The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

03 จำลองการเกิดภูเขาไฟ2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sopa, 2019-06-18 04:30:05

03 จำลองการเกิดภูเขาไฟ2

03 จำลองการเกิดภูเขาไฟ2

เคา้ โครงโครงงานคอมพิวเตอร์

ชอ่ื โครงงาน (ภาษาไทย) : แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎี
แปรสณั ฐานธรณี
ชอ่ื โครงงาน
(ภาษาองั กฤษ) : Brith of Volcano from Plate tectonics theory
ประเภทโครงงาน
: โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)

ช่ือผู้จัดทาโครงงาน : นายธนกฤต ไสยสมบตั ิ เลขที่ 5
เลขที่ 15
ชือ่ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา นางสาวเกษตรา แสงเวยี น เลขที่ 22
ชือ่ อาจารย์ท่ีปรึกษาร่วม เลขท่ี 36
ระยะเวลาดาเนนิ งาน นางสาวสกุ ฤตยา กันภัย

นางสาวชุติมา ดวงเสนาะ

: นางโสภา พิเชฐโสภณ

: นายบรรพชิต โพธบ์ิ อน

: มถิ ุนายน 2561 – กันยายน 2561

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน
1.แนวคดิ ทม่ี าและความสาคัญ

นกั ธรณีวิทยาชาวแคนาดาชอื่ นายทโู ซ วิลสัน (Tuzo Wilson) ศาสตราจารย์ แห่ง
มหาวิทยาลัยโทรอนโต (Toronto University) เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๘ เชอื่ วา่ แผ่นเปลอื กโลกมีการสรา้ ง
ขึน้ ใหม่ และถกู ทาลายอยตู่ ลอดเวลา ลักษณะเชน่ น้ี ส่งผลใหแ้ ผ่นเปลอื กโลกเกิดการเปลี่ยนลกั ษณะ
และการดัดแปลง) อยู่เสมอ เราเรียกกระบวนการท่ีทาให้แผ่นเปลอื กโลก เกิดการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้าง อนั เปน็ ผลเนือ่ งมาจากแรงภายในโลกวา่ การแปรสัณฐานแผน่ เปลอื กโลก (plate
tectonics) ในปัจจุบันเชอ่ื วา่ กระบวนการทางธรณวี ทิ ยาต่างๆ ของโลกเป็นผลเสีย เนื่องมาจากการ
แปรสณั ฐานเปลอื กโลกแทบท้ังสิน้ (สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ท่ี ๓๓ เรอ่ื งท่ี 6)

จากการสารวจทางธรณวี ิทยาพบวา่ ภูเขาไฟท่ีพบในประเทศไทยทั้งหมดเปน็ ภเู ขาไฟทีส่ ้นิ
พลังแล้วท้งั สิ้น จากการสารวจพบว่าเป็นภูเขาไฟท่ีมีอายุอย่างนอ้ ยทส่ี ดุ ประมาณ 7 แสนปีท่ีแล้ว ส่วน
ใหญม่ ีสณั ฐานแบบรูปโล่ (Physical Geography : Chapter 6 Diastropic and Landform) ทาให้
การศึกษาเรื่องการเกิดภูเขาไฟในประเทศไทยศึกษาได้ยาก การศกึ ษาเนอ้ื หานี้ไมส่ ามารถจาลองให้
เป็นสถานการณ์จริงไดเ้ พราะอาจมีอนั ตรายต่อผ้ทู าการทดลองและคา่ ใชจ้ ่ายในการไปศึกษาจากแหล่ง
ท่เี กดิ ในต่างประเทศมรี าคาที่ค่อนข้างสูง สาหรับแนวทางในการแก้ปัญหานี้สามารถแก้ไขปัญหาได้

ด้วยการสร้างแอนิเมชันในการจาลองทฤษฎกี ารเกิดภูเขาไฟ เน่อื งจากแอนิเมชัน คือ กระบวนการที่
เฟรมแตล่ ะเฟรมของภาพยนตร์ ถูกผลติ ขึ้นตา่ งหากจาก กันทลี ะเฟรม แลว้ นามารอ้ ยเรียงให้
ต่อเนอ่ื งกัน โดยวิธีการใชค้ อมพิวเตอร์ ต้ังแต่ 16 เฟรมต่อวินาที ขึ้นไปจะเห็นเหมือนว่าภาพดงั กล่าว
เคลอ่ื นไหวได้ต่อเนอื่ งกนั อกี ทง้ั แอนิเมชันสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับงานอน่ื ๆได้อีกมากมายและ
สามารถอธิบายสงิ่ ที่เป็นนามธรรมให้เป็นรปู ธรรมมากย่ิงขึน้ นอกจากนี้แอนิเมชนั ยงั มภี าพประกอบ
เสยี งที่ทาให้ผทู้ ีเ่ ขา้ มาศกึ ษามีความนา่ สนใจมากยิง่ ข้ึน ดงั นั้นแอนเิ มชนั จึงเหมาะท่ีจะนามาใชใ้ นการ
แกป้ ญั หาดังกล่าวได้

จากแนวคิดและทมี่ าทาให้กลุม่ ของข้าพเจา้ เหน็ ปญั หาจึงจดั ทา แอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี
เร่ือง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี (Plate tectonics) ข้ึน ซ่ึงทาให้ผูท้ ี่ศึกษาเกิดเป็น
แรงบนั ดาลใจในการศกึ ษาเรื่องราวเก่ยี วกับธรณวี ิทยา เพื่อเปน็ แนวทางในการศกึ ษาต่อและทาใหผ้ ูท้ ่ี
ศึกษาเกิดความเขา้ ใจมากย่ิงข้ึน

2.วตั ถปุ ระสงค์
2.1 เพื่อสร้างแอนเิ มชันการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐาน
2.2 เพอ่ื ศกึ ษาการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
2.3 เพื่อศกึ ษาการใชโ้ ปรแกรม Adobe Flash Cs3 เพ่อื ใช้จาลองทฤษฎี
2.4 เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจต่อ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจาก

ทฤษฎีแปรสณั ฐาน

3. หลักการและทฤษฎี
จากการศึกษาทาให้ผู้จดั ทามีแนวคดิ ในการจัดทาการจาลองทฤษฎี เร่ือง การเกิดภูเขาไฟจาก

ทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี มหี ลักการและทฤษฎีทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อนามาใชใ้ นการจัดทา ดงั น้ี
3.1 ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานธรณี (Plate Tectonic Theory)
3.1.1 ทฤษฎกี ารแปรสัณฐานธรณี (Plate Tectonic Theory)
3.1.2 การเกดิ ภเู ขาไฟ
3.2 การจาลองทฤษฎี
3.3 แอนิเมชัน (Animation)
3.4 โปรแกรม Adobe Flash Cs3
3.5 โปรแกรม Wondershare filmora
3.6 ทฤษฎีความพงึ พอใจ

3.6.1 ความหมายของความพึงพอใจ
3.6.2 ทฤษฎคี วามพงึ พอใจ
3.7 งานวิจัยท่เี กยี่ วขอ้ ง

3.1 ทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี (Plate techtonics Theory)
3.1.1 ทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี (Plate techtonics Theory)
เกดิ จากการนาทฤษฎีทวปี เลื่อนและทวีปแยกมารวมกนั ตั้งเปน็ ทฤษฎีใหม่ขึน้ มาโดย

กลา่ วไว้ว่า เปลอื กโลกทง้ั หมดแบง่ ออกเป็น แผน่ ทส่ี าคัญ จานวน 13 แผน่ โดยแตล่ ะแผน่ จะมขี อบเขต
เฉพาะได้แก่ แผน่ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ยูเรเซีย แอฟริกา อนิ เดีย แปซิฟิก แอนตาร์กตกิ ฟิลปิ ปินส์
อาหรับ สกอเทยี โกโก้ แครเิ บียน และนาซกา้ แผ่นเปลอื กโลกทงั้ หมดไมห่ ยดุ น่ิงอยู่กบั ทจี่ ะมกี าร
เคล่อื นทตี่ ลอดเวลาใน 3 แบบ ไดแ้ ก่การเคล่ือนที่เข้าหากัน แยกออกจากกนั และไถลตัวขนานออก
จากกนั ซ่ึงผลของการเคลื่อนท่ีของเปลือกโลกทาให้เกดิ ปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ ข้นึ เช่น แผน่ ดินไหว
เทอื กเขา ภเู ขาไฟ และกระบวนการเกิดแรแ่ ละหนิ

3.1.1.1 ลักษณะการเคลือ่ นท่ขี องแผ่นเปลอื กโลก
3.1.1.1.1 รอยต่อท่แี ผ่นเปลอื กโลกจะแยกจากกัน (Divergent Boundary) เมอื่

แมกม่าในช้นั แอสทีโนสเฟยี ร์ดันตวั ขึ้น ทาให้เพลตจะขยายตัวออกจากกนั เกดิ ขน้ึ ตรงรอยต่อระหวา่ ง
แผน่ เปลอื กโลก 2 แผ่น ท่อี ยู่ใตม้ หาสมุทรมากกวา่ บนทวปี แนวเพลตแยกจากกนั ส่วนมากเกิดขึน้ ใน
บริเวณสันกลางมหาสมทุ ร เช่น รอยต่อของแผ่นอเมริกากบั แผ่นยูเรเซียน ที่เทือกเขาทมี่ ีการแยกตวั
(Spreading Ridge) หรือรอยตอ่ ท่แี ยกออกจากกนั จะเกิดแผน่ ดนิ ไหวที่ระดับต้ืนตามแนวแกนการ
แยกตวั เทา่ นั้น และเกดิ กลไกการแยกตัวข้ึน แผ่นดินไหวทเี่ กดิ จากลักษณะการแยกตวั มักจะมขี นาดตา่
กว่า 8 ริกเตอร์

ภาพที่ 1 รอยตอ่ ที่แผ่นเปลอื กโลกจะแยกจากกนั (Divergent Boundary)

3.1.1.1.2 รอยต่อท่ีแผน่ เปลือกโลกจะเคลื่อนท่ชี นกันและเกยกัน (Convergent
Boundary) มี 3 แบบ คือ

3.1.1.1.2.1 แผน่ เปลือกโลกใต้มหาสมุทร 2 แผ่นมาชนกนั (Collision) โดย
ขอบแผ่นเปลือกโลกในแต่ละแนวทมี่ คี วามหนาแนน่ สูงกวา่ จะสอดมุดตัว (Subduction Zones) ลงไป
ใต้อีกแผน่ เปลอื กโลกอีกแผ่นหนง่ึ จนถงึ ชน้ั แมนเทิล มกี ารเลอ่ื น ขบ กดและดัน ซ่ึงกนั และกนั ยังผลให้
มีการปรบั ตวั ตลอดเวลา จากนนั้ จะหลอมละลายกลายเปน็ หนิ หลอมละลายที่มีการสะสมพลังงาน
แรงดันมหาศาลภายในดนั ตวั ควบคู่กันไปขนึ้ มาตามชน้ั หินของเปลือกโลก หากพลงั งานน้ันสงู มาก
จนถึงระตบั ก็จะมีการปลดปล่อยพลังงานออกมาในรปู การเกิดแผ่นดินไหว ซึง่ ในสว่ นทีไ่ ม่แข็งแรงทีอ่ ยู่
ดา้ นบนเกิดเป็นปล่องภเู ขาไฟ และแนวตามขอบแผ่นเปลือกโลกเป็นร่องลึกทางยาวที่เรียกว่า Trench

ภาพท่ี 2 แผน่ เปลือกโลกใตม้ หาสมทุ ร 2 แผ่นมาชนกัน (Collision)

3.1.1.1.2.2 แผน่ เปลอื กโลกใต้มหาสมุทรชนกบั แผ่นทวปี แผ่นมหาสมุทรที่
หนักกวา่ จะมุดลงใต้แผน่ ทวีปและหลอมละลายกลายเป็นหินหลอมละลายและถูกดนั ออกมาตามรอย
แยกในชั้นหินของแผ่นทวปี เกดิ เป็นแนวภเู ขาไฟ

ภาพที่ 3 แผน่ เปลือกโลกใต้มหาสมุทรชนกบั แผ่นทวีป

3.1.1.1.2.3 แผน่ ทวีปชนกับแผ่นทวีป ทาให้เพลตท่ีมคี วามหนาแน่นนอ้ ย
กว่าเกิดการโก่งตวั เกยสูงขน้ึ กลายเป็นเทอื กเขา เชน่ เทือกเขาหมิ าลยั เกดิ จากการชนกนั ของเพลต
อินเดียและเพลตเอเชยี เทือกเขาแอลป์ (Alps) ในทวปี ยโุ รป เทือกเขาร็อกกี้ (Rocky) และเทอื กเขา
แอปปาเลเชยี น (Appalachian) ในทวปี อเมริกาเหนือ เกิดจากการชนกันของเพลตอเมริกาเหนอื กับ
เพลตแอฟริกา และเทอื กเขาภพู านในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทย

ภาพที่ 4 แผน่ ทวีปชนกับแผน่ ทวีป

3.1.1.1.3 รอยต่อทแ่ี ผ่นเปลอื กโลกเคล่ือนทสี่ วนกัน (Transform Boundary)
เมอื่ แผ่นเปลือกโลก 2 แผน่ เคลื่อนทส่ี วนกนั ทาใหเ้ กิดเปน็ รอยเลอื่ นขนาดใหญ่ขน้ึ มกั เกิดข้นึ ใน
บรเิ วณเทอื กเขากลางมหาสมุทร แต่บางครง้ั กเ็ กิดขึน้ บรเิ วณชายฝ่ัง หากเปลอื กโลกเคลื่อนท่กี ระทบ
กันอยา่ งรนุ แรงจะทาใหเ้ กิดการส่นั สะเทือน และเกดิ แผ่นดินไหวได้

ภาพที่ 5 รอยตอ่ ที่แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนทส่ี วนกนั (Transform Boundary)

3.1.2 สาเหตุการเกดิ ภเู ขาไฟ
เน่อื งจากเปลอื กโลกชน้ั นอกของโลกเรามีพนื้ ทีไ่ มเ่ รียบเสมอกันเปลอื กโลกชัน้ ในมลี กั ษณะ

เปน็ หนิ เม่ือได้รบั ความร้อนท่ีแผ่ออกมาจากแกน่ โลกทาให้กลายเปน็ หินเหลวหนืดทเ่ี รียกวา่ แมกมา(หิน
หนืดทีอ่ ยู่ภายใต้แผ่นเปลือกโลกจะถูกเรยี กว่าแมกมาเม่ือมีการดนั ตวั มาสูช่ น้ั บรรยากาศของโลกจะถูก
เรยี กวา่ ลาวา) และเม่ือไดร้ บั ความร้อนจากแกน่ โลกมากเข้ากจ็ ะไหลวนเวียนเฉกเชน่ เดยี วกบั นา้ ในกา
ต้มน้าร้อนทว่ี ง่ิ ไปรอบกานา้ พรอ้ มกบั ส่งควันพวยพุ่งออกมาตามช่องระบายภูเขาไฟกเ็ ชน่ กนั และใน
ทสี่ ุดกพ็ ุ่งทะลักออกมาตามรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก

โดยท่วั ไปแลว้ การเกิดภูเขาไฟประมาณ 95 เปอร์เซน็ ตเ์ กดิ จากการเคล่ือนท่ีของแผน่
เปลอื กโลกมาเกยกนั หรือทีเ่ รียกตามศัพท์ทางวชิ าการว่า subduction zone เปลือกโลกของเราเปน็
ชน้ั หนิ ทม่ี ีความแขง็ มีความหนาประมาณ 40-60 กโิ ลเมตร ผิวโลกมลี ักษณะเป็นแผ่นไม่ได้รวมเปน็
เนอ้ื เดยี วกันตลอดทง้ั โลก เปลือกโลกถูกแบ่งออกตามลักษณะทางภูมิศาสตรไ์ ดเ้ ป็น 2 ประเภท
Oceanic plate คือแผ่นเปลือกโลกท่ีอยู่ใต้มหาสมุทรกับ Continental plate หรอื แผ่นทวีป ซึ่ง
ปรากฏอยู่ตามส่วนที่เปน็ พน้ื ดิน ดงั นั้นเม่อื ได้รับความร้อนจากแกน่ โลกก็จะทาให้แผ่นโลกเกิดการ
เคล่ือนที่อยู่ตลอดเวลาโดยกะประมาณวา่ แผน่ โลกของเราจะมีการเคล่อื นทีป่ ระมาณ 10 เซนติเมตร
ตอ่ ปี และเม่อื แผน่ เปลือกโลกสองแผ่นเคล่ือนทช่ี นกนั กจ็ ะทาให้แผ่นโลกแผน่ หนงึ่ มดุ ลงใต้แผ่นโลกอกี
แผน่ หนงึ่ แผ่นทมี่ ุดต่าลงจะเข้าสูช่ ้นั เปลอื กโลกท่ีมคี วามร้อนสงู ดังน้นั เกิดเปน็ พลังงานความร้อนที่
พยายามดันตัวออกมาส่ภู ายนอก ลกั ษณะของการเกยกันของแผ่นเปลือกโลกนี้เองท่เี ราเรียกว่า
subduction zone ภูเขาไฟมักจะเกิดตามแนว subduction zoneนี้

ภูเขาไฟไม่มคี าบการระเบิดท่ีแนน่ อน ท้ังนี้ขึน้ อยูก่ บั แรงดนั ภายใน คณุ สมบัติและปริมาณ
หนิ ท่ีกดทับโพรงแมกมา อยา่ งไรก็ตามนักธรณีวิทยาสามารถทาการพยากรณ์อย่างครา่ วๆ โดย

ภาพท่ี 6 สาเหตกุ ารเกิดภูเขาไฟ

การวเิ คราะหค์ วามถ่ีของคลน่ื ไหวสะเทือน ความรนุ แรงของแผ่นดินไหว ความเปน็ กรด
ของน้าใตด้ นิ ซ่งึ เกดิ จากแมกมาอุณหภูมสิ ูงทาใหแ้ รธ่ าตุละลายตวั และความผิดปกติของพฤติกรรม
สัตว์

การปะทขุ องภูเขาไฟท่ีรนุ แรงเกดิ ขึ้น เม่ือแมกมาบะซอลต์ยกตวั ขนึ้ ลอยตัวขึ้นจากชนั้ ฐาน
ธรณีภาค จะทาให้แผ่นเปลอื กโลกธรณซี ่ึงเป็นหินแกรนิตหลอมละลายกลายเปน็ แมกมาแกรนติ แลว้
ดนั พื้นผิวโลกใหโ้ กง่ ตวั ข้นึ แรงอดั ของแกส๊ ร้อนดนั ให้ปากปลอ่ งภเู ขาไฟระเบิด พน่ ฝุ่นเถ้าภเู ขาไฟ
(Pyroclastic flow) ซึง่ มีคามรอ้ นถึง 900 องศาเซลเซียสขึ้นสู่ช้นั บรรยากาศ แลว้ ตกลงมาทับถมกนั ท่ี
บริเวณเนนิ ภเู ขาไฟ ทง้ั ลาวาท่ีไหลออกมาและเศษวัสดทุ ่ีตกลงมาทับถมกัน ทาใหบ้ รเิ วณรอบปาก
ปลอ่ งภูเขามีนา้ หนักมาก จึงทรุดตัวกลายเปน็ แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (Caldera) เม่อื เวลาผา่ นไป
น้าฝนตกลงมาสะสมกนั ทาให้เกดิ เปน็ ทะเลสาบ

3.2 การจาลองทฤษฎี
เปน็ การใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึง่ เปน็ งานท่ีไม่

สามารถทดลองด้วยสถานการณจ์ ริงได้ เช่น การจุดระเบดิ เปน็ ต้น และเปน็ โครงงานที่ผูท้ าตอ้ งศึกษา
รวบรวมความรู้ หลักการ ขอ้ เทจ็ จรงิ และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึง้ ในเรื่องที่ต้องการศึกษาแลว้ เสนอ
เป็นแนวคดิ แบบจาลอง หลักการ ซงึ่ อาจอย่ใู นรปู ของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทงั้ การ
จาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ใหอ้ อกมาเปน็ ภาพ ภาพท่ีได้ก็จะเปลยี่ นไปตามสตู รหรือสมการน้นั ซ่งึ
จะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจไดด้ ีย่งิ ขนึ้ การทาโครงงานประเภทนมี้ ีจดุ สาคญั อยทู่ ่ผี ทู้ าต้องมคี วามร้ใู น

เรือ่ งนน้ั ๆ เปน็ อย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเร่ืองการไหลของของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถแุ บบสามมิติ เป็นต้น

3.3 แอนิเมชั่น (Animation)
3.3.1 ความหมายแอนิเมชนั (Animation)
แอนเิ มชัน (Animation) หมายถึง กระบวนการทีเ่ ฟรมแต่ละเฟรมของภาพยนตร์

ถูกผลิตข้ึนต่างหากจาก กนั ทีละเฟรม แล้วนามาร้อยเรียงเขา้ ดว้ ยกัน โดยการฉายต่อเน่ืองกนั ไม่ว่า
จากวิธีการ ใช้คอมพวิ เตอร์กราฟิก ถ่ายภาพรปู วาด หรือ หรือรปู ถา่ ยแตล่ ะขณะของหนุ่ จาลองท่ีค่อย
ๆ ขยบั เมอื่ นาภาพดังกล่าวมาฉาย ดว้ ยความเรว็ ตงั้ แต่ 16 เฟรมต่อวินาที ขน้ึ ไป เราจะเห็นเหมือนว่า
ภาพดงั กลา่ วเคลื่อนไหวไดต้ ่อเน่ืองกัน ทั้งนเ้ี น่อื งจาก การเหน็ ภาพตดิ ตาในทาง คอมพวิ เตอร์ การ
จัดเกบ็ ภาพแบบอนเิ มชันทใี่ ชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลายในอินเทอร์เนต็ ได้แก่เก็บในรปู แบบ GIF MNG SVG
และ แฟลช

คาวา่ แอนเิ มช่ัน (animation) รวมทัง้ คาว่า animate และ animator มากจากราก
ศพั ท์ละติน "animare" ซ่ึงมคี วามหมายวา่ ทาใหม้ ชี วี ติ ภาพยนตร์แอนเิ มชั่นจงึ หมายถงึ การ
สรา้ งสรรคล์ ายเสน้ และรูปทรงทีไ่ ม่มีชีวติ ใหเ้ คล่อื นไหวเกิดมชี ีวติ ข้ึนมาได้ (Paul Wells , 1998 : 10 )

แอนเิ มชนั่ (Animation) หมายถึง "การสร้างภาพเคลื่อนไหว" ด้วยการนาภาพนิง่ มา
เรียงลาดบั กัน และแสดงผลอย่างต่อเนื่องทาให้ดวงตาเหน็ ภาพทมี่ ีการเคลื่อนไหวในลักษณะภาพตดิ
ตา (Persistence of Vision) เมอื่ ตามนุษยม์ องเห็นภาพที่ฉาย อยา่ งต่อเนอ่ื ง เรตนิ าระรักษาภาพน้ีไว้
ในระยะสั้นๆ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพอ่ืนแทรกเข้ามาในระยะเวลาดงั กล่าว สมองของมนุษย์
จะเช่ือมโยงภาพท้งั สองเขา้ ด้วยกนั ทาใหเ้ ห็นเปน็ ภาพเคล่ือนไหวท่มี ีความต่อเนื่องกัน แม้วา่ แอนเิ มชัน่
จะใชห้ ลกั การเดียว กบั วดิ ิโอ แตแ่ อนิเมชน่ั สามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั งานต่างๆได้มากมาย เชน่
งานภาพยนตร์ งานโทรทศั น์ งานพัฒนาเกมส์ งานสถาปัตยง์ านก่อสรา้ ง งานด้านวทิ ยาศาสตร์
หรืองานพัฒนาเว็บไซต์ เป็นต้น (ทวีศักดิ์ กาญจนสวุ รรณ : 2552 : 222 )

สรปุ ความหมายของแอนิเมช่ันคือ การสรา้ งสรรคล์ ายเส้นรูปทรงต่างๆให้เกดิ การ
เคล่อื นไหวตามความคิดหรอื จินตนาการ

3.4 Adobe Flash CS3
Adobe Flash CS3 เป็นผลติ ภัณฑท์ ่ีพฒั นามาเพ่ือสนับสนนุ การสรา้ งงานกราฟิก ท้ัง

ภาพน่ิงและภาพเคลื่อนไหว สาหรบั การนาเสนอ ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ Flash มีฟังก์ชันช่วย

อานวยความสะดวก ในการสรา้ งผลงานหลากหลายรปู แบบ ตลอดจนชดุ คาส่ังโปรแกรมมง่ิ ท่ีเรียกว่า
Flash Action Script ท่เี พมิ่ ประสิทธภิ าพในการทางาน และสามารถคอมไพล์ (Compile) เป็น
โปรแกรมใช้งาน (Application Program) เช่น การทาเป็น e-Card เพอื่ แนบไปพร้อมกับ E-Mail ใน
โอกาสต่างๆ

Flash เดมิ เปน็ ของ Macromedia แตป่ จั จุบันไดเ้ ปลี่ยนมาเป็นของ Adobe ซ่งึ ไดถ้ ูก
พัฒนาให้มลี ักษณะการทางานทสี่ อดคล้องต่อโปรแกรม ต่างๆ ในชุด Adobe มากย่ิงขึน้

3.5 Wondershare Filmora
โปรแกรมนีม้ ีชอ่ื วา่ โปรแกรม Filmora มนั เปน็ โปรแกรมตดั ตอ่ วดี โี อ จากทางคา่ ย

Wondershare ผพู้ ฒั นาโปรแกรมสามัญประจาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ที่เนน้ หนา้ ตาโปรแกรม (User
Interface) ท่ีเรยี บง่ายและโทนสเี ย็นสวยงามน่าใชง้ าน โดยโปรแกรมน้ี เปน็ อีกหน่ึงโปรแกรมตัดต่อ
วดี โี อทใี่ ชง้ านงา่ ย ไม่วา่ จะเป็นคลปิ มอื ถือถ่ายเลน่ ๆ หรือคลปิ จรงิ จังจากกล้องตัวใหญ่ ก็สามารถนามา
ตดั ต่อในโปรแกรมน้ไี ด้

โดยโปรแกรมน้ี จะมโี หมดการใช้งานใหเ้ ลือกใช้ด้วยกนั 4 ระดบั ตงั้ แต่โหมดง่ายๆ เพียง
ลากคลปิ กดธมี ที่ตอ้ งการ กจ็ ะได้คลิปวดี ีโอสาเร็จรูปมาใหใ้ ช้งาน หรอื จะเปน็ โหมดโปรท่ีสามารถตัด
ตอ่ คลิปเป็นข้นั เป็นตอน จดั การเอฟเฟคต่างๆ รวมท้งั เสยี งตา่ งๆ ก็สามารถทาได้อย่างอสิ ระ

3.6 ทฤษฎีเกีย่ วกบั ความพงึ พอใจ
3.6.1 ความหมายของความพึงพอใจ
ทวีพงษ์ หินคา (2541 : 8 ) ไดใ้ ห้ความหมายของความพงึ พอใจวา่ เป็นความชอบ

ของบุคคลท่ีมีตอ่ สงิ่ หน่งึ สง่ิ ใด ซงึ สามารถลดความดงึ เครียดและตอบสนองความต้องการของบุคคลได้
ทาใหเ้ กดิ ความพึงพอใจต่อส่ิงนน้ั

ธนยี า ปญั ญาแกว้ ( 2541 : 12 ) ไดใ้ ห้ความหมายว่า สง่ิ ท่ีทาให้เกดิ ความพึงพอใจ
ทเี่ ก่ียวกับลกั ษณะของงาน ปัจจัยเหลา่ น้นี าไปสคู่ วามพอใจในงานทที่ า ได้แก่ ความสาเร็จ การยกยอ่ ง
ลักษณะงาน ความรับผดื ชอบ และความก้าวหนา้ เมือ่ ปัจจัยเหลา่ นี้อยู่ต่ากว่า จะทาใหเ้ กิดความไม่
พอใจงานท่ีทา ถา้ หากงานให้ความก้าวหน้า ความท้าท้าย ความรบั ผิดชอบ ความสาเร็จและการยก
ยอ่ งแกผ่ ู้ปฏบิ ัตงิ านแล้ว พวกเขาจะพอใจและมแี รงจงู ใจในการทางานเปน็ อย่างมาก

วทิ ย์ เท่ยี งบูรณธรรม (2541 : 754) ให้ความหมายของความพงึ พอใจวา่ หมายถึง
ความพอใจ การทาให้พอใจ ความสาแกใ่ จ ความหนาใจ ความจใุ จ ความแน่ใจ การชดเชย การไถ่บาป
การแก้แคน้ ส่งิ ที่ชดเชย

วริ ฬุ พรรณเทวี (2542 : 11 ) ใหค้ วามหมายไวว้ า่ ความพงึ พอใจเปน็ ความรู้สึก
ภายในจิตใจของมนุษย์ทไ่ี ม่เหมอื นกนั ซึ่งเป็นอยู่กบั แตล่ ะบุคคลว่าจะคาดหมายกบั สงิ่ หน่ึง ส่งิ ใด
อยา่ งไร ถ้าคาดหวังหรือมีความต้งั ใจมากและได้รับการตอบสนองด้วยดี จะมีความพึงพอใจมากแต่
ในทางตรงกนั ขา้ มอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเปน็ อยา่ งย่งิ เมื่อไม่ได้รบั การตอบสนองตามท่คี าดหวังไว้
ทัง้ นขี้ ้นึ อยกู่ บั สิง่ ท่ีตนต้ังใจไว้ว่าจะมมี ากหรอื น้อย

กาญจนา อรุณสขุ รุจี ( 2546 : 5 ) กล่าววา่ ความพึงพอใจของมนุษย์ เปน็ การ
แสดงออกทางพฤตกิ รรมท่ีเป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเปน็ รปู ร่างได้ การทีเ่ ราจะทราบว่า บุคคล
มคี วามพึงพอใจหรือไม่ สามารถสงั เกตโดยการแสดงออกท่ีค่อนข้างสลบั ซับซ้อน และต้องมีส่งิ ท่ตี รงต่อ
ความตอ้ งการของบุคคล จึงจะทาให้บุคคลเกิดความพงึ พอใจ ดงั นัน้ การสร้างสิง่ เรา้ จึงเป็นแรงจูงใจ
ของบุคคลน้นั ใหเ้ กดิ ความพึงพอใจในงานน้นั

Carnpbell ( 1976 : 117 – 124 อ้างถึงใน วาณี ทองเสวต, 2548 ) กลา่ ววา่
ความพึงพอใจเปน็ ความรู้สึกภายในทแี่ ตล่ ะคนเปรียบเทยี บระหวา่ งความคิดเหน็ ต่อสภาพการณ์ที่
อยากให้เปน็ หรอื คาดหวัง หรือร้สู ึกว่าสมควรจะไดร้ ับ ผลท่ีไดจ้ ะเปน็ ความพึงพอใจหรือไมพ่ ึงพอใจ
เป็นการตดั สินของแตล่ ะบคุ คล

Domabedian ( 1980 , อา้ งถงึ ใน วาณี ทองเสวต,2548 ) กลา่ ววา่ ความพงึ พอใจ
ของผ้รู ับบรกิ าร หมายถึง ผู้บรกิ ารประสบความสาเรจ็ ในการทาให้สมดลุ ระหว่างสิ่งท่ผี ู้รับบรกิ ารให้ค่า
กบั ความคาดหวังของผรู้ บั บริการ และประสบการณ์น้ันเป็นไปตามความคาดหวัง

จากความหมายทก่ี ลา่ วมาทงั้ หมด สรุปความหมายของความพึงพอใจได้ว่า เป็น
ความรสู้ ึกของบุคคลในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจต่อสภาพแวดลอ้ มในด้านตา่ ง ๆ
หรือเป็นความรูส้ กึ ทีพ่ อใจต่อสิ่งท่ีทาให้เกดิ ความชอบ ความสบายใจ และเป็นความรู้สกึ ทีบ่ รรลุถึง
ความตอ้ งการ

3.6.2 ทฤษฎคี วามพงึ พอใจ
Kotler and Armstrong (2002) รายงานว่า พฤตกิ รรมของมนุษย์เกดิ ข้ึนตอ้ งมี

ส่งิ จูงใจ (motive) หรอื แรงขับดนั (drive) เปน็ ความต้องการทกี่ ดดันจนมากพอท่จี ะจูงใจใหบ้ ุคคลเกิด
พฤติกรรมเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของตนเอง ซ่ึงความตอ้ งการของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ความ
ต้องการบางอย่างเป็นความต้องการทางชีววทิ ยา(biological) เกิดขึ้นจากสภาวะตึงเครยี ด เช่น ความ

หิวกระหายหรือความลาบากบางอย่าง เป็นความต้องการทางจิตวิทยา (psychological) เกิดจาก
ความตอ้ งการการยอมรบั (recognition) การยกยอ่ ง (esteem) หรือการเปน็ เจ้าของทรัพยส์ นิ
(belonging) ความตอ้ งการส่วนใหญ่อาจไม่มากพอทจี่ ะจงู ใจให้บคุ คลกระทาในชว่ งเวลาน้นั ความ
ตอ้ งการกลายเปน็ ส่ิงจงู ใจ เมื่อไดร้ ับการกระตนุ้ อยา่ งเพียงพอจนเกดิ ความตึงเครยี ด โดยทฤษฎที ่ีได้รับ
ความนิยมมากทสี่ ดุ มี 2 ทฤษฎี คอื ทฤษฎขี องอบั ราฮัม มาสโลว์ และทฤษฎขี องซกิ มนั ด์ ฟรอยด์

3.6.2.1 ทฤษฎแี รงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)
อับราฮัม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวธิ ีที่จะอธิบายวา่ ทาไมคนจึงถูก

ผลกั ดนั โดยความตอ้ งการบางอยา่ ง ณ เวลาหนึง่ ทาไมคนหนึ่งจึงทุ่มเทเวลาและพลังงานอยา่ งมาก
เพอ่ื ให้ไดม้ าซง่ึ ความปลอดภยั ของตนเองแต่อีกคนหนึง่ กลบั ทาสงิ่ เหล่าน้นั เพ่ือให้ได้รบั การยกย่องนบั
ถือจากผูอ้ ื่น คาตอบของมาสโลว์ คือ ความต้องการของมนุษยจ์ ะถูกเรียงตามลาดับจากสิ่งท่ีกดดันมาก
ท่สี ดุ ไปถึงน้อยที่สุด ทฤษฎีของมาสโลว์ได้จดั ลาดับความต้องการตามความสาคัญ คอื

3.6.2.1.1 ความต้องการทางกาย (physiological needs) เปน็ ความ
ตอ้ งการพ้ืนฐาน คือ อาหาร ท่ีพัก อากาศ ยารกั ษาโรค

3.6.2.1.2 ความตอ้ งการความปลอดภัย (safety needs) เปน็ ความ
ตอ้ งการทเี่ หนือกว่า ความต้องการเพ่ือความอยรู่ อด เปน็ ความตอ้ งการในด้านความปลอดภยั จาก
อันตราย

3.6.2.1.3 ความตอ้ งการทางสังคม (social needs) เปน็ การต้องการการ
ยอมรบั จากเพื่อน

3.6.2.1.4 ความตอ้ งการการยกยอ่ ง (esteem needs) เป็นความตอ้ งการ
การยกย่อง ส่วนตัว ความนับถอื และสถานะทางสงั คม

3.6.2.1.5 ความต้องการให้ตนประสบความสาเร็จ (self – actualization
needs) เป็นความต้องการสูงสุดของแตล่ ะบุคคล ความต้องการทาทุกสิ่งทุกอย่างได้สาเร็จ

บคุ คลพยายามท่สี รา้ งความพึงพอใจใหก้ บั ความต้องการทีส่ าคัญทสี่ ดุ เป็น
อันดบั แรกก่อนเมื่อความต้องการนน้ั ได้รับความพึงพอใจ ความต้องการนั้นก็จะหมดลงและเป็น
ตัวกระตุ้นให้บุคคลพยายามสรา้ งความพึงพอใจให้กบั ความตอ้ งการท่ีสาคัญทีส่ ุดลาดับต่อไป ตวั อย่าง
เชน่ คนทอี่ ดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไม่สนใจต่องานศิลปะชน้ิ ล่าสดุ (ความต้องการสงู สดุ )
หรอื ไมต่ ้องการยกย่องจากผูอ้ ่ืน หรือไมต่ ้องการแม้แต่อากาศที่บริสุทธ์ิ (ความปลอดภัย) แต่เมอื่ ความ
ต้องการแต่ละข้นั ได้รับความพงึ พอใจแลว้ ก็จะมีความต้องการในขัน้ ลาดบั ต่อไป

3.6.2.2 ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด์

ซิกมันด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ตั้งสมมตุ ิฐานวา่ บุคคลมักไม่รตู้ ัวมากนกั ว่า
พลังทางจิตวทิ ยามีส่วนชว่ ยสรา้ งให้เกดิ พฤติกรรม ฟรอยด์พบว่าบุคคลเพ่ิมและควบคุมส่ิงเร้าหลาย
อย่าง ส่ิงเร้าเหลา่ นี้อยู่นอกเหนอื การควบคุมอยา่ งส้ินเชิง บุคคลจงึ มคี วามฝัน พดู คาท่ไี ม่ต้ังใจพูด มี
อารมณ์อยเู่ หนือเหตผุ ลและมีพฤติกรรมหลอกหลอนหรอื เกิดอาการวิตกจรติ อยา่ งมาก

ขณะท่ี ชาริณี (2535) ไดเ้ สนอทฤษฎีการแสวงหาความพงึ พอใจไว้ว่า
บคุ คลพอใจจะกระทาส่ิงใดๆทใี่ ห้มคี วามสุขและจะหลกี เล่ียงไม่กระทาในสิง่ ท่เี ขาจะได้รับความทุกข์
หรอื ความยากลาบาก โดยอาจแบ่งประเภทความพอใจกรณีน้ไี ด้ 3 ประเภท คือ

3.6.2.2.1 ความพอใจดา้ นจติ วทิ ยา (psychological hedonism) เป็น
ทรรศนะของความพงึ พอใจว่ามนุษยโ์ ดยธรรมชาตจิ ะมีความแสวงหาความสุขส่วนตัวหรอื หลกี เลีย่ ง
จากความทุกข์ใดๆ

3.6.2.2.2 ความพอใจเก่ียวกับตนเอง (egoistic hedonism) เป็นทรรศนะ
ของความพอใจว่ามนุษย์จะพยายามแสวงหาความสขุ สว่ นตัว แตไ่ มจ่ าเป็นวา่ การแสวงหาความสุขต้อง
เป็นธรรมชาตขิ องมนุษยเ์ สมอไป

3.6.2.2.3 ความพอใจเกย่ี วกับจรยิ ธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะน้ี
ถือวา่ มนุษย์แสวงหาความสุขเพ่ือผลประโยชนข์ องมวลมนุษย์หรือสงั คมทตี่ นเปน็ สมาชิกอยู่และเป็นผู้
ได้รบั ผลประโยชน์ผูห้ นึ่งดว้ ย

3.7 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
(David G. Quirk & Lars H. Rüpke) ได้ศึกษาว่า สว่ นของพ้นื ผวิ โลกลงในทวีปและ

มหาสมทุ รเปน็ ผลมาจากแผ่นเปลือกโลก แตค่ วามขัดแย้งทางธรณวี ิทยาทีม่ ีอยู่ในขอบเขตทวปี
มหาสมทุ ร โดยใชแ้ บบจาลองเชงิ ตวั เลขในการตรวจสอบแหล่งท่ีมาและลักษณะของพฤติกรรมนีท้ าให้
งงกับข้อมูลจากกวานซาลุม่ น้าต่างประเทศแองโกลา เราสารวจความคิดท่ีแผน่ คอนตเิ นนทาลอยตวั
มากข้นึ ในช่วง rifting โดยละลายผลิตและติดอยู่ใน asthenosphere ๆ โดยใช้สถานการณจ์ าลอง
องคป์ ระกอบ จากัด เราแสดงให้เห็นว่า asthenosphere หลอมละลายบางส่วนรวมกับกระบวนการ
อน่ื ๆ สามารถรับมอื กบั ผลกระทบทเ่ี กิดการทรดุ ตวั ของแผ่นบางทาให้มันสงู 2-3 กิโลเมตรจนถึงการ
ล่มสลาย ทรดุ อยา่ งรวดเรว็ เกิดข้ึนหลงั จากการล่มสลายเมื่อละลายหายไปกับสันเขามหาสมุทรตัวอ่อน

4. วธิ ีการดาเนินงาน
4.1 วสั ดุและอุปกรณ์

ลาดับ วัสดุ-อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อื่นๆ ที่มา-วสั ดุ ราคา
และ
1 คอมพวิ เตอร์ / -
2 ปากกา / อปุ กรณ์ -
3 กระดาษ A4 / ยมื -
4 แผ่น CD 2 แผน่ / ยืม 20
5 โปรแกรม Adobe Flash CS3 ยืม -
6 โปรแกรม / ซอ้ื -
/ -
Corelvideostudio12 - 100
7 แผงโครงงาน /
ซอ้ื

รวม 120

ตารางท่ี 4.1 วัสดุและอปุ กรณ์

สถานท่ีดาเนินงาน : โรงเรียนสตรีสริ ิเกศ อ.เมือง จ.ศรสี ะเกษ

4.2 ข้นั ตอนการดาเนินงาน
4.2.1 คดิ หัวขอ้ โครงงานเพ่ือนาเสนอคุณครูท่ีปรึกษาโครงงาน
4.2.2 ศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลท่ีเกีย่ วข้องกบั เร่ืองท่สี นใจ คอื เร่ือง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎี

แปรสัณฐานธรณี วา่ มีเนอื้ หามากน้อยเพยี งใดท่จี ะศึกษาเพื่อจะจาลองทฤษฎี และเกบ็ เนื้อหาไวเ้ ป็น
ขอ้ มลู เพือ่ จัดทาเนื้อหาตอ่ ไป

4.2.3 จดั ทาเน้ือหาเร่ืองการเกิดภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี
4.2.4 ศึกษาการใช้โปรแกรม Adobe Flash CS3 และ Wondershare filmora จาก
เอกสารท่ีคุณครปู ระจาวิชาและจากการค้นควา้ จากอนิ เตอร์เนต็ ต่างๆทีน่ าเสนอวธิ กี ารใช้งานเพื่อ
สร้างแบบจาลองทฤษฎี
4.2.5จัดทาข้อเสนอโครงงาน โดย

4.2.5.1 เขียนเค้าโครงโครงงานการจาลองทฤษฎี เรื่อง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎี
แปรสัณฐานธรณี

4.2.5.2 ออกแบบการจาลองทฤษฎใี นสตอร่ีบอร์ด มีการกาหนดลกั ษณะเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ ซอฟตแ์ วรแ์ ละโปรแกรมและวัสดุอุปกรณ์อน่ื ๆ ทตี่ ้องใชพ้ รอ้ ม ท้ังกาหนดตารางการ
ปฏบิ ัตงิ าน ของการจดั ทาเค้าโครงโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรปุ รายงานโครงงาน

4.2.5.3 นาผลจากการศึกษามา ปรับปรงุ เพ่ือนาเสนอทฤษฎีออกมาได้อย่างชดั เจน
และเข้าใจง่าย

4.2.5.4 เสนอเคา้ โครงโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อคุณครูท่ปี รึกษา เพื่อขอคาแนะนา
และ ปรับปรงุ แก้ไขให้สมบรู ณม์ ากย่ิงข้ึน

4.2.6 นาเสนอขอ้ เสนอโครงงาน ตอ่ อาจารยท์ ่ปี รึกษา อาจารย์โสภา พเิ ชฐโสภณ คณุ ครู
ผูเ้ ชย่ี วชาญด้านเอกสาร

4.2.7 จดั ทาการจาลองทฤษฎเี รือ่ งการเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี
4.2.7.1 สรา้ งแอนเิ มชันเรอ่ื งการเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี ดังน้ี
4.2.7.1.1 จดั ทาสตอรบี่ อรด์ แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกิดภเู ขาไฟ

จากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี
4.2.7.1.2 สรา้ งแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรอ่ื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎี

แปรสณั ฐานธรณี
4.2.7.2 นาเสนอตอ่ คุณครบู รรพชติ โพธบิ์ อน คุณครูผ้เู ชย่ี วชาญดา้ นเนอื้ หา

4.2.8 ปรบั ปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดในเน้ือหา Animation ที่นาเสนอไป
4.2.9 ทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 30 คน
4.2.10 รวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมลู
4.2.11 จัดทารายงานโครงงานคอมพวิ เตอร์ เรื่อง การเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐาน
ธรณี
4.2.12 จดั ทา Power Point โครงงานคอมพวิ เตอร์ เรื่อง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎี
แปรสณั ฐานธรณี
4.2.13 จัดทาแผ่นพับโครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐาน
ธรณี
4.2.14 จดั ทาบอร์ดนาเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปร
สณั ฐานธรณี
4.2.15 จดั ทาแบบประเมินความพงึ พอใจต่อแอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ
ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสณั ฐานธรณี
4.2.16 นาเสนอโครงงานคอมพวิ เตอร์ เรื่อง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี

5. แผนปฏิบตั ิงาน

ที่ กจิ กรรม เดือน เดอื น เดอื น เดือน

มถิ นุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม กนั ยายน

1 2312344123 41234

1 คดิ หัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอคณุ ครทู ่ี

ปรกึ ษาโครงงาน

2 ศึกษาค้นคว้าข้อมลู ทีเ่ กย่ี วข้องกบั เรอื่ งที่

สนใจ คือเร่ือง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎี

แปรสัณฐานธรณี วา่ มีเนอ้ื หามากน้อย

เพยี งใดทจี่ ะศกึ ษาเพื่อจะจาลองทฤษฎี และ

เก็บเนือ้ หาไว้เป็นข้อมลู เพือ่ จัดทาเน้ือหา

ต่อไป

3 จัดทาเนอื้ หาเรื่องการเกิดภเู ขาไฟจากทฤษฎี

แปรสณั ฐานธรณี

4 ศึกษาการใชโ้ ปรแกรม Adobe Flash CS3

และ Wondershare filmora จากเอกสาร

ท่ีคุณครูประจาวิชาและจากการคน้ ควา้ จาก

อินเตอร์เน็ต ตา่ งๆทน่ี าเสนอวิธีการใช้งาน

เพอ่ื สร้างแบบจาลองทฤษฎี

5 จดั ทาข้อเสนอโครงงาน โดย

5.1-5.4 (นามาใสต่ าราง)

6 นาเสนอข้อเสนอโครงงาน ต่ออาจารย์ที่

ปรึกษา อาจารยโ์ สภา พเิ ชฐโสภณ คณุ ครู

ผู้เช่ยี วชาญด้านเอกสาร

7 จดั ทาการจาลองทฤษฎเี รื่องการเกิดภูเขาไฟ

จากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี

โดย 7.1-7.2 (นามาใสต่ าราง)

ท่ี กจิ กรรม เดอื น เดือน เดือน เดือน

มถิ ุนายน กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน

1 2312344123 41234

8 ปรบั ปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดในเนือ้ หา

Animation ทนี่ าเสนอไป

9 ทดลองใชก้ ับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4

จานวน 30 คน

10 รวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมลู

11 จัดทารายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เรอ่ื ง

การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี

12 จดั ทา Power Point โครงงาน

คอมพวิ เตอร์ เร่ือง การเกดิ ภเู ขาไฟจาก

ทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี

13 จัดทาแผน่ พับโครงงานคอมพิวเตอร์ เรือ่ ง

การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี

14 จัดทาบอรด์ นาเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

เร่ือง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปร

สณั ฐานธรณี

15 จัดทาแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อ

แอนิเมชันการจาลองทฤษฎี เรือ่ ง การเกดิ

ภเู ขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี

16 นาเสนอโครงงานคอมพวิ เตอร์ เร่ือง การ

เกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปรสัณฐานธรณี

6. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
6.1 ไดแ้ อนิเมชัน่ การจาลองทฤษฎี เร่อื ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสณั ฐานธรณี
6.2 ไดค้ วามรเู้ ร่ืองการแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
6.3 สามารถใช้โปรแกรม Adobe Flash CS3 ใช้ในการสร้างแอนเิ มชัน่ การจาลองทฤษฎี

เรอื่ ง การเกดิ ภเู ขาไฟจากทฤษฎีแปรสัณฐานธรณี

6.4 ไดร้ ับความพงึ พอใจจากแอนิเมชนั การจาลองทฤษฎเี รือ่ ง การเกดิ ภูเขาไฟจากทฤษฎแี ปร
สัณฐาน ในระดับมาก

7. เอกสารอา้ งองิ
นงลกั ษณ์ สวุ รรณพินจิ และปรีชา สวุ รรณพนิ ิจ. 2560. เก่งวทิ ยาศาสตร์ ม.4-5-6. กรุงเทพมหานคร

: ไฮเอ็ดพับลชิ ชง่ิ .
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2554. หนงั สือเรยี นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ รายวชิ า

พืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
อัสสุมา สายนาคา. 2559. หนงั สอื สรุปโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. กรงุ เทพมหานคร : พิมพ์สวย.
โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว.
2561. การแปรสณั ฐานเปลือกโลก. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=33&chap=6&page=t
33-6- infodetail06.html. (25 มิถุนายน 2561).
พทั ธ์ธรี า เกอื ทาน. 2561. โลกและการเปลยี่ นแปลง. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา

https://sites.google.com/site/66pattheera66/laksna-kar-kheluxnthi-khxng-
phaen-thrni-1. (25 มถิ ุนายน 2561).
พิษณุ พงศ์กาญจนพยนต์. 2555. ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐาน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า
http://www.phukhieo.ac.th/obec-media/2555/manual/. (25 มถิ ุนายน 2561).
พษิ ณุ พงศ์กาญจนพยนต์. 2558. ปรากฏการณท์ างธรณีท่ีเกิดจากการแปรสณั ฐาน.
[ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า
https://www.youtube.com/watch?v=Cq3Bk1qwvXA.
(25 มถิ นุ ายน 2561).
วิรฬุ หกกลับ. 2551. สาเหตุของการเกิดภเู ขาไฟและประเภทของภเู ขาไฟ. [ระบบออนไลน์].
แหล่งทมี่ า http://www.vcharkarn.com/varticle/37243. (25 มิถนุ ายน 2561).
ศราวฒุ ิ กงขนุ ทด. 2559. การใชง้ าน Adobe Flash CS3. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า
https://sites.google.com/site/kruxsarawutt/kar-chi-ngan-adobe-flash-cs3.
(25 มิถุนายน 2561).
Beewbiw22. 2561. ขอ้ มูลทางธรณีวทิ ยาท่สี นับสนนุ การเคลอื่ นที่ของทวปี . [ระบบออนไลน์].
แหลง่ ทม่ี า https://beewbiw22.wordpress.com/2013/09/19/2-2.
(25 มิถนุ ายน 2561).

Nungningthepkhajon. 2558. ดาราศาสตร์. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า
https://nungningthepkhajon.wordpress.com/2015/07/01/ดาราศาสตร/์ .
(25 มถิ ุนายน 2561).

verB. 2561. รีววิ Wondershare Filmora โปรแกรมตดั ต่อวีดีโอ สวยหวาน ตวั เลก็ สเปค
มอื ใหม่.

[ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา https://review.thaiware.com/1102.html
(25 มถิ นุ ายน 2561).


Click to View FlipBook Version