ โ ด ย

เ น้ น ที่ พืช ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง เ พ ช ร บุ รี เ ช่น ม ะ พ ร้า ว
ช ม พู่เ พ ช ร ม ะ น า ว ก ะ เ พ ร า สัป ป ะ ร ด ข้า ว ไ ร่พัน ธุ์

ต่ า ง ๆ แ ล ะ ท ร ง มีพ ร ะ ร า ช ดำ ริใ ห้ป ลูก แ ป ล ง
ท ด ล อ ง มัน เ ท ศ ใ น ที่ ดิ น ส่ว น ซึ่ ง โ ค ร ง ก า ร นี้ เ ป็ น
โ ค ร ง ก า ร พ ร ะ ร า ช ดำ ริล่ า สุด ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว อี ก ทั้ง ยัง ท ร ง ใ ห้ป รับ ป รุ ง ร ะ บ บ

ร ะ บ า ย น้ำ ที่ อ่ า ง เ ก็ บ น้ำ ห น อ ง เ สือ เ พื่ อ ใ ช้ใ น
โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน ต า ม พ ร ะ ร า ช ดำ ริ บ้า น ห น อ ง
ค อ ก ไ ก่ ตำ บ ล เ ข า ก ร ะ ปุ ก อำ เ ภ อ ท่ า ย า ง จัง ห วัด

เ พ ช ร บุ รี อี ก ด้ ว ย

พ ร ะ ร า ช ดำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน
วัต ถุป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก

ของโครงการ

1 . เ พื่ อ ใ ห้เ ป็ น แ ห ล่ ง ร ว บ ร ว ม พัน ธุ์พืช
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พืช พัน ธุ์ดี ข อ ง อำ เ ภ อ
ท่ า ย า ง แ ล ะ ข อ ง จัง ห วัด เ พ ช ร บุ รี
2 . เ พื่ อ เ ป็ น แ ห ล่ ง เ รีย น รู้ด้ า น
ก า ร เ ก ษ ต ร แ ก่ เ ก ษ ต ร ก ร
3 . เ พื่ อ ใ ห้ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ที่ เ ข้า ม า มี
ส่ว น ร่ว ม ใ น ก า ร จัด ทำ แ ป ล ง ห รือ ม า ช่ว ย
ง า น พ ร ะ อ ง ค์

พ ร ะ ร า ช ดำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน

เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง
โครงการ

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน ต า ม พ ร ะ ร า ช ดำ ริ มีเ ป้ า
ห ม า ย ต้ อ ง ก า ร ใ ห้เ ป็ น ศู น ย์ร ว ม พืช

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง อ . ท่ า ย า ง เ พ ช ร บุ รี
โ ด ย เ ลื อ ก พัน ธุ์พืช ท้ อ ง ถิ่ น ที่ ดี ที่ สุด เ ข้า ม า
ป ลูก แ ล้ ว ใ ห้ภ า ค รัฐ แ ล ะ ช า ว บ้า น ร่ว ม ดูแ ล

ด้ ว ย กั น เ พื่ อ แ ล ก เ ป ลี่ ย น แ น ว คิ ด
เ ป็ น ก า ร บ ริห า ร ท รัพ ย า ก ร แ บ บ บู ร ณ า ก า ร
โ ด ย ใ ช้ท รัพ ย า ก ร ที่ มีอ ยู่ใ ห้คุ้ ม ค่ า ม า ก ที่ สุด
โ ด ย ค า ด ว่า อ น า ค ต จ ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง เ รีย น รู้ใ ห้

กั บ ป ร ะ ช า ช น โ ด ย ทั่ว ไ ป ไ ด้ เ ข้า ช ม

พ ร ะ ร า ช ดำ ริ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้า อ ยู่หัว

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หัว มัน

ก า ร ดำ เ นิ น กิ จ ก ร ร ม
ภายในโครงการ

ก า ร ใ ช้กั ง หัน ล ม ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้า แ ล ะ แ ผ ง รับ
พ ลั ง ง า น แ ส ง อ า ทิ ต ย์ เ พื่ อ เ ป็ น พ ลั ง ง า น

ทดแทนภายในโครงการ
แ ป ล ง น า ส า ธิต ป ลูก ข้า ว พัน ธุ์ต่ า ง ๆ
ก า ร ผ ลิ ต พืช ป ล อ ด ภั ย จ า ก ส า ร พิษ

ก า ร ส า ธิต ก า ร ป ลูก ส บู่ดำ
ก า ร ทำ ปุ๋ ย ห มัก

ก า ร ป ลูก ไ ม้ผ ล พืช ไ ร่
ร้า น โ ก ล เ ด้ น เ พ ล ส
พิพิธ ภั ณ ฑ์ ดิ น

อ า ค า ร นิ ท ร ร ศ ก า ร เ บ ท า โ ก ร


Click to View FlipBook Version