สรุ ปเนื้ อหา
เรื่อง โลก และ อวกาศ
คำนำ
สมุดเล่มเล็กนี้ จัดทำขึ้้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่ งของ
รายวิชา โลกและดาราศาสตร์ เพื่อศึ กษาเกี่ยวกับโลก
และดาราศาสตร์ โดยได้ศึ กษาผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ
เช่น ตำรา หนั งสือ และผ่านสื่ ออินเทอร์เน็ ต โดยสมุด
เล่มเล็กนี้ ต้องมีเนื้ อหาเกี่ยวกับ เอกภพ ดาวฤกษ์ และ
ระบบสุ ริยะ
ผู้จัดทำคาดหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าการจัดทำเอกสารนี้
จะมีข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจศึ กษา เรื่อง
โลก และ อวกาศ
ศศิ ธร วินิ จสร
เนื้ อหาที่เรามาสรุ ปในวันนี้ มาสรุ ปใน
เรื่อง "โลก และ อวกาศ"
โดยทั้งหมด มี 3 บท
คือ...
- เอกภพ
- ดาวฤกษ์
- ระบบสุริยะ
โดยในแต่ละส่วนของแต่ละบท ก็จะมี
!เนื้ อหาปลีกย่อยอีกมากมายในเนื้ อหา เรามา
เข้าสู่เนื้ อหากันเลย...
บทที่ 1
เรื่อง เอกภพ และ กาแล็กซี่
- การเกิด และ วิวัฒนาการของเอกภพ -
หลังบิ๊กแบง มีสสารเกิดขึ้นในรู ปของ อนุภาคมูลฐาน เมื่ออนุภาคมูลฐาน
และ ปฏิอนุภาค หรือ ปฏิยานุภาค ของอนุภาคมูลฐานประเภทเดียวกัน
เกิดการรวมตัวกัน จะเกิด กระบวนการประลัย กลายเป็ นโฟตอน
โปรตอน + นิ วตรอน --> นิ วเคลียสของHe
พลังงานจลน์ ลดลง นิ วเคลียสของHและHe ดึง e มา
รวมกัน เกิดอะตอมของHและHe
เกิดการรวมตัวของHและHe ด้วยแรงโน้ มถ่วง เกิด
เนบิวลารุ่นแรกเกิด ดาวฤกษ์ ร่วมกับกาแล็กซี่รุ่นแรก
หลักฐานที่สนั บสนุนทฤษฎีบิ๊กแบง
ทฤษฎีบิ๊กแบง มีการขยายตัวของเอกภพ และ ไมโครเวฟพื้นหลัง
จากอวกาศ
กาแล็กซี และ กาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซีทางช้าง มีลักษณะเป็ น กังหันมีคาน
แต่ถ้าเป็ นกาแล็กซีที่ไม่มีรู ปทรง จะเรียกว่า กาแล็กซีไร้รู ปแบบ
ดาวฤกษ์อยู่อย่างหนาแน่ นมี
ลักษณะโป่ งตรงกลาง "ดุมกา
แลกซี" มี "นิ วเคลียส" อยู่ตรง
กลาง รอบๆนิ วเคลียสมี
ดาวฤกษ์เรียงตัวเหมือนคาน
ในลักษณะที่เป็ น "จาน" และ
บริเวณที่ไกลออกไป "ฮาโล"
กาแล็กซีเพื่อนบ้าน
- กาแล็กซีแอนดรอเมดา มีรู ปร่างเป็ นกังหัน
- กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ ไร้รู ปร่าง
- กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก ไร้รู ปร่าง
ฮาโล
ดุมกาแล็กซี
ระบบสุ ริยะ
นิ วเคลียส จาน
บทที่ 2
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ -> สว่างมาก ขนาดเล็ก -> สว่างน้ อย
ใกล้กว่า -> สว่างมาก ไกลกว่า -> สว่างน้ อย
โชติมาตร โชติมาตรน้ อย
ค่าเปรียบเทียบความสว่างของดาว -สว่างมาก
โชติมาตรปรากฏ โชติมาตรมาก
โชตืมาตรสั งเกตจากโลก -สว่างน้ อย
โชติมาตรสั มบูรณ์
สังเกตจากโลกเท่ากัน (10พาร์เซก)
กำเนิ ดและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์
ดาวฤฤกษ์เกิดจาก เนบิวลา ประกอบด้วย แก๊ส และ ฝุ่ น การรวมตัว
กัน ทำให้เกิดแรงโน้ มถ่วง สสารยุบลง ทำให้ ความหนาแน่ น ความดัน
และอุณหภูมิสูงขึ้น จนถึง 100000 K เป็ นดาวฤกษ์ก่อเกิด จนอุณหภูมิ 15
ล้านK เกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิ วเคลียร์ จนกลายเป็ น ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์แต่ละดวง จะมี ดาวฤกษ์เป็ นทรงกลม เพราะ แรง
มวลที่ต่างกัน ที่ขึ้นอยู่กับ ดันเกิดจากปฏิกิริยาเทอร์มอ
นิ วเคลียร์
มวลของดาวฤกษ์ก่อนเกิด = แรงดึงดูดจากแรงโน้ มถ่วง จะเรียก
สภาพสมดุลนี้ ว่า สมดุลอุทกสถิต
ดาวฤกษ์ก่อนเกิด มวลจะมากกว่าหรือเท่ากับ 25 เท่า ของดวงอาทิตย์
บทที่ 3
ระบบสุ ริยะ
โครงสร้างและปรากฎการบนดวงอาทิตย์
โครงสร้างภายในดวงอาทิตย์
แก่น ชั้นในสุด อุณหภูมิ15ล้าน k อุณหภูมิสูงพอที่จะเกิดปฏิกิริยา
เทอร์มอนิ วเคลียร์
เขตการแผ่รังสี อุณหภูมิ 25 ล้าน K
เขตการพาความร้อน ชั้นนอกสุด เกิดจากการพาพลังงาน จากเขต
การแผ่รังสี ออกสู่ผิวของดวงอาทิตย์
ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์
ชั้นโฟโตสเฟี ยร์ ชั้นในสุด มองเห็นด้วยตา
เปล่า มีอุณหภูมิ 5800 K
ชั้นโคโมสเฟี ยร์ ห่อหุ้มโฟโมสเฟี ยร์ไว้ มี
อุณหภูมิประมาณ 10000 - 100000 K
คอโรนา ชั้นนอกสุด สามารถแผ่ไปไกลมาก
มีอุณหภูมิ 1-2 ล้าน k จะเห็นได้เฉพาะตอนเกิด
สุ ริยุ ปราคาเต็มดวง
1.จุดมืดบนดวงอาทิตย์
เป็ นบริเวณชั้นโฟโตสเฟี ยร์ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ และ มีความเข้มของ
สนามแม่เหล็กสูงกว่าบริเวณอื่น สีคล้ำบริเวณข้างจุดมืดบนดวงอาทิตย์เกิดเป็ นกลุ่ม จาก
นั้ นมุมมืดจะเปลี่ยนแปลงใช้เวลาประมาณ 11 ปี เรียกว่า วัฏจักรจุดมืด มักจะเกิดเปลวสุริยะ
การลุกจ้าและพายุ สุ ริยะ
2.ลมสุ ริยะและพายุ สุ ริยะ
พระอาทิตย์จะปล่อยP+ และ e- ออกมาตลอดเวลาเรียกว่าลมสุริยะมี ความเร็ว
ประมาณ 200-900km/s ส่งผลกระทบต่อสนามแม่เหล็กและฉันบรรยากาศทำให้แก๊ส
แตกตัวเป็ นไอออน ต้นกำเนิ ดของแสงเหนื อใต้ ลมสุริยะมีความเร็วมากกว่า1000km/s
เรียกว่าพายุ สุ ริยะ
ผลกระทบทางสภาพอากาศ
ทำลายแผงรับแสงอาทิตย์ และ เป็ นภัยต่อนั กบินอวกาศ รบกวนคลื่นวิทยุ
รบกวนระบบสายส่งไฟฟ้ า รบกวนสายส่งการสื่ อสาร เกิดการก่อนของท่อโลหะ