The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mookpcn18, 2019-03-01 01:16:16

รวมเอกสาร

รายงานผลการปฏิบัติการ
โครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง

ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6


เสนอ

นายวิทูล เยื่องอย่าง
















จัดท าโดย


นางสาวพิมพ์ชนก ชนะศึก รหัสนักศึกษา 6032040027
นางสาวมณีนุช ป๊อกแป๊ก รหัสนักศึกษา 6032040029


ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 กลุ่ม 1
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ


โครงการเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งในวิชาโครงการ รหัสวิชา (3204-8501)

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ชื่อ : นางสาวพิมพ์ชนก ชนะศึก
: นางสาวมณีนุช ป๊อกแป๊ก
ชื่อโครงการ : สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6

สาขาวิชา : สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
อาจารย์ที่ปรึกษา : นางศลิษา หนูเสมียน
ปีการศึกษา : 2561


บทคัดย่อ
ในการจัดท าโครงการครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง
การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 (2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับสื่อ
การเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 (3) เพื่อ

เผยแพร่สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6
ในการจัดท าได้ท าการศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe Flash CS6 เรื่อง“สื่อการเรียนการสอน
CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6” หลังจากนั้นได้ท าการวาง

แผนการท างานโดยใช้ความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการจัดท าสื่อการเรียนการสอน และจัดท า
แบบสอบถามเพื่อประเมินคุณภาพในการจัดท าการแปลงเลขฐาน เรื่อง “สื่อการเรียนการสอน CAI
เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6”
ผลของการส ารวจความพึงพอใจจากแบบสอบถามจ านวน 40 ชุด สรุปผลการประเมินที่ได้จาก

การส ารวจมีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุด ( ̅=4.59) ดังนี้เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 10 เพศหญิง
คิดเป็นร้อยละ 90 จากการวิเคราะห์จากกลุ่มเป้าหมาย พบว่าผลประเมินที่ได้จากการส ารวจ
ผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด ด้านเนื้อหาในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.59)

ด้านรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.71) ด้านประโยชน์การน าไปใช้ ในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก ( ̅=4.48)

กิตติกรรมประกาศ

โครงการ สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe

Flash CS6 โครงการฉบับนี้ ส าเร็จลุล่วงไปได้อย่างดีก็ด้วยความกรุณาอย่างดียิ่งของ อาจารย์พร
ทิพา บ ารุงรัตน์ หัวหน้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่ให้สนับสนุนในการจัดท าโครงการ และ
แนะน าข้อคิดเห็นต่าง ๆ จึงใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณท่าน อาจารย์วิทูล เยื่องอย่าง ครูผู้สอนรายวิชาโครงการที่ปรึกษาด้าน

วิชาการและจัดท าโครงการให้แนะน าและข้อคิดต่าง ๆ ของการท างานมาโดยตลอด

ขอขอบพระคุณ อาจารย์ศลิษา หนูเสมียน ครูที่ปรึกษาโครงการด้านการจัดท าโครงการให้

ค าแนะน าและข้อคิดต่าง ๆ ของการท างานมาโดยตลอดในการจัดท าโครงการการสร้างสื่อการ
เรียนรู้เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6

จึงขอขอบคุณทุกๆ ท่านที่ได้สนับสนุนพร้อมให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการจัดท าโครงการในทุก ๆ
ด้านและให้ก าลังใจแก่ผู้จัดท าเสมอมากระทั่งการศึกษาค้นคว้าโครงงานนี้ส าเร็จลุล่วงด้วยดีและความดี

อันเกิดจากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผู้จัดจ าขอมอบแด่บิดา มารดา ครู อาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกท่าน

ผู้จัดท ามีความซาบซึ้งในความกรุณาอันดียิ่งจากทุกท่านที่ได้กล่าวนามมา และขอกราบ
ขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้





คณะผู้จัดท า

ค าน า

รายงานเล่มนี้เป็นผลการด าเนินโครงการ สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง “การแปลง
เลขฐานสอง” ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ซึ่งการจัดท าโครงการเล่มนี้เพื่อเผยแพร่สื่อการเรียน
การรู้เรื่องการแปลงเลฐานสอง ให้นักเรียนมีความรู้ที่ได้จากโปรแกรม Adobe Flash CS6 น าไปใช้ใน
ชีวิตประจ าวัน

โครงการเล่มนี้มีผลการด าเนินงานส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี โดยได้รับความร่วมมืออย่างยิ่ง จาก
นักเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและคณะผู้จัดท าโครงการ ใคร่ขอขอบคุณทุกท่าน ณ โอกาสนี้
ด้วย

อนึ่ง คณะผู้จัดท า หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน นักศึกษา ครู-อาจารย์ และ
ผู้สนใจทั่วไป สมดังเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้หากมีข้อแนะประการใด คณะผู้จัดท าน้อมรับไว้ ด้วยความขอบคุณ
ยิ่ง





คณะผู้จัดท า

สารบัญ

เรื่อง หน้า

บทคัดย่อ ก

กิตติกรรมประกาศ ข

ค าน า ค

สารบัญ ง

สารบัญ (ต่อ) จ

สารบัญตาราง ฉ

สารบัญภาพ ช

บทที่ 1 บทน า

1.1 ความเป็นมาของการจัดท าโครงการ 1

1.2 วัตถุประสงค์ 1

1.3 เป้าหมายโครงการ 1


1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 2
1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3


บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 สื่อการเรียนการสอน 4


2.2 การแปลงเลขฐานสอง 6
2.3 โปรแกรม Adobe flash CS6 7


บทที่ 3 วิธีการด าเนินโครงการ
3.1 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 15


3.2 ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย 15
3.3 ขั้นตอนการด าเนินงาน 15


3.4 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 21
3.5 ขั้นตอนการด าเนินการและเก็บรวบรวมข้อมูล 22


3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์ 23

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า


บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 ผลการด าเนินงาน 25

4.2 ผลตอบรับแบบประเมิน 26

บทที่ 5 สรุป อภิปลายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปการประเมินผลการด าเนินโครงการ 32

5.2 ข้อเสนอแนะ 33

บรรณานุกรม 34

ภาคผนวก 35

สารบัญตาราง

เรื่อง หน้า


ตารางที่ 4-1 ตารางแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม 25

ตารางที่ 4-2 แสดงจ านวนของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเนื้อหา 26

ตารางที่ 4-3 แสดงจ านวนของผู้ตอบแบบสอบถามด้านรูปแบบ 27

ตารางที่ 4-4 แสดงจ านวนของผู้ตอบแบบด้านการน าความรู้ไปใช้ 28

ตารางที่ 4-5 แสดสถิติความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสื่อการเรียนการสอน 30

CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6

สารบัญภาพ

เรื่อง หน้า


ภาพที่ 2-1 แสดงการเปิดโปรแกรม 8

ภาพที่ 2-2 แสดงหน้าต่างเริ่มท างาน 8

ภาพที่ 2-3 แสดงส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม 9

ภาพที่ 2-4 แสดงส่วนประกอบต่างๆ บน Timeline 9

ภาพที่ 2-5 แสดงเครื่องมือเมนูบาร์ 10

ภาพที่ 2-6 แสดงเครื่องมือทูลบ๊อกซ์ 11

ภาพที่ 2-7 แสดงเส้นควบคุมการน าเสนอผลงาน 12

ภาพที่ 2.8 แสดงพื้นที่ว่างส าหรับวางวัตถุชั่วคราว 12

ภาพที่ 2.9 แสดงคุณสมบัติพาเนล 14

ภาพที่ 2.10 แสดงคุณสมบัติ library 14

ภาพที่ 4-1 แผนภูมิแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม 25

ภาพที่ 4-2 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านเนื้อหา 27

ภาพที่ 4-3 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านรูปแบบ 28

ภาพที่ 4-4 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านการน าความรู้ไปใช้ 29

ภาพที่ 4-5 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ 31

บทที่ 1





บทน า

บทที่ 1


บทน า



1.1 ความเป็นมาของโครงการ
แบบดิจิตอลจะเก็บข้อมูลที่เป็นสัญญาณทางไฟฟ้าที่อยู่ในรูปแบบของเลขฐานสอง ดังนั้นการ

ค านวณของคอมพิวเตอร์จึงมีการแทนค่าข้อมูลด้วยเลขฐานสอง นอกจากนี้คอมพิวเตอร์ยังสามารถน า
ข้อมูลมากระท าต่อกันด้วยตัวด าเนินการเพื่อให้ได้ข้อมูลใหม่ หรือที่เรียกว่าการประมวลผล ดังนั้น
นักเรียนนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจจึงมีความจ าเป็นที่จะต้องเรียน เรื่องเลขฐานสอง เป็น

การศึกษาเกี่ยวกับการจัดการระบบดิจิตอลหรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ในคอมพิวเตอร์ หรือแทนรหัส
ข้อมูลในระบบ BCD, EBCDIC, ACII โดยส่วนใหญ่ระบบเลขฐานที่ใช้ในคอมพิวเตอร์เป็น ระบบ
เลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปดและระบบเลขฐานสิบหก ซึ่งเป็นรหัสที่ใช้กันในคอมพิวเตอร์ โปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นภาษาระดับสูง เมื่อเขียนโปรแกรมสั่งงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไม่
เข้าใจภาษาระดับสูง หรือภาษามนุษย์ได้ ดังนั้นจึงมีการเปลี่ยนภาษาเหล่านั้นไปเป็นภาษาที่เครื่อง

คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน ซึ่งต้องมีการเปลี่ยนเลขฐานสลับไปสลับมาระหว่างเลขฐานสอง เลขฐาน
แปด และระบบเลขฐานสิบหก แล้วน าข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลตามวิธีการของระบบคอมพิวเตอร์
ออกมาแสดงผลก็จะแปลงรหัสนั้นให้เป็นรหัสที่มนุษย์อ่านเข้าใจอีกครั้ง ซึ่งเป็นวิชาที่ค่อนข้างเรียนยาก

และเบื่อหน่าย ไม่น่าสนใจที่จะเรียนรู้ หากมีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย ในการสร้างสื่อการเรียน
สอนเป็นส่วนประกอบในการสื่อการ จะช่วยเร้าความสนใจ เกิดจินตนาการและยิ่งถ้ามีการด าเนินเรื่อง
ที่สนุกสนานด้วยแล้วจะท าให้ผู้รับสารเกิดการเรียนรู้ และจดจ าได้ดี

จากเหตุผลดังกล่าว คณะผู้จัดท าจึงจัดโครงการ สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง การแปลง
เลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ด้วย เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ความสามารถ และ

ครูผู้สอนสามารถน าไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้เกิดการพัฒนาต่อไป และ
สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในด้านการศึกษาการท างานค้นคว้าความรู้ต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe
Flash CS6

1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจ สื่อการเรียนการสอน CAI การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม

Adobe Flash CS6
1.2.3 เพื่อเผยแพร่สื่อการเรียนการสอน CAI การแปลงเลขฐานสอง ระดับชั้น ปวช. ด้วย

โปรแกรม Adobe Flash CS6 ผ่านการประกวดโครงการของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

1.3 เป้าหมายโครงการ
1.3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ


1.3.1.1 สื่อการเรียนการ CAI เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6
จ านวน 1 เรื่อง

1.3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

1.3.2.1 นักเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จ านวน 40 คน

1.4 นิยามศัพท์เชิง

1.4.1 การศึกษา หมายถึง การศึกษาในความทั่วไปอย่างกว้างที่สุดเป็นเป็นวิธีการส่งผ่าน
จุดมุ่งหมายและธรรมเนียมประเพณีให้ด ารงอยู่จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง โดยทั่วไปการศึกษาเกิดขึ้น
ผ่านประสบการณ์ใด ๆ ซึ่งมีผลกระทบเชิงพัฒนาต่อวิธีที่คน ๆ หนึ่งจะคิดรู้สึกหรือกระท าแต่ใน

ความหมายเทคนิคอย่างแคบการศึกษาเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมส่งผ่านความรู้
ทักษะจารีตประเพณีและค่านิยมที่สั่งสมมาจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง นั่นคือการสอนในสถานศึกษา

1.4.2 เลขฐาน ตัวเลขที่คนเราใช้ในชีวิตประจ าวันคือเลขฐาน 10 ประกอบด้วย ตัวเลขจ านวน
10 ตัว คือ เลข 0 ถึงเลข 9 แต่ส าหรับการประมวลผลในคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยจะใช้ระบบ
เลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 เพราะภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยวงจร

อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีหลักการท างานแบบดิจิตอล และใช้ระดับแรงดันไฟฟ้า 2 ระดับ คือ สวิตซ์เปิด (on)
กับสวิตซ์ปิด (on) ซึ่งเลขฐานสองจ านวนหนึ่งหลัก เราเรียกว่า “บิต”

1.4.3 คอมพิวเตอร์ เครื่องค านวณอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์ประกอบด้วย
ฮาร์ดแวร์ (ส่วนตัวเครื่องและอุปกรณ์) และซอฟต์ (ส่วนชุดค าสั่ง หรือโปรแกรมที่สั่งให้คอมพิวเตอร์
ท างาน) สามารถท างานค านวณผล และเปรียบเทียบค่าตามชุดค าสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่อง

และอัตโนมัติ

1.4.4 โปรแกรม Adobe Flash CS6 เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย,
ภาพเคลื่อนไหว (Animation), ภาพกราฟิกที่มีความคมชัด เนื่องจากเป็นกราฟิกแบบเว็คเตอร์
(Vector), สามารถเล่นเสียงและวีดีโอ แบบสเตริโอได้, สามารถสร้างงานให้โต้ตอบกับผู้ใช้
(Interactive Multimedia) มีฟังก์ชั่นส าหรับการเขียนโปรแกรม (Action Script) และยังท างานใน

ลักษณะ CGI โดยเชื่อมต่อกับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่น ๆ ได้มากมาย

1.4.5 PDCA หมายถึง วงจรการควบคุมคุณภาพประกอบด้วย

1) Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการด าเนินงานอย่างรอบคอบครอบคลุมถึงการ
ก าหนกหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ

2) Do (การปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การด าเนินงานตามแผนอาจประกอบด้วยการมี
โครงการรองรับการด าเนินการมีวิธีการด าเนินการ และมีผลของการด าเนินการ

3) Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การประมวลผลตามแผน อาจ
ประกอบด้วย การประเมินโครงสร้างที่รองรับ การด าเนินการ การประเมินขั้นตอนการด าเนินงานและ
การประเมินผลของ การด าเนินงานตามแผนที่ตั้งไว้

4) Act (การปรับปรุงแก้ไข) หมายถึง การน าผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจ
ประกอบด้วย การประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้างหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควรปรับปรุงหรือ

พัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นยิ่งไปอีกและสังเคราะห์รูปแบบการด าเนินการใหม่ที่เหมาะสมส าหรับ
การด าเนินการ

1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.5.1 สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม
Adobe Flash CS6

1.5.2 สามารถศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง
ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6

1.5.3 ได้เผยแพร่สื่อการเรียนการสอน AI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe

Flash CS6 ผ่านการประกวดโครงการของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

บทที่ 2




เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 2


เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดท าโครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง “การแปลงเลขฐานสอง” ด้วยโปรแกรม Adobe
Flash CS6 ครั้งนี้ผู้จัดท าได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการจัดท าครั้งนี้ ได้ศึกษาหาความรู้

เกี่ยวกับโครงการ สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง “การแปลงเลขฐานสอง” ด้วยโปรแกรม Adobe
Flash CS6 ได้แบ่งข้อมูลต่าง ๆ ได้ดังนี้ (1) สื่อการเรียนการสอน (2) การแปลงเลขฐานสอง (3)
โปรแกรม Adobe Flash CS6

2.1 สื่อการเรียนการสอน
2.1.1 ความหมายของสื่อการเรียนการสอน

สื่อการเรียนการสอน หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิค
วิธีการ ซึ่งเป็นตัวกลางท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของการเรียนการสอนที่ก าหนดไว้ได้

อย่างง่ายและรวดเร็วเป็นเครื่องมือและตัวกลางซึ่งมีความส าคัญในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าที่

เป็นตัวน าความต้องการของครูไปสู่ตัวนักเรียนอย่างถูกต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นักการศึกษาเรียกชื่อการ

สอนด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การสอน โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา สื่อการเรียนการสอน

สื่อการศึกษา เป็นต้น
2.1.2 ความส าคัญของสื่อการเรียนการสอน

2.1.2.1 สื่อการสอน ช่วยสร้างรากฐานที่เป็นรูปธรรมขึ้นในความคิดของผู้เรียน การฟังเพียง
อย่างเดียวนั้น ผู้เรียนจะต้องใช้จินตนาการเข้าช่วยด้วย เพื่อให้สิ่งที่เป็นนามธรรมเกิดเป็นรูปธรรมขึ้น

ในความคิด แต่ส าหรับสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อน ผู้เรียนย่อมไม่มีความสามารถจะท าได้ การใช้อุปกรณ์เข้า
ช่วยจะท าให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและสร้างรูปธรรมขึ้นในใจได้

2.1.2.2 สื่อการสอน ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสได้

ด้วยตา หู และการเคลื่อนไหวจับต้องได้แทนการฟังหรือดูเพียงอย่างเดียว
2.1.2.3 เป็นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และช่วยความทรงจ าอย่างถาวร ผู้เรียนจะ

สามารถน าประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ เมื่อมีพื้นฐานประสบการณ์เดิมที่ดี

อยู่แล้ว
2.1.2.4 ช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางความคิด ซึ่งต่อเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันท าให้

เห็นความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น เวลา สถานที่ วัฏจักรของสิ่งมีชีวิต

2.1.2.5 ช่วยเพิ่มทักษะในการอ่านและเสริมสร้างความเข้าใจในความหมายของค าใหม่ ๆ ให้
มากขึ้น ผู้เรียนที่อ่านหนังสือช้าก็จะสามารถอ่านได้ทันพวกที่อ่านเร็วได้ เพราะได้ยินเสียงและได้เห็น

ภาพประกอบกัน
2.1.3 ประเภทของสื่อการเรียนการสอน

ประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อการสอนนั้นมีมากมายและได้พัฒนาให้เกิดขึ้นใหม่
อยู่เสมอตามความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักเทคโนโลยีการศึกษา

ได้ก าหนดและแบ่งประเภทของสื่อการสอนไว้หลายท่านด้วยกัน สรุปจากการที่นักเทคโนโลยี

การศึกษาได้แบ่งประเภท ของสื่อการสอนไว้นั้น พอจะสรุปได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
2.1.3.1 ประเภทวัสดุ (Material or Software) เป็นสื่ออยู่ในรูปของ ภาพ เสียง หรือตัวอักษร

แยกได้เป็น 2 ชนิด คือ

2.1.3.1.1 ชนิดที่สามารถสื่อความหมายได้ด้วยตัวของมันเอง เช่น รูปภาพ แผนภูมิ
ภาพวาด หนังสือ เป็นต้น

2.1.3.1.2 ชนิดที่ต้องอาศัยเครื่องมือเสนอเรื่องราวไปสู่ ผู้เรียน เช่น ภาพโปร่งแสง
สไลด์ แถบบันทึกเสียง ฟิล์มภาพยนตร์ เป็นต้น

2.1.3.2 ประเภทเครื่องมือ (Hardware or Equipment) หมายถึง เครื่องมือที่เป็นตัวกลาง
ส่งผ่านความรู้ไปสู่ ผู้เรียน เช่น เครื่องฉายชนิดต่าง ๆ เครื่องเสียงชนิดต่าง ๆ เครื่อง รับและส่งวิทยุ

และโทรทัศน์ ซึ่งต้องอาศัยวัสดุประกอบเช่น ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ เป็นต้น

2.1.3.3 ประเภทเทคนิคหรือวิธีการ (Technique or Method) หมายถึง เทคนิคหรือวิธีการที่
จะใช้ร่วมกับวัสดุและ เครื่องมือ หรือใช้เพียงล าพังในการจัดการเรียนการสอนได้แก่ การสาธิต การ

ทดลอง การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ เป็นต้น

2.1.4 ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
2.1.4.1 เทคโนโลยีด้านสื่อมัลติมีเดียช่วยให้การออกแบบบทเรียน ตอบสนองต่อแนวคิดและ

ทฤษฎีการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น รวมทั้งส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิจัยที่ผ่านมาแสดงให้
เห็นถึงประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียว่า สามารถช่วยเสริมการเรียนรู้ ท าให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนที่สูงขึ้นได้
2.1.4.2 สื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรูปแบบของซีดีรอม ใช้ง่าย เก็บรักษาง่าย พกพา

ได้สะดวก และสามารถท าส าเนาได้ง่าย

2.1.4.3 คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามศักยภาพ ความต้องการ และความสะดวกของตนเอง สามารถสร้างสถานการณ์จ าลอง จ าลอง

ประสบการณ์ ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง

2.1.4.4 ในปัจจุบันมีโปรแกรมช่วยสร้างบทเรียน (Authoring Tools) ที่ง่ายต่อการใช้งานท า
ให้บุคคลที่สนใจทั่วไปสามารถสร้างบทเรียนสื่อมัลติมีเดียใช้เองได้

2.1.4.5 ผู้สอนสามารถใช้สื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อสอนเนื้อหาใหม่ เพื่อการ
ฝึกฝนเพื่อเสนอสถานการณ์จ าลอง และเพื่อสอนการคิดแก้ปัญหา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการ

น าไปใช้เป็นประการส าคัญ รูปแบบต่างๆ ดังกล่าวนี้จะส่งผลดีต่อการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ และ
รูปแบบการคิดหาค าตอบ

2.1.4.6 สื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ช่วยสอนช่วยสนับสนุนให้มีสถานที่เรียนไม่จ ากัดอยู่เพียง

ห้องเรียน เท่านั้น ผู้เรียนอาจเรียนรู้ที่บ้าน ที่ห้องสมุด หรือภายใต้สภาพแวดล้อมอื่น ๆ ตามเวลาที่
ตนเองต้องการ

2.1.4.7 เทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สนับสนุนให้เราสามารถใช้สื่อมัลติมีเดีย

กับผู้เรียนได้ ทุกระดับอายุ และความรู้ หลักส าคัญอยู่ที่การออกแบบให้เหมาะสมกับผู้เรียนเท่านั้น
2.1.4.8 สื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีคุณภาพ นอกจากจะช่วยให้เกิดความคุ้มค่าใน

การลงทุนของโรงเรียน หรือหน่วยงานแล้ว ความก้าวหน้าของระบบครือข่าย ยังช่วยส่งเสริมให้การใช้
สื่อมัลติมีเดียเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาอื่นๆ อีกด้วย


2.2 การแปลงเลขฐานสอง
2.2.1 เลขฐานสอง

คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ ากันสองหลัก (0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากันได้กับ Hardware ของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยากให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์

อย่างมาก เช่น เลขฐานสิบมีตัวเลขที่เป็นสถานะที่ต่างกันถึง 10 ตัว ในขณะที่ระบบไฟฟ้ามีเพียง 2
สถานะ ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆมีเพียงสถานะเดียวเท่านั้น แต่ละหลักของเลขฐานสอง เรียกว่า Binary

Digit (BIT)
2.2.2 วัตถุประสงค์การแปลงเลขฐานสอง

วิวัฒนาการของระบบตัวเลขจากสมัยโบราณเป็นแบบเลขไม่มีหลักใช้ค านวณไม่ได้ ต่อมาจึง

สร้างเลขที่มีหลักขึ้นและมีฐานของตัวเลขแตกต่างกัน แต่ใช้กันอย่างแพร่หลายคือตัวเลขฮินดูที่รู้จักกัน
ในระบบเลขฐาน 10 เลขเหล่านี้มีค่าประจ าหลักที่จะแสดงค่าร่วมกับตัวเลขที่ปรากฏอยู่ในต าแหน่งนั้น

ระบบฐาน 2 เป็นระบบที่สอดคล้องกับสภาวะของเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสภาพเปิดปิดจึงจะ

เหมาะสมกับเครื่องคอมพิวเตอร์มากที่สุดผู้ใช้งานป้อนข้อมูลเข้าระบบเลขฐาน 10 คอมพิวเตอร์รับ
ข้อมูลไปเปลี่ยนเป็นฐาน 2 เมื่อประมวนผลเสร็จให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นระบบฐาน 10

2.2.3 องค์ประกอบของเลขฐาน
2.2.3.1 เลขฐานสอง คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ ากันสองหลัก (0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากัน

ได้กับ Hardware ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยาก

ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมาก เช่น เลขฐานสิบมีตัวเลขที่เป็นสถานะที่ต่างกันถึง 10 ตัว ในขณะที่
ระบบไฟฟ้ามีเพียง 2 สถานะ ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆมีเพียงสถานะเดียวเท่านั้น แต่ละหลักของ

เลขฐานสอง เรียกว่า Binary Digit (BIT)
2.2.3.2 เลขฐานแปดเลขฐานแปด มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจ านวน 3

หลักแทนด้วยเลขฐานแปด 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 6 บิท แทนด้วยเลขฐาน
แปด 2 บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองท าให้จ านวนบิทสั้นลง

2.2.3.3 เลขฐานสิบ คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ ากันสิบหลัก (0,1,2,…,9) เป็นเลขฐานที่มนุษย์คุ้นเคย

และใช้ในชีวิตประจ าวันมากที่สุด ตัวเลขที่มีจ านวนมากกว่า 9 ให้ใช้ 10 ซึ่งเป็นการกลับไปใช้เลข 1
และ 0 อีก เพียงแต่ค่าของ 1 เปลี่ยนไปเป็น 10 เท่าของตัวมันเอง เช่น 333 (สามร้อยสามสิบสาม) แม้

จะใช้ตัวเลข 3 ทั้งหมด แต่ต าแหน่งของตัวเลขย่อมมีความหมายตามต าแหน่งของแต่ละหลักนั้น

กล่าวคือ หลักหน่วยน้อยกว่าหลักสิบ 10 เท่า หลักสิบน้อยกว่าหลักร้อย 10 เท่า ตามล าดับ
2.2.3.4 เลขฐานสิบหก เลขฐานสิบหก มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจ านวน

4 หลัก แทนด้วยเลขฐานสิบหก 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 8 บิทแทนด้วย
เลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองท าให้จ านวนบิทสั้นลง


2.3 โปรแกรม Adobe Flash CS6
2.3.1 การสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Adobe Adobe Flash CS6

การเรียกใช้งานโปรแกรม และองค์ประกอบของโปรแกรม Adobe Flash CS6 ปัจจุบัน
การน าเสนอข้อมูลบนสื่อต่าง ๆ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ต้องสามารถน าเสนอได้ทั้ง

ภาพเคลื่อนไหว เสียง และอาจรวมถึงการท างานในลักษณะที่โต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ ซึ่งเครื่องมือช่วย
สร้างสรรค์งานกราฟิกและง่ายในการประยุกต์ใช้งานนั้นคือ โปรแกรม Adobe Flash CS6

2.3.2 การเปิดใช้งาน Adobe Dreamweaver CS6
เข้าสู่โปรแกรม Flash CS6 เมื่อเปิดโปรแกรมครั้งแรก โดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม Start แล้วเลือก

ค าส่ง All Programs > Adobe > Adobe Flash CS6 Professional จะปรากฎหน้าต่าง ให้เรา

เลือกใช้งานโปรแกรม Flash CS6 ดังนี้

ภาพที่ 2-1 แสดงการเปิดโปรแกรม



























ภาพที่ 2-2 แสดงหน้าต่างเริ่มการท างาน

2.3.3 ส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe Flash CS6
















ภาพที่ 2-3 แสดงส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม




ภาพที่ 2-3 แสดงส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม



































ภาพที่ 2-4 แสดงส่วนประกอบต่างๆ บน Timeline
หมายเลข 1 ปุ่มแสดงหรือซ่อน Timeline

หมายเลข 2 เลเยอร์ เฟรมจะต้องวางบนเลเยอร

หมายเลข 3 ปุ่มซ่อนและแสดงข้อมูลบนเลเยอร์
หมายเลข 4 ปุ่มอนุญาตให้แก้ไขและป้องการแก้ไขข้อมูลบนเลเยอร์

หมายเลข 5 เพลย์เฮดหัวอ่านเฟรมแต่ละช่อง
หมายเลข 6 หมายเลขประจ าเฟรม

หมายเลข 7 เฟรม เปรียบเหมือนช่องเก็บเหตุการณ์ของมูฟวี่
หมายเลข 8 ปุ่มสร้างเลเยอร์ใหม่

หมายเลข 9 ปุ่มสร้างโฟล์เดอร์เลเยอร์

หมายเลข 10 ปุ่มลบเลเยอร์
หมายเลข 11 ปุ่มเซ็นเตอร์เฟรม

หมายเลข 12 ปุ่มโอเนียน สกิน

หมายเลข 13 ปุ่มโอเนียน สกินแบบโครงร่าง
หมายเลข 14 ปุ่มแก้ไขเฟรมหลายเฟรมพร้อมกัน

หมายเลข 15 บอกต าแหน่งหมายเลขเฟรมในขณะท างาน
หมายเลข 16 บอกความเร็วการแสดงกี่เฟรมต่อวินาที

หมายเลข 17 เวลาที่ใช้ในการมูฟวี่

2.3.3.1 เมนูบาร์ (Menu Bar)

แถบเมนูแสดงรายการค าสั่งต่างๆ ของโปรแกรมทั้งหมด ได้แก่ การสร้างชิ้นงาน การ
สร้างมูฟวี่ รวมไปถึงการตั้งค่าต่าง

ภาพที่ 2-5 แสดงเครื่องมือเมนูบาร์ (Menu Bar)








ภาพที่ 2-5 แสดงเครื่องมือเมนูบาร์ (Menu Bar)


2.3.3.2 ทูลบ๊อกซ์ (Toolbox)
แสดงปุ่มเครื่องมือเป็นส่วนรวบรวมเครื่องมือชนิดต่าง ๆ ในการสร้าง ปรับแต่ง และ

แก้ไขชิ้นงาน ที่อยู่ใน Movie โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มเครื่องมือ กลุ่มมุมมอง กลุ่มก าหนดสี
และกลุ่มออบชั่นของเครื่องมือ

ภาพที่ 2-6 แสดงเครื่องมือทูลบ๊อกซ์ (Toolbox)


2.3.3.3 ไทมไลน์ (Timeline)

หน้าต่างแสดงเส้นควบคุมเวลาส าหรับการน าเสนอผลงาน ประกอบด้วยส่วนท างาน

เกี่ยวกับ Layer และ Timeline เราแบ่งไทมไลน์เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่


1) ส่วนแสดงเลเยอร์ (Layer) ซึ่งแต่ละเลเยอร์เปรียบเหมือนแผนใสที่สามารถวางภาพหรือ
ออบเจ็กต์ได้ โดยแต่ละเลเยอร์นั้นแยกเป็นอิสระต่อกัน แต่ประกอบกันเป็นชันงานเดียว (เราจะ

กล่าวถึงเรื่องเลเยอร์เพิ่มเติมภายหลัง)


2) ส่วนเฟรม (Frame) ที่แสดงช่องเฟรมต่างๆ ซึ่งท างานเหมือนกับเฟรมที่ประกอบกัน
เป็นภาพยนตร์โดยเมื่อมีการน าเฟรมเหล่านี้มาแสดง อย่างต่อเนื่องก็จะท าให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้
Frame จะแสดงผล ทีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead) ที่เป็นส้นสีแดงคอยบอกต าแหน่งว่าง

ก าลังท างานอยู่ที่เฟรมใด

ภาพที่ 2-7 แสดงเส้นควบคุมส าหรับการน าเสนอผลงาน


2.3.3.4 สเตจ (Stage) และพื้นที่ท างานประกอบด้วยพื้นที่ว่างส าหรับวางวัตถุแบบชั่วคราว
และพื้นที่ของเวที (Stage)



























ภาพที่ 2-8 แสดงพื้นที่ว่างส าหรับวางวัตถุแบบชั่วคราว และพื้นที่ของเวที (Stage)


พื้นที่สีขาวบริเวณกลางจอคือ สเตจ เป็นพื้นที่ใช้จัดวางออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่ต้องการแสดงให้เห็น ใน
ชิ้นงาน ส่วนพื้นที่สีเทาด้านนอกบริเวณสีขาวคือ Pasteboard เป็นบริเวณที่สามารถน าออบเจ็กต์ ต่าง
ๆ มาวาง พักไว้หรือวางซ่อนไว้ได้เพราะบริเวณนี้จะไม่แสดงผลเวลาที่เรา Export Movie เป็นไฟล์ .SWF
สามารถเปิด/ปิดพื้นที่การท างานโดยสั่ง View > Work Area ให้มีเครื่องถูกหน้าค าว่า Work
Area เพื่อปิดพื้นที่การท างาน (หรือจะกดคีย์ลัด <Ctrl>+<Shift>+<W> ก็ได้)

2.3.3.5 พาเนล
พาเนลคือหน้าต่างทีรวบรวมเครื่องมือต่างๆ ส าหรับใช้ในการปรับแต่งออบเจ็กต์ ซึ่งใน
Flash ได้มีการจัดพาเนลต่างๆ ไว้อย่างเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่ของมันให้เราเรียกใช้ได้ พาเนล

ส าคัญที่ควรรู้จักดังนี้
1) Property Inspector เป็นพาเนลที่ใช้แสดงคุณสมบัติต่าง ๆ ของออบเจ็กต์ที่เราคลิกเลือก ซึ่ง
เราสามารถปรับแต่งคุณสมบัติ้หล่านี้ได้ ทั้งนี้รายละเอียดที่ Property Inspector จะเปลี่ยนไปตาม

ออบเจ็กต์ที่เลือก โดยสามารถเยกเปิดใช้งาน Property Inspector ด้วยค าสั่ง Window > Properties >
Properties หรือกดคีย์ลัด <Ctrl+F3>





























2) พาเนล Color

พาเนล Color เป็นพาเนลที่เลือกใช้สีและผสมสีตามที่ต้องการ ซึ่งจะน าไปใช้ปรับแต่งสีให้กับ
ทั้งภาพวาดและตัวอักษรได้อย่างง่ายดาย โดยมีให้เลือกถึง 2 แท็บด้วยกันคือ Color Mixer (ใช้ผสม

สีเองตามต้องการ) และ Color Swatches (ใช้เลือกสีจากจานสีตามที่โปรแกรมก าหนดมาให้) โดย

เราสามารถเรียกเปิดใช้งานพาเนล Color ด้วยค าสั่ง Window > Color Mixer































ภาพที่ 2-9 แสดงคุณสมบัติพาเนล Color

3) พาเนล Library
พาเนล Library หน้าต่างควบคุมเกี่ยวกับชุดวัตถุของโปรแกรม ได้แก่
Symbols, Buttons, Movies

































ภาพที่ 2-10 แสดงคุณสมบัติพาเนล Library

บทที่ 3




วิธีการด าเนินการวิจัย

บทที่ 3

วิธีการด าเนินงาน

การด าเนินโครงการ “สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง ”ด้วยโปรแกรม

Adobe flash CS6 มีรายละเอียดในการด าเนินโครงการดังนี้ คือ

3.1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น
3.2 ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย

3.3 ขั้นตอนการด าเนินงาน
3.4 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3.5 ขั้นตอนการด าเนินงานและเก็บรวบรวมข้อมูล
3.6 พิจารณาข้อมูลตามเกณฑ์

3.7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น
3.1.1 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต าราและสื่อต่างๆ
3.1.2 คณะผู้จัดท าร่วมกันออกแบบสอบถาม โดยใช้ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง “สื่อ
การเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6”

3.1.3 ส ารวจกลุ่มเป้าหมายและจัดท าโครงร่างแบบสอบถาม
3.2 ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย

3.2.1 ประชากร
การศึกษาครั้งนี้ประชากรที่ใช้ในการจัดท าโครงการ “สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการ

แปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6” ได้แก่ นักเรียนชั้น ปวช 2 จ านวน 40 คน

3.3 ขั้นตอนการด าเนินงาน
3.3.1 หน้าแรกของโปรแกรม

ภาพที่ 3-1 หน้าแรกของโปรแกรม


3.3.2 หน้าเมนูหลักของสื่อการเรียนการสอน ประกอบด้วย 3 รายการ
































ภาพที่ 3-2 หน้าเมนูหลักของสื่อการเรียนการสอน

3.3.3 ข้อมูลรายการวัตถุประสงค์

































ภาพที่ 3-3 แสดงข้อมูลรายการวัตถุประสงค์


3.3.4 เนื้อหาข้อมูลการแปลงเลขฐานประกอบไปด้วย 3 หัวข้อ
































ภาพที่ 3-4 แสดงเนื้อหาข้อมูลในการแปลงเลขฐานสอง

3.3.4.1 ตัวอย่างเนื้อหาหัวข้อ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด

































ภาพที่ 3-5 แสดงตัวอย่างเนื้อหาหัวข้อ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด































ภาพที่ 3-6 แสดงตัวอย่างแบบฝึกหัด หัวข้อการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด

3.3.4.2 ตัวอย่างเนื้อหาหัวข้อ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ






















ภาพที่ 3-7 แสดงตัวอย่างเนื้อหาหัวข้อ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ

































ภาพที่ 3-8 แสดงตัวอย่างแบบฝึกหัด หัวข้อการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ

3.3.4.3 ตัวอย่างเนื้อหาหัวข้อ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก































ภาพที่ 3-9 แสดงตัวอย่างเนื้อหาหัวข้อ การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
































ภาพที่ 3-10 แสดงตัวอย่างแบบฝึกหัด หัวข้อการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก

3.5.5 ข้อมูลผู้จัดท า































ภาพที่ 3-11 แสดงข้อมูลผู้จัดท า


3.4 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4.1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
เป็นแบบสอบถามที่ผู้จัดท าโครงการสร้างขึ้นจ านวน 1 ฉบับ โดยยึดตามวัตถุประสงค์และกรอบ

แนวคิดในการท าโครงการแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ

ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ
ระดับการศึกษา
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามการจัดท าโครงการ“สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการ
แปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6”มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณ

ค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ
5 หมายถึง ความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง ความพึงพอใจดีมาก

3 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยที่สุด
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะการจัดท าโครงการ “สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลง

เลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6”

3.4.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีดังนี้
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในรวบรวมข้อมูลการจัดท าโครงการ “สื่อการเรียนการสอน CAI
วิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นอนุบาล ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6” จัดท าโครงการได้สร้างขึ้นเอง
มีขั้นตอน ดังนี้

3.4.2.1 การก าหนดโครงสร้างและขอบข่ายเนื้อหาสาระของแบบสอบถามโดยก าหนด
เนื้อหาสาระที่น ามาสร้างแบบสอบถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และควบคุมเรื่องที่ศึกษาโดย
ค าแนะน าจากครูที่ปรึกษาโครงร่างการจัดท าโครงการ
3.4.2.2 ศึกษาแนวทางทฤษฎีหลักการสร้างแบบสอบถามจากเอกสารต าราบทความ

ทางวิชาการ

3.4.2.3 ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมานค่า (Rating Scale) สร้าง
แบบสอบถามฉบับร่างโดยเขียนข้อความที่สอดคล้องกับตัวแปรที่ศึกษาให้ครบถ้วนตามโครงการสร้าง

5 ระดับ คือระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง และ น้อยที่สุด
3.4.2.4 ด าเนินการสร้างแบบสอบถามขั้นมาให้ครอบคลุมกับการจัดท าโครงการ “สื่อ

การเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6”

3.4.2.5 ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบื้องต้นโดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการและ
ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบพิจารณาเพื่อความเที่ยงตรงของเนื้อหาและความถูกต้องในส านวนภาษาที่ใช้

เพื่อให้ค าถามครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการแล้วปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน า
น ามาจัดท าแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อน าไปใช้ต่อของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

3.4.2.6 จัดท าแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

น ามาจัดท าแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อน าใช้ต่อไป

3.5 ขั้นตอนการด าเนินการและเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5.1 การวางแผนของโครงการ

3.5.1.1 สรุปหัวข้อโครงการที่ต้องการศึกษา
3.5.1.2 ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในการจัดท าโครงการ ต้องการปัจจัยใดบ้างในการ

ด าเนินโครงการ
3.5.2 เสนอโครงการ

จัดท าเสนอเรื่องโครงการ

3.5.3 การด าเนินงานในโครงการ
จัดท าโครงการให้ได้ใจความเนื้อหา 5 บท สามารถสรุปได้ดังนี้
บทที่ 1 บทน าโดยเนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตและประโยชน์ที่
คาดว่าจะได้รับ

บทที่ 2 เอกสาร และทฤษฏีที่เกี่ยวข้องการใช้โปรแกรม Adobe Flash CS6
บทที่ 3 วิธีการด าเนินโครงการ โดยเนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนการด าเนินงาน

บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล และข้อเสนอแนะ โดยเนื้อหาเกี่ยวกับการสรุปผลการ
ประเมินผลของวัตถุประสงค์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 5 สรุปผลการอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
3.5.4 จัดท าชิ้นงานเป็นรูปเล่ม

ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับฟังก์ชันการค านวณ
3.5.5 สรุปผล
สรุปผลจากการแบบประเมินการท าโครงการ โดยสรุปว่ามีความพึงพอใจเพียงใดและ
ค านวณออกมาเป็นค่าเฉลี่ย

3.5.6 รายงานประเมินผล
จัดท ารายงานผลการด าเนินงานและน าเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เพื่อส ารวจความพึงพอใจของนักศึกษา

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ กลุ่มตัวอย่างต่อโครงการมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.6.1 สร้างแบบสอบถาม ซึ่งมีมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง ดีมาก

4 หมายถึง มาก
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถึง น้อย
1 หมายถึง น้อยที่สุด
3.6.2 เกณฑ์การประเมินค่าความพึงพอใจ ก าหนดค่าคะแนนออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้

4.50 - 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
3.50 - 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
2.50 - 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

1.50 - 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อย
0.00 - 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด
3.7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการจัดท าโครงการ “สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม

Adobe Flash CS6” สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกได้ ดังนี้
การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลโครงการได้ใช้สถิติเพื่อเคราะห์ดังนี้
3.7.1 ค่าสถิติร้อยละ (Percentage)

3.7.2 การหาค่าเฉลี่ย (x̅)
3.7.3 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)
3.7.1 ค่าสถิติร้อยละ (Percentage)
f
สูตร p= ×100
n
เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ

F แทน จ านวนหรือความถี่ที่ต้องการหาค่าร้อยละ
N แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด

3.7.2 การหาค่าเฉลี่ยx̅

สูตร x̅=∑x
เมื่อ " ̅” แทน คะแนนตัวกลางเลขคณิต

∑x แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน

"N" แทน จ านวนคะแนนในข้อมูล
3.7.3 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)

N 2
√ ∑x (∑x)
สูตร S.D=
N(n-1)
เมื่อ "S.D" แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
"x" แทน คะแนนแต่ละตัว

"N" แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม

∑ แทน ผลรวม

บทที่ 4





ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 4

การวิเคราะห์ข้อมูล

จากการด าเนินการโครงการได้มีการติดตามประเมินผล ผู้ประเมินผลด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล

และแปรความล าดับดังนี้
4.1 ผลการด าเนินงาน

ผลการด าเนินงานกิจกรรมโครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วย
โปรแกรม Adobe Flash CS6 จากการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมินผลทั้งหมด

จ านวน 40 คน แยกตามเพศแสดงจ านวนของผู้ตอบประเมินผลที่เข้าร่วมกิจกรรม

ตารางที่ 4-1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม
กลุ่มที่ เพศ จ านวนคน ร้อยละ

1 ชาย 4 10
2 หญิง 36 90
รวมทั้งสิ้น 40 100


จากตารางที่ 4-1 จ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจ าแนกตามเพศ ที่เข้าร่วมโครงการสื่อการ
เรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 และส่งแบบ

ประเมินกลับคืน ดังนี้ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 10 ของประชาการทั้งหมด และเพศหญิง คิดเป็นร้อย
ละ 90 ของประชากรทั้งหมด


แผนภูมิแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม


10%

90%




เพศชาย เพศหญิง


ภาพที่ 4-1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

4.2 ผลตอบรับแบบประเมิน
จากการคิดวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด จ านวน 27 คน แยกตาม

หัวข้อแบบประเมินของโครงการ ดังนี้

ตารางที่ 4-2 ความพึงพอใจของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ ด้านเนื้อหา
ส่วน
เรื่องการประเมิน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ระดับความพึง
พอใจ
มาตรฐาน
1.1 เนื้อหาสื่อมีความเหมาะสม 4.65 0.62 มากที่สุด
1.2 เนื้อหามีการอธิบายชัดเจน 4.45 0.75 มาก

1.3 การเรียบเรียงเนื้อหาเข้าใจง่าย 4.68 0.66 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยรวม 4.59 0.68 มากที่สุด

จากตารางที่ 4-2 พบว่าระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาของสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลง
เลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 กระบวนการขั้นตอนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ

พิจารณารายข้อจากรายการประเมิน 3 ข้อพบว่า เนื้อหาสื่อมีความน่าสนใจ มีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก เนื้อหามีความชัดเจน กะทัดรัด ง่ายต่อการท าความเข้าใจ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ภาพที่ใช้ในบทเรียนมีความมีความน่าสนใจ สอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมความรู้ มีความพึงพอใจ
อยู่ในระดับมาก


แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านเนื้อหาภาพที่


5 4.65 4.45 4.68
4


3
2


1 0.62 0.75 0.66
0
1.1 1.2 1.3


ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


4-2 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านเนื้อหา

ตารางที่ 4-3 ความพอใจของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ ด้านรูปแบบ
ส่วน
เรื่องการประเมิน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ระดับความ
พึงพอใจ
มาตรฐาน

2.1 ภาพ ที่ใช้ประกอบสื่อมีความสวยงาม และ 4.70 0.52 มากที่สุด
เหมาะสม
2.2 เสียง ที่ใช้ประกอบมีความชัดเจน และเหมาะสม 4.65 0.62 มากที่สุด

2.3 สี ขนาดตัวอักษรมีความสวยงาม และเหมาะสม 4.78 0.48 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยรวม 4.71 0.54 มากที่สุด


แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านรูปแบบ

6

5 4.7 4.65 4.78


4


3

2


1 0.52 0.62 0.48

0
2.1 2.1 2.3


ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน



ภาพที่ 4-3 แผนภูมิแสดงระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการด้านด้านรูปแบบ

ตารางที่ 4-4 ความพึงพอใจของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ ด้านการน าความรู้ไปใช้
ส่วน
เรื่องการประเมิน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ระดับความ
พึงพอใจ
มาตรฐาน
3.1 นักเรียนสามารถน าสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การ
แปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ไป 4.53 0.64 มากที่สุด

ใช้ในชีวิตประจ าวันได้
3.2 นักเรียนมีความพึงพอใจในสื่อการเรียนการสอน เรื่อง 4.55 0.85 มากที่สุด
การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6
3.3 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจความรู้เกี่ยวกับ เรื่อง 4.35 0.48 มาก

การแปลงเลขฐานสอง
ค่าเฉลี่ยรวม 4.48 0.82 มาก


แผนภูมิแสดงระดับความพึงพอใจด้านการน าความรู้ไปใช้


5 4.53 4.55
4.5 4.35
4
3.5
3

2.5
2
1.5 0.98
1 0.64 0.85
0.5
0
3.1 3.2 3.3

ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน



ภาพที่ 4-4 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านการน าความรู้ไปใช้

Descriptive Statistics
ตารางที่ 4-5 แสดงสถิติความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสื่อการเรียนการสอน

CAI เรื่องการแปลงเลขฐาน ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6

ส่วน ระดับ
เรื่องการประเมิน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ความพึง
มาตรฐาน พอใจ


1. ด้านเนื้อหา 4.65 0.62 มากที่สุด

1.1 เนื้อหามีความเหมาะสม 4.45 0.32 มาก
1.2 เนื้อหามีการอธิบายชัดเจน 4.68 0.66 มากที่สุด
1.3 การเรียบเรียงเนื้อหาเข้าใจง่าย



2. ด้านรูปแบบ 4.70 0.52 มากที่สุด
2.1 ภาพ ที่ใช้ประกอบสื่อมีความสวยงาม และเหมาะสม 4.64 0.62 มากที่สุด

2.2 เสียง ที่ใช้ประกอบมีความชัดเจน และเหมาะสม 4.78 0.48 มากที่สุด
2.3 สี ขนาดตัวอักษรมีความสวยงาม และเหมาะสม

3. ด้านการน าความรู้ไปใช้
3.1 นักเรียนสามารถน าสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การแปลง 4.53 0.64 มากที่สุด

เลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ไปใช้ใน
ชีวิตประจ าวันได้
3.2 นักเรียนมีความพึงพอใจในสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การ 4.55 0.85 มากที่สุด

แปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6
3.3 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจความรู้เกี่ยวกับ เรื่องการ 4.35 0.98 มาก
แปลงเลขฐานสอง

รวมทั้งสิ้น 4.59 0.66 มากที่สุด


จากตารางที่ 4-5 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสื่อการเรียนการ

สอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 มีความพอใจอยู่ในระดับ
มากที่สุด ( ̅=4.59)

แผนภูมิแสดงระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ


6


5 4.65 4.45 4.68 4.7 4.65 4.78 4.53 4.55 4.35


4


3


2


1 0.62 0.66 0.52 0.62 0.48 0.64 0.85 0.98
0.32

0
1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3

ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน



ภาพที่ 4-5 แผนภูมิแสดงระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง

การแปลงเลขฐานสองด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6

บทที่ 5





สรุปผล การอภิปรายผล และ






ข้อเสนอแนะ

บทที่ 5

สรุปผล การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการด าเนินโครงการ
5.1.1 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปจากการติดตามประเมินผลผู้ประเมินด าเนินการวิเคราะห์
ข้อมูลและแปลความหมายตามล าดับ ดังนี้ ผู้ตอบแบบประเมิน จ านวน 40 คน แสดงผู้ตอบแบบ

ประเมินที่ได้เข้าร่วมโครงการ
5.1. อภิปรายผลการประเมิน
จากการประเมินความพึงพอใจ โครงการมีความพึงพอใจในในการจัดท าโครงการสื่อการ
เรียนการสอน CAI เรื่อง “การแปลงเลขฐานสอง” ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 สามารถสรุป

ผลได้ดังนี้
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบ แบบสอบถามจ าแนกได้
ตามเพศที่เข้าร่วม การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปจากการติดตามประเมินผลในการจัดท าโครงการสื่อการ
เรียนการสอน CAI เรื่อง “การแปลงเลขฐานสอง” ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ที่ส่ง

แบบสอบถามกลับคืนดังนี้ เป็นเพศชาย จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมดและ
เป็นเพศหญิง จ านวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการมีความพึง
พอใจในโครงการ สื่อการเรียนการสอน CAI เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ด้านคือ

ความพึงพอใจด้านต่างๆ ของโครงการ ข้อเสนอแนะ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (x= 4.59)
และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านปรากฏผลดังนี้

1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในในการจัดท าโครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง

“การแปลงเลขฐานสอง”ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ด้านเนื้อหา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ที่สุด ( x =4.59) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าเนื้อหาสาระมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

จ านวน 3 ข้อ ตามล าดับได้แก่ เนื้อหาสื่อมีความเหมาะสม ( x = 4.65) เนื้อหามีการอธิบายชัดเจน

( x = 4.45) การเรียบเรียงเนื้อหาเข้าใจง่าย ( x = 4.68)
2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในโครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง “การแปลง
เลขฐานสอง” ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ด้านรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x

=4.59) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าเนื้อหาสาระมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จ านวน 3 ข้อ

ตามล าดับได้แก่ ภาพ ที่ใช้ประกอบสื่อมีความสวยงาม และเหมาะสม ( x =4.70) เสียง ที่ใช้ประกอบ
มีความชัดเจน และเหมาะสม ( x =4.65) สี ขนาดตัวอักษรมีความสวยงาม และเหมาะสม ( x
=4.78)

3) พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในโครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง“การ
แปลงเลขฐานสอง”ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ด้านรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =
4.48) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าเนื้อหาสาระมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จ านวน 3 ข้อ

ตามล าดับได้แก่ นักเรียนสามารถน าสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม
Adobe Flash CS6 ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ( x =4.53) นักเรียนมีความพึงพอใจในสื่อการเรียนการ
สอน เรื่อง การแปลงเลขฐานสอง ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ( x =4.55) นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจความรู้เกี่ยวกับ เรื่องการแปลงเลขฐานสอง ( x =4.35)


5.2 ข้อเสนอแนะ
จากการจัดท าแบบสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการสื่อการเรียนการสอน CAI เรื่อง“การแปลง

เลขฐานสอง”ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 ทั้ง 40 ชุดแล้ว พบว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามและให้
ข้อเสนอแนะโครงการนี้จ านวนทั้งสิ้น 2 ข้อเสนอแนะ อันได้แก่
5.2.1 ดีมาก

5.2.2 ดีเยี่ยม

ภาคผนวก ก









รูปชิ้นงาน

ภาพที่ 1 หน้าแรก
























ภาพที่ 2 หน้าเมนู

ภาพที่ 3 วัตถุประสงค์


























ภาพที่ 4 เนื้อหา

ภาพที่ 5 เนื้อหา

























ภาพที่ 6 เนื้อหา

ภาพที่ 7 เนื้อหา

























ภาพที่ 8 เนื้อหา


Click to View FlipBook Version