1
บทท่ี 1
บทนำ
แนวคิด ท่ีมำ และควำมสำคัญ
เนอื่ งจากปัญหาปรมิ าณการรดนา้ เกษตรกรไทยใน อ.ราศีไศล จ.ศรสี ะเกษ เกษตรกรส่วนมากไม่
สามารถที่จะควบคุมการรดได้ได้อยากเหมาะสมตามความต้องการของพชื เพราะไม่ทราบถงึ ความชืนที่
เหมาะสมในการรดนา้ ของพืชผลทางการเกษตร สมารท์ โพน คือ โทรศพั ทพ์ กพาซงึ่ มีความสามารถคล้าย
คอมพิวเตอร์และสามารถเชอ่ื มตอ่ กับอินเทอร์เนต็ อาจกล่าวไดว้ ่าสมารท์ โฟนคือการผสมผสานกัน
ระหว่างพีดีเอกับโทรศัพท์เคล่ือนที่ สมารท์ โฟนท่ีมรี ะบบปฏิบตั ิการสามารถพฒั นาใหร้ องรับโปรแกรม
ประยุกต์อ่ืนๆสามารถเข้าถึงได้ง่ายมีความสะดวกสบายในการใช้งาน
(แหล่งท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki)
ทางคณะผูจ้ ัดทา้ โครงงานจึงมีการนา้ สมารท์ โฟนมาแกไ้ ขปัญหาการลดนา้ โดยทางคณะได้
จา้ ลองการวดั ความชืนในดนิ โดยมกี ารตงั คา่ ความชืนที่เหมาะสมไว้ทีต่ วั บอร์ดและสมารต์ โฟน เพื่อใหต้ ัว
บอรด์ นนั อา่ นค่าความชนื ท่ีเหมาะสมและแจ้งเตอื นผ่านทางสมารท์ โฟนว่าเราควรให้นา้ ต้นพืชในปริมาณ
ท่เี ท่าใดและควรหยดุ ใหน้ า้ เม่ือมคี วามชืนที่เหมาะสมของต้นพชื ทต่ี ้นพืชจะรับได้ อุปกรณว์ ัดความชืนใน
ดนิ มคี วามส้าคัญในการวัดความชืนในดนิ เพ่ือท่ีจะได้บอกความชนื ทีเ่ หมาะสมส้ารบั พชื ทีเ่ ราปลกู เรา
สามารถกา้ หนดความชนื ท่ีเหมาะสมไดแ้ ละลดปญั หารากเนา่ เนอ่ื งรดน้ามากจนเกนิ ไป หรอื ยนื ตน้ ตาย
เพราะขาดนา้ มากไป
จากแนวคดิ ดงั กล่าว ทางคณะเราจึงจัดทา้ ระบบการแจ้งเตือนการเปิด-ปดิ น้าอตั โนมัตผิ ่านทาง
สมาร์ทโฟน เพ่ือให้เกษตรมีความสะดวกในการให้น้าแก่ต้นพืช ลดปัญหาในการใหน้ ้าทม่ี ากไปเกินความ
ต้องการของต้นพชื ประหยดั ทรพั ยากรน้าอีกด้วยและยงั ช่วยประหยัดเวลาในการทา้ เกษตรดา้ นอ่นื ๆด้วย
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื สรา้ งแบบจ้าลองการแจ้งเตอื นเปดิ ปดิ ผ่านทางสมาร์ทโฟน
2. เพ่ือศึกษาระบบการท้างานของ application blynk
3. เพ่อื ศึกษาโปรแกรม Arduino V3
4. เพอ่ื ตรวจสอบความแมน่ ย้าในการแจง้ ของตัววดั ความชนื
ผลทีค่ ำดว่ำจะไดรั ับ
1. ไดแ้ บบจ้าลองการแจง้ เตอื นการเปดิ ปดิ น้าอัตโนมัตผิ า่ นทางสมารท์ โฟน
2. ไดร้ ู้ระบบการทา้ งานของ application blynk
3. ได้โค้ดภาษาซีท่ีใชใ้ นโปรแกรม Arduino v3 ท่ีใช้ในการแจง้ เตอื น
4. ไดร้ ู้ถึงความแม่นยา้ ของตัววดั ความชืน
2
บทที่ 2
หลกั กำรและทฤษฏี
ในการศึกษาเพือ่ สร้างสิ่งประดิษฐ์แจ้งเตอื นการรดนา้ ต้นไม้อัตโนมตั ผิ า่ นทางสมารท์ โฟน
ผู้จดั ทา้ ไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎแี ละหลกั การต่างๆ จากเอกสารทเ่ี กย่ี วข้องและงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง
ดังตอ่ ไปนี
เอกสำรทเี่ ก่ยี วข้อง
1. วิธกี ารปลูกหอมแดง
2. โรงเรือน
3. อปุ กรณ์ที่ใช้
4. โปรแกรม arduino v3
5.application blynk
6.ภาษาซี
กำรปลกู หอมแดง
วธิ ปี ลูกหอมแดง (Shallots)
หอมแดงหอมแดงมีโครงสรา้ งเป็นหัวอยใู่ ต้ดนิ เช่นเดียวกนั กับหอมหวั ใหญ่ แต่วา่ มีขนาดท่ีเล็ก
กว่า มสี แี ดง กล่ินฉนุ นอกจากนนั ยงั สามารถแตกตาขา้ งทา้ ให้ไดห้ วั เลก็ ๆ เกาะตดิ อยดู่ ว้ ยกนั จา้ นวนมาก
การเชื่อมตดิ จะติดอยูท่ โี่ คนลา้ ตน้ และหวั เลก็ ๆ นีเองจะเปน็ ตวั ขยายพันธุต์ อ่ ไป และเม่ือปลูกแล้วจะแตก
เป็น 10 หวั เป็นอยา่ งมาก หอมแดงถูกน้ามาใช้ในการบรโิ ภคในลกั ษณะของพชื เคร่ืองแกงและผกั ชูรส
อาจใช้เปน็ ผักแกลม้ ก็ไดเ้ ช่นกัน และเป็นทนี่ ิยมมากในหม่ปู ระเทศแถบเอเชีย
กำรเตรยี มปลกู และวิธปี ลูกหอมแดง
หอมแดงเปน็ พืชท่ีช่วยดนิ รว่ น ตอ้ งการความชืนในดนิ ค่อนข้างสงู โดยเฉพาะในช่วงของการ
เจริญเตบิ โตและจะต้องให้ดนิ แห้งในชว่ งระยะเวลาที่ใกลจ้ ะเก็บเกยี่ ว ตอ้ งการแสงแดดเต็มทตี่ ลอดวนั
ความชนื ในดนิ และอุณหภูมิท่ีเหมาะสมส้าหรับการเจริญเติบโตอยูท่ ีป่ ระมาณร้อยละ 70-85 และ 16.7-
26.8 องศาเซลเซียส ซึง่ สามารถปลูกไดต้ ังแต่เดือนตลุ าคมถึงมนี าคม
ในการเตรยี มแปลงปลูกนนั สามารถเตรียมแปลงไดเ้ ช่นเดยี วกับการปลูกกระเทียม เพราะเป็น
พชื ทีม่ รี ะบบรากตนื ดงั นนั ในการเตรียมแปลงให้ใชว้ ธิ ีเดียวกนั ได้ โดยการยกขนาดของแปลงให้มขี นาด
กวา้ ง 1-1.5 เมตร ระยะห่างระหวา่ งตน้ ทน่ี ิยมใช้ในการปลูกอยทู่ ป่ี ระมาณ 15-20 เซนติเมตรการปลูก
โดยทวั่ ไปจะใช้หวั เล็กๆ เป็นหัวพันธ์ุ ซงึ่ จะใชจ้ า้ นวนประมาณ
3
100-200 กโิ ลกรัม / ไร่ การปลูกโดยการนา้ หัวพนั ธ์มุ าตัดแต่งให้สะอาดโดยการตดั รากเสียบ้าง และตดั
ปลายหวั ออกเล็กน้อยก็จะชว่ ยให้การงอกดีขึน และควรจุ่มหัวพนั ธ์ลุ งในสารละลายฆ่าเชือรา เชน่
Maneb หรือ Zineb ทผี่ สมอยา่ งเจอื จางในอตั รา 10-20 กรัม ตอ่ น้า 20 ลิตร แล้วน้าไปผึ่งให้แหง่ ก้อน
น้าไปปลกู ทงั นีเพื่อป้องกนั และทา้ ลายเชอื ราท่อี าจะตดิ มากับหวั พันธ์ุ
วธิ ีปลกู หอมแดงนันทา้ ได้โดยการนา้ หวั พนั ธ์ุด้าลงในแปลงปลกู ควรท้าในขณะที่แปลงปลูกมี
ความชืน ซง่ึ จา้ ทา้ ใหด้ ้าหัวไดง้ ่าย โดยดา้ ลงไปในดนิ ประมาณครึง่ หวั และเว้นระยะห่างระหวา่ งตน้ ตามที่
กา้ หนดเอาไว้ (15-20 เซนติเมตร) การกดหวั นันตอ้ งระวงั อยา่ ให้หวั ชา้ โดยให้ด้าเบาๆ หลงั จากนันควร
คลุมดว้ ยหญา้ แหง้ หรือฟางแห้ง เพอ่ื ช่วยรกั ษาความชืนและควบคมุ วชั พชื ตน้ หอมจะงอกขึนมาใน
ระยะเวลาประมาณ 7-10 วนั หลังจากปลูก ถ้ามหี ัวใดไม่งอกควรท้าการปลูกซ่อมลงในพืนท่จี ดุ เดิมโดย
เอาหวั เกา่ ทิงไป
วธิ กี ำรดูแลรกั ษำหอมแดง
การให้น้านนั ต้องให้หลงั จากการปลูกอยา่ งสม้่าเสมอโดยเฉพาะในช่วงของการเจริญเตบิ โต อย่า
ปลอ่ ยให้ผิวหนา้ ดินแหง้ ได้ โดยเฉพาะในเขตทมี่ ีดนิ ทราย ควรให้นา้ บ่อยๆ และงดการให้น้าเมื่อหอมแดง
เริม่ แก่ การใหป้ ยุ๋ นนั ให้ยึดหลัก N:P:K = 1:1 – 2:1 เป็นอัตราที่แนะน้าใหใ้ ช้สา้ หรับหอมแดง โดยใชป้ ยุ๋
สูตร 5-10-5, 10-20-10 หรอื 15-15-15 ก็ได้ หากดนิ เป็นดินทรายควรให้โปรแตสเซียมเพ่ิมเป็นพเิ ศษใน
อตั รา 50-100 กิโลกรัม / ไร่ การใสป่ ุ๋ยให้แบ่งใส่ 2 ครงั ครังแรกให้เปน็ ปุ๋ยรองพืนประมาณคร่งึ หนึง่ ก่อน
และอีกครงั ใหใ้ ส่ป๋ยุ ตอนตน้ หอมมีอายุได้ 35-40 วนั โดยให้ใสแ่ บบโรยขา้ งแล้วพรวนดนิ กลบ และควรให้
ยูเรียหรือแอมโมเนียมซลั เฟตในอตั รา 20-25 กโิ ลกรัม / ไร่ เมอ่ื หอมอายไุ ด้ประมาณ 14 วนั หลังจาก
ปลูก ซึ่งจะชว่ ยทา้ ใหห้ อมโตเรว็
สว่ นการพรวนดนิ นนั ใหพ้ รวนดนิ เพอื่ กา้ จดั วชั พืชแตต่ ้องระวังไมใ่ ห้กระทบกับรากเพราะ
เน่ืองจากเปน็ พชื ที่มรี ะบบรากตืน ซ่ึงถ้าใหด้ ีควรใชม้ อื ถอนวัชพชื แทนและควรท้าในระยะเรมิ่ แรกของ
การเจรญิ เติบโต หากใช้ยาก้าจัดวชั พชื ก็ควรใช้ Lasso ในอัตรา 0.36-0.46 กิโลกรัม / ไร่ โดยผสมนา้
แล้วฉีดพ่นก่อนที่หอมจะงอก
นอกจากการดูแลตา่ งๆ ในขา้ งต้นแล้วกย็ งั จะต้องมีการคลุมดนิ ดว้ ย เพราะการคลุมดินนันจะ
ชว่ ยในการควบคุมความชนื ในดนิ ใหม้ อี ยูต่ ลอดเวลาและช่วยควบคมุ การลุกลามของวชั พชื ไดด้ ว้ ย ซึ่งจะ
ชว่ ยให้ประหยดั แรงงาน ประหยดั นา้ และเวลาไปได้เปน็ อย่างมาก โดยการใช้ฟางหรือหญ้าแห้งคลมุ
เอาไว้
กำรเกบ็ เกี่ยวหอมแดง
หอมแดงนนั สามารถเร่ิมเก็บเก่ยี วได้เมื่อมีอายุ 70-110 วัน ทังนขี นึ อยู่กบั พันธ์ุและฤดกู าลใน
การปลูกด้วย หากปลูกในฤดูฝนซ่งึ เป็นนอกฤดูการปลกู จะสามารถเก็บเกย่ี วหอมแดงได้เม่ือมีอายไุ ด้ 45
วัน ซ่ึงในการเกบ็ เก่ียวนนั กย็ งั สามารถใชก้ ารสงั เกตไดด้ ว้ ย โดยให้สังเกตวา่ สขี องใบเขยี วจางลงและ
4
เหลืองหรอื ไม่ ถา้ เปน็ เช่นนนั ก็หมายความวา่ หอมนันแก่พอท่จี ะทา้ การเก็บเก่ียวได้แล้ว โดยจะสามารถ
เกบ็ เก่ยี วได้ประมาณ 1,100 กโิ ลกรัม / ไร่ และในการจัดการหลงั เกบ็ เก่ียวนันใหท้ ้าเช่นเดยี วกับการปลูก
หอมหัวใหญ่หรอื กระเทียม
หากตอ้ งการเกบ็ หอมไวใ้ ช้ในการเพาะพันธุ์ ก็จะต้องเลือกหวั ทีม่ คี วามแข็งแรง ไมม่ โี รคและ
แมลง ซงึ่ ควรเกบ็ เก่ียวตอนแก่และจดั แยกส่วนเก็บไว้ทา้ พันธุ์ออกมาตา่ งหากจะส่วนทน่ี ้าไปขาย หลังจาก
นันให้นา้ ไปผง่ึ ใหแ้ ห้ง แลว้ จงึ ฉดี พ่นยาป้องกันเชือราในอัตราท่เี จอื จางแลว้ นา้ ไปผง่ึ ให้แหง้ อีกครังและเกบ็
ไว้ในที่เย็นและแหง้
โรงเรอื น
โรงเรอื น คอื โครงสร้างกอ่ สร้างด้วยวัสดทุ ่แี ขง็ แรง ทังเสา โครง ท้าจากปูนและเหลก็ แต่ก็มบี าง
สวนทีเ่ ริม่ ตน้ โดยใชโ้ ครงไม้ไผ่ หลงั คาท่ีใชส้ ว่ นมากก็เปน็ พลาสติกทที่ นทานต่อแสงยูวี บางโรงเรอื นมกี าร
ลงทนุ ท้าระบบลดอณุ หภมู ิโดยการพน่ น้าและคลุมตาข่ายพรางแสง และบางรายที่เปน็ เอกชนรายใหญ่
ลงทุนทา้ ระบบควบคุมอณุ หภูมิไดค้ ล้ายโรงเรือนเลยี งไก่ ซึง่ แน่นอนวา่ ต้นทนุ ก็ต้องสงู ตามไปด้วย รูปแบบ
ของโรงเรือนมคี วามแตกต่างกันไป
โรงเรือนเพาะปลกู แบ่งออกได้ ชนดิ ได้แก่
1. โรงเรือนแบบเปิด ผนังและหลังคาเป็นตาขา่ ยกันแมลง มีระบบการให้น้าพืชแบบ ตา่ ง ๆ อากาศ
ถา่ ยเทไดส้ ะดวก
2. โรงเรอื นแบบปิด ผนังและหลงั คา เป็นแผ่นโปรง่ แสงหรือโปร่งใสแบบอ่อนหรือ แบบแขง็ และมี
เคร่ืองมืออุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ เช่น
2.1 ระบบแผน่ ระเหยนา้ ชว่ ยลดอณุ หภมู แิ ละเพ่ิมความชนื ภายใน
2.2 ระบบพ่นหมอก ชว่ ยลดอณุ หภมู แิ ละเพิ่มความชืนภายใน
2.3 ระบบการให้น้าพืช ช่วยการดดู ซมึ ธาตุอาหารของพชื ได้เหมาะสม
2.4 ระบบการให้ปุ๋ยทางนา้ ช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย
2.5 ระบบเพ่ิมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ช่วยเพิ่มการสงั เคราะห์แสง
ไมโครคอนโทรลเลอร์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ เป็นอุปกรณ์ชิปไอซพี ิเศษชนิดหน่ึง ที่เราสามารถเขยี นโปรแกรม
เพอ่ื ควบคุมการท้างานตามท่ีตอ้ งการได้ ภายในไมโครคอนโทรลเลอรจ์ ะประกอบไปดว้ ย
หน่วยประมวลผล
หนว่ ยความจา้ ชัว่ คราว (RAM)
5
หน่วยความจ้าถาวร (ROM)
พอรต์ อินพุต เอาท์พตุ
ส่วนพิเศษอืน่ ๆ จะขึนอยู่กับกระบวนการผลิตของแต่ละบริษทั ทจี่ ะผลิตขึนมา ใส่คุณสมบัติ
พเิ ศษลงไปเชน่
- ADC (Analog to Digital) สว่ นภาครับสญั ญาณอนาล็อกแปลงไปเปน็ สัญญาณดิจิตอล
- DAC (Digital to Analog) ส่วนภาคสง่ สญั ญาณดิจิตอลแปลงไปเปน็ สัญญาณอนาลอ็ ก
- I2C (Inter Integrate Circuit Bus) เป็นการส่อื สารอนุกรม แบบซิงโครนัส (Synchronous)
เพื่อใช้ ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร ระหว่าง ไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) กบั อปุ กรณภ์ ายนอก
ซึ่งถูกพัฒนาขึนโดยบริษทั Philips Semiconductors โดยใช้สายสญั ญาณเพยี ง 2 เส้นเทา่ นนั
คอื serial data (SDA) และสาย serial clock (SCL) ซ่ึงสามารถ เชอ่ื มต่ออปุ กรณ์
จ้านวนหลายๆ ตัว เข้าดว้ ยกนั ได้ ท้าให้ MCU ใช้พอร์ตเพียง 2 พอรต์ เท่านัน
- SPI (Serial Peripheral Interface) เปน็ การเชื่อมต่อกับอปุ กรณ์เพ่อื รบั ส่งข้อมลู แบบ
ซงิ โครนสั (Synchronize) มสี ัญญาณนาฬิกาเข้ามาเกีย่ วข้องระหวา่ งไมโครคอนโทรลเลอร์
(Microcontroller) หรือจะเป็นอปุ กรณ์ภายนอกท่ีมีการรับส่งขอ้ มูลแบบ SPI อปุ กรณ์ทีท่ า้ หน้าท่ี
เป็นมาสเตอร์ (Master) โดยปกตแิ ลว้ จะเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ หรอื อาจกล่าวได้วา่ อุปกรณ์ Master
จะต้องควบคมุ อุปกรณ์ Slave ได้ โดยปกตติ วั Slave มกั จะเปน็ ไอซี (IC) หน้าที่พเิ ศษต่างๆ เชน่
ไอซีอณุ หภมู ิ, ไอซีฐานเวลานาฬกิ าจรงิ (Real-Time Clock) หรอื อาจเปน็ ไมโครคอนโทรลเลอร์
ท่ีทา้ หนา้ ทใี่ นโหมด Slave กไ็ ดเ้ ชน่ กนั
- PWM (Pulse Width Modulation) การสรา้ งสัญญาณพลั ส์แบบสแควร์เวฟ
ทส่ี ามารถปรบั เป่ลยี่ นความถ่ีและ Duty Cycle ได้เพื่อนา้ ไปควบอปุ กรณต์ ่างๆ่เชน่ มอเตอร์
- UART (Universal Asynchronous Receiver Transmitter) ท้าหน้าท่ีรับส่งขอ้ มูลแบบ
อะซิงโครนสั สา้ หรับมาตรฐานการรบั สง่ ข้อมลู แบบ RS-232
ไมโครคอนโทรลเลอร์ มปี ระเภท
1.ไมโคร คอนโทรลเลอรต์ ระกูล PIC (บริษัทผู้ผลติ Microchip ไมโครชิป)
2.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกูล MCS51 (บริษัทผผู้ ลิต Atmel,Phillips)
3.ไมโคร คอนโทรลเลอรต์ ระกูล AVR (บริษทั ผผู้ ลติ Atmel)
4.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกูล ARM7,ARM9 (บริษัทผผู้ ลติ Atmel,Phillips,Analog
Device,Sumsung,STMicroelectronics)
5.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกูล Basic Stamp (บริษัทผู้ผลิต Parallax)
6.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกูล PSOC (บริษัทผู้ผลติ CYPRESS)
6
7.ไมโคร คอนโทรลเลอรต์ ระกูล MSP (บรษิ ัทผผู้ ลติ Texas Intruments)
8.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกูล 68HC (บริษัทผูผ้ ลิต MOTOROLA)
9.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกูล H8 (บริษัทผู้ผลิต Renesas)
10.ไมโคร คอนโทรลเลอร์ตระกลู RABBIT (บรษิ ัทผผู้ ลติ RABBIT SEMICONDUCTOR)
11.ไมโคร คอนโทรลเลอรต์ ระกูล Z80 (บรษิ ทั ผู้ผลิต Zilog)
ภาษาที่ใช้เขยี น โปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทลเลอร์
1.ภาษา Assembly
2.ภาษา Basic
3.ภาษา C
4.ภาษา Pascal
อุปกรณ์ที่ใช้
อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นกำรต่อวงจร
ภาพท่ี 3.4.1 Node MCU
7
Node MCU : บอรด์ ตัวนีเปน็ บอร์ดท่รี วมเอา ESP8266 (ESP-12) + USB to Serial +NodeMCU
firmware เขา้ ไวด้ ้วยกัน ท้าใหก้ ารใช้งานงา่ ยมากขึน ไมต่ ้องมอี ุปกรณ์ต่อพว่ งเยอะ แถมมี GPIO เพ่ิม
เป็น 10 พอร์ท เพียงพอตอ่ การใช้งาน ส้าหรบั NodeMCU devkit ที่ได้มาเป็นบอรด์ เปล่าๆ ใช้ AT
Command ในการสัง่ งาน
ภาพท่ี 3.4.2 Soil moisture sensor
Soil moisture sensor : เซนเซอร์นีคือเซนเซอรส์ ้าหรับวัดปรมิ าณนา้ ในดินแบบงา่ ย ซ่ึงสามารถน้ามา
วัดความชืนที่อยภู่ ายในดนิ ได้ โดยใหค้ ่า output เปน็ แบบดิจติ อล สามารถปรบั ค่าไดด้ ้วยตัวตา้ นทาน
ปรับคา่ ได้ท่อี ยู่บนบอร์ดสามารถนา้ เซนเซอร์ตวั นีมาท้าเปน็ ระบบรดนา้ ตน้ ไม้อตั โนมตั ไิ ด้อย่างงา่ ยดาย
หรือหากต้องการค่าที่แม่นย้ามากขึนสามารถอา่ นคา่ เปน็ แบบ analog
8
ภาพท่ี 3.4.3 บอรด์ Relay
Relay : อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทที่ า้ หนา้ ทเี่ ปน็ สวิตซต์ ดั -ต่อวงจรโดยใชแ้ มเ่ หลก็ ไฟฟา้ [1] และการทจ่ี ะให้
มนั ทา้ งานกต็ ้องจ่ายไฟใหม้ นั ตามท่กี ้าหนดเพราะเมื่อจา่ ยไฟให้กบั ตวั รเี ลย์ มนั จะทา้ ใหห้ น้าสัมผัสตดิ กนั
กลายเปน็ วงจรปิด และตรงข้ามทนั ทที ่ีไม่ไดจ้ ่ายไฟใหม้ นั มันก็จะกลายเปน็ วงจรเปดิ ไฟทีเ่ ราใช้ป้อน
ให้กับตวั รเี ลยก์ ็จะเป็นไฟท่มี าจาก เพาเวอร์ฯ ของเครื่องเรา ดงั นันทันทที ่เี ปดิ เครือ่ ง ก็จะท้าใหร้ เี ลย์
ทา้ งาน
ภาพที่ 3.4.4 โมดลู เซนเซอร์วัดความชืน
9
DHT22 : เปน็ โมดูลเซนเซอร์วัดความชืน (Humidity) และอณุ หภมู ิ (Temperature) ในตัวเดยี วมีความ
แม่นย้าสงู มตี ัวตา้ นทาน Pull up มาแลว้ สามารถต่อขาทดลองได้เลยไมต่ ้องต่อเพิม่ ถา้ ตอ้ งการความ
ถูกต้องแม่นย้าในการวัดอณุ หภมู แิ ละความชืน แนะน้าตัวนีเลย DHT22 High Accuracy Digital
Temperature and Humidity Sensor DHT22 ใชส้ ้าหรับวดั อุณหภูมแิ ละความชนื ออกแบบมาให้
วดั ได้ แม่นยา้ กวา่ ร่นุ DHT11 ใชง้ ่ายสามารถน้า DHT22 ไปเปลี่ยนแทน DHT11 ได้เลยเพราะโคด้
Arduino DHT22 เขยี นเหมอื นกนั
Internet of Things
Internet of Things หมายถึง การทส่ี ่ิงต่างๆ ถูกเชื่อมโยงทุกสงิ่ ทุกอยา่ งสู่โลกอินเตอรเ์ นต็ ท้า
ให้มนุษยส์ ามารถ
สั่งการควบคมุ การใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต เช่น การเปิด-ปิด อปุ กรณ์
เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ รถยนต์ โทรศัพทม์ ือถือ เครื่องมือสื่อสาร เคร่อื งมือทางการเกษตร
อาคาร บ้านเรือน เครื่องใช้ในชวี ติ ประจ้าวันต่างๆ ผา่ นเครือขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ เป็นต้น
IoT มชี ื่อเรียกอกี อยา่ งว่า M2M ยอ่ มาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตท่เี ชอื่ มต่อ
อุปกรณ์กับเครื่องมอื ต่างๆ เข้าไวด้ ้วยกัน
เทคโนโลยี IoT มคี วามจา้ เป็นต้องทา้ งานรว่ มกบั อุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors ซง่ึ
เปรยี บเสมือนการเติมสมองให้กับอปุ กรณ์ต่างๆ ทข่ี าดไม่คือการเชอ่ื มต่ออนิ เตอรเ์ นต็
เพื่อให้อุปกรณส์ ามารถรับส่งขอ้ มูลถงึ กนั ได้ เทคโนโลยี IoT มปี ระโยชน์ในหลายดา้ น แตก่ ม็ าพรอ้ มกบั
ความเสีย่ ง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภยั ของอปุ กรณ์ และเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตไมด่ ีพอ ก็อาจ
ท้าให้มผี ู้ไมป่ ระสงคด์ เี ข้ามาขโมยข้อมลู หรอื ละเมิดความเป็นส่วนตวั ของเราได้ ดังนนั การพัฒนา IoT จึง
จา้ เป็นตอ้ งพฒั นามาตรการ
และระบบรักษาความปลอดภัยไอทีควบคกู่ ันไปดว้ ย
โปรแกรม Arduino
เปน็ บอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ตระกลู AVR ท่ีมีการพัฒนาแบบ Open Source คือมีการ
เปดิ เผยขอ้ มลู ทงั ดา้ น Hardware และ Software ตวั บอร์ด Arduino ถกู ออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย
ดงั นนั จึงเหมาะสา้ หรับผู้เร่มิ ต้นศึกษา ทังนีผใู้ ชง้ านยังสามารถดดั แปลง เพ่ิมเติม พัฒนาต่อยอดทังตัว
บอรด์ หรอื โปรแกรมต่อได้อีกด้วย
ความงา่ ยของบอร์ด Arduino ในการต่ออปุ กรณ์เสริมต่างๆ คอื ผู้ใชง้ านสามารถต่อวงจร
อเิ ลก็ ทรอนิคสจ์ ากภายนอกแล้วเช่ือมต่อเข้ามาที่ขา I/O ของบอร์ด
10
แอปพลเิ คชนั่ Blynk
คอื Application สา้ เรจ็ รปู สา้ หรบั งาน IOT มคี วามนา่ สนใจคอื การเขียนโปรแกรมที่งา่ ย ไม่ตอ้ ง
เขยี น App เองสามารถใช้งานไดอ้ ย่าง Real time สามารถเชือ่ มต่อ Device ตา่ งๆเขา้ กบั Internet
ได้อย่างงา่ ยดาย ไม่ว่าจะเปน็ Arduino, Esp8266, Esp32, Nodemcu,Rasberry pi นา้ มา
แสดงบน Application ได้อย่างง่ายดาย แล้วทีส่ า้ คัญ Application Blynk ยังฟรี และ รองรบั ในระบบ
IOS และ Android อีกดว้ ย
ภำษำซี
ภาษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอรท์ มี่ ีวตั ถปุ ระสงค์ทว่ั ไป พฒั นาขึนเมื่อ พ.ศ.
2515 (ค.ศ. 1972) โดย เดนนสิ รติ ชี ท่ีเบลล์เทเลโฟนแลบอลาทอรีส์ (Bell Telephone
Laboratories) เกดิ ขึนเพ่ือสร้างระบบปฏิบัตกิ ารยนู ิกซ์ในขณะนัน
นอกจากภาษาซีออกแบบ ขนึ มาเพ่ือสร้างซอฟต์แวรร์ ะบบแลว้ ภาษาซยี ังสามารถใชอ้ ยา่ ง
แพร่หลายเพ่ือพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ีเคล่ือนยา้ ย (portable) ไปบนระบบอ่ืนได้อกี ด้วย
ภาษาซีเปน็ ภาษาโปรแกรมหน่งึ ทไ่ี ด้ รับความนิยมมากทสี่ ุดตลอดกาล มีสถาปัตยกรรม
คอมพิวเตอร์เพยี งสว่ นน้อยเท่านันที่ไม่มีตวั แปลโปรแกรมของ ภาษาซี ภาษาซีมีอิทธพิ ลอยา่ งมากต่อ
ภาษาโปรแกรมทนี่ ยิ มอ่ืน ๆ ที่เด่นชดั ที่สดุ ก็คือภาษาซีพลัสพลสั ซง่ึ เดมิ เปน็ ส่วนขยายของภาษาซี
กำรออกแบบแบบจำลอง
งำนวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง
งำนวจิ ัยที่ 1
นายวลิ าศ แซเ่ ตีย (2553) ไดว้ ิจยั เร่ือง เครือ่ งรดน้าตน้ ไม้อัตโนมัตแิ ละไดป้ ระมวลความคิด
เพื่อบูรณาการเป็นเครื่องรดน้าต้นไมแ้ นวตังอตั โนมตั ิ ซง่ึ ครูผูส้ อนกา้ หนดเงื่อนไขในการสร้างสรรค์
ผลงาน คือ “การประหยัดพลังงาน” โดยการนา้ หลกั การ ท้างานของทรานสดิวเซอร์ความชนื มาเปน็
อุปรณส์ งั่ งาน เพอ่ื ควบคุมการเปดิ ปิดของโซลนิ อยย์วาลวใ์ ห้ ทา้ งานตามเง่ือนไขท่ีกา้ หนด ซ่งึ คาดว่า
เคร่ืองรดน้าตน้ ไม้แนวตังอตั โนมตั ิ จะชว่ ยลดการใชป้ รมิ าณน้า ประหยัดเวลาในการรดน้าตน้ ไม้
ประหยดั พลังงานไฟฟ้า ลดค่าใชจ้ า่ ยทีส่ ญู เสยี ไป ตลอดจนช่วย เพมิ่ พูนความรู้ ทักษะและประสบการณ์
วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือสร้างเคร่อื งรดนา้ ตน้ ไม้อตั โนมตั ิ
11
2. เพื่อพฒั นาผลงานท่ีประดษิ ฐ์ขึนให้เขา้ สู่ความเป็นมาตรฐาน สามารถน้าไปใช้งาน
ได้อย่างมีคณุ ภาพ ประหยัดและปลอดภยั เนน้ การอนุรักษ์ฟน้ื ฟธู รรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อม
ผลการสรา้ งเคร่ืองรดนา้ ตน้ ไม้แนวตงั อัตโนมัติโดยการน้าวงจรตรวจจับความชนื ของดนิ มาเป็นอุปกรณ์
ส่ังงานแกโ่ ซลินอยย์ ซ่ึงเคร่ืองรดนา้ ตน้ ไมแ้ นวตังอัตโนมัติได้นา้ มาประยุกตใ์ ช้ในการปดิ ปิดโซลินอยย์
วางล์ เพอื่ เปิดปดิ น้าในการรดนา้ ตน้ ไม้เองอตั โนมตั สิ ่วนช่วยสรา้ งแบบจา้ ลองเครื่องรดน้าอตั โนมติ
งำนวิจยั ท่ี 2
ไกรราษฎร์ กาเมืองลือ และ อนุพงศ์ หม่อมป๊ะ (2554) วจิ ยั เรอ่ื งการสรา้ งเครื่องพ่นหมอก
ควนั ก้าจัดยุงพลงั งานแก๊สกระปอ๋ งและแบตเตอรี่ ผจู้ ัดทา้ โครงการได้ท้าการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่ี
เก่ยี วขอ้ ง เพือ่ เปน็ การศึกษาเพ่ือสรา้ งและหาประสิทธิก์ ารสรา้ งเครื่องพ่นหมอกควนั พลงั งานแก๊ส
กระป๋องและแบตเตอรี่
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องพ่นหมอกควัน
2. เพือ่ สร้างเครื่องพ่นหมอกควนัท่มี ีเสียงเงียบ
3. เพ่อื ศกึ ษาหาคณุ ภาพของเครื่องพน่ หมอกควนั ที่สรา้ งขึนมา
การทดสอบการท้างานของการสรา้ งเครอ่ื งพน่ หมอกควนั พบวา่ การวิเคราะห์ปริมาณการ พน่ ในพนื ที่
การทา้ งาน(ลิตร/ตารางเมตร) ของการสร้างเคร่ืองพ่นหมอกควนั แบบใหม่ เพื่อไปใช้ให้ เกิดประสทิ ธผิ ล
ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการท้างานจริง จะทา้ ให้ผู้ทีเ่ ป็น สามารถนา้ เครื่องพ่นหมอกควันใช้ในงานได้อยา่ ง
ต่อเนื่อง และเปน็ จรงิ มากขนึ อกี ทังยงั ท้าให้ ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการทดลอง ยงั ท้าให้เกิดทักษะในการ
เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผลมากยิง่ ขึน และเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเคร่อื งพ่นหมอกโดยใช้หลกั การ
ทา้ งานของเครื่องพ่นหมอกควันก้าจดั ยุงพลังงานแก๊สกระป๋องและแบตเตอรี่เป็นแบบในการศึกษา
12
หลกั การทางานของแบบจาลอง
เรม่ิ
ตอ่ สายตอ่ บอร์ดเข้ากบั ตวั บอร์ด Arduino v3
และบอรด์ รเี ลยจ์ ากนนั้ ต่อสายบอรด์ จาก
บอรด์ Arduino v3 เขา้ กบั ตวั วดั ความชน่ื ใน
ดนิ
เขยี นโปรแกรมแลว้ เชฟคาสงั่ ลงในตวั บอรด์ พรอ้ มทงั้
ตงั้ ค่าแอปพลเิ คชนั Blynk ในสมารท์ โฟนใหต้ รงกบั ตวั
บอรด์ วา่ เราจะใหบ้ อรด์ แจง้ เตอื นทค่ี วามชน้ื เท่าไหร่
เมอ่ื โปรแกรมรนั ตรวจสอบโคด๊ ทเ่ี ขยี นใน
เรยี บรอ้ ยและไม่ โปรแกรมวา่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่ถา้
เกดิ ปัญหาใดๆ
ผดิ ใหแ้ กไ้ ขแลว้ รนั ใหม่
ไม่ใช่
นาแบบจาลองไปใชใ้ นการแจง้ เตอื นการเปิดปิดน้าผา่ นทาง จบ
สมารท์ โฟนไดเ้ ลย
13
บทท่ี 3
วิธีกำรดำเนินงำน
วิธีดำเนนิ งำน
1. วัสดุ-อุปกรณ์ งบประมำณ แหลง่ ที่มำของงบประมำณและสถำนทจี่ ดั ทำโครงำน
วสั ดุ-อุปกรณ์
ลำดบั วัสดุ-อุปกรณ์ ฮำร์ดแวร์ ซอฟแวร์ อ่นื ๆ ทมี่ ำวัสดุ- รำคำ
(บำท)
อปุ กรณ์
-
1. NodeMCU V3 2 ตัว / ยืม
-
2. บอรด์ รเี ลย์ 2 ตวั / ยมื
3. ตวั วดั ความชนื ในดิน 1 ตัว / ยืม -
4. สาย USB ต่อบอร์ด 2 สาย / ยืม -
5. เซนเซอร์วดั อุณหภูมิ 1 ตวั / ยมื -
6. Powerbank 2 เคร่ือง / ยมื -
7. โทรศพั ท์ 2 เคร่ือง / ยืม -
8. สปริงเกอร์ขนาดเล็ก 1 หัว / ซื้อ 15
9. ไมไ้ ผ่ 1 ล้า / ซื้อ 30
10. แผน่ พลาสตกิ ใช้คลุมโครงสร้าง / ซื้อ 50
แบบจ้าลองฟาร์มปิด / ซอื้ 15
11. เชือกฟาง
12. ลวด / ซื้อ 20
14
ลำดับ วัสดุ-อุปกรณ์ ฮำรด์ แวร์ ซอฟแวร์ อน่ื ๆ ที่มำวัสดุ- รำคำ
13. ถังนา้ ขนาดเล็ก / อปุ กรณ์ (บำท)
ซ้ือ 20
14. ภาชนะใช้ปลกู พืช 2 ใบ / ซือ้ 40
15. อปุ กรณ์งานชา่ ง / ยมื -
16. แอปพลเิ คชัน Blynk / ดำวโหลด -
17. โปรแกรม Arduino / ดำวโหลด -
18. ท่อ pvc / ซอ้ื 210
19. กระดาษ A4 / ซือ้ 105
20. ปากกา / ยืม -
21. ดินสอ / ยืม -
รวม 495
ตาราง 1 วัสดุ-อปุ กรณ์ งบประมาณ แหล่งท่มี าของงบประมาณและสถานทจี่ ัดทา้ โครงาน
กำรออกแบบแบบจำลอง
1. ศึกษาวัสดุอุปกรณ์ในการออกแบบแบบจ้าลอง
2. ศึกษาระบบการทา้ งานการวางทอ่ นา้ เครื่องพน่ หมอก และแสงไฟในโรงเรอื น
3. ทา้ การออกแบบโรงเรือน
15
ข้นั ตอนกำรจดั ทำโครงงำน
1. ปรึกษาสมาชิกในกลมุ่ วา่ จะท้าโครงงานประเภทไหนและจะท้าเก่ียวกบั อะไร
2. เม่ือปรกึ ษาสมาชิกในกลุม่ แลว้ สมาชกิ ได้เลอื กท้าโครงงานประเภทประยุกต์ใช้งาน และจะท้า
โครงงานเก่ียวกับการแจง้ เตือนการเปิดปิดน้าอัตโนมตั ผิ ่านทางสมาร์ทโฟน
3. เสนอแนวคดิ เกย่ี วกับโครงงานเรื่องการเปิดปดิ นา้ อัตโนมัตผิ า่ นทางสมาร์ทโฟนให้อาจารยท์ ี่
ปรกึ ษาแนะนา้ แนวทางในการทา้ โครงงาน
4. วางแผนโดยการเขียนสตอรี่บอรด์ เปน็ การวางแผนอยา่ งเป็นระบบว่าเราควรท้าอะไร
ก่อนหลัง เพื่อลดความผดิ พลาดท่ีจะเกดิ ขึนให้ได้มากทีส่ ุด และเพ่ือให้เหน็ ภาพชัดเจนมากขนึ
5. การศกึ ษาและทา้ ความเข้าใจในเร่อื งต่างๆทเ่ี กี่ยวข้องกับการทา้ โครงงาน เชน่ ภาษาซี ,
โปรแกรม Arduino , บอรด์ Arduino v3 , แอปพลิเคชนั Blynk , เกษตรไทย 4.0! “สมารท์ ฟาร์มคิท”
ระบบรดนา้ อจั ฉริยะ ,ฯลฯ
6. แบ่งงานออกเปน็ ส่วนๆเพือ่ ใหส้ มาชกิ ได้ทา้ งานตามที่ไดร้ ับมอบหมายซ่งึ งานแตล่ ะสว่ นนันจะ
เป็นงานท่ีสมาชิกแตล่ ะคนมีความถนัด สมาชกิ คนใดมคี วามสามารถด้านไหนกจ็ ะได้ทา้ งานในดา้ นนนั
เชน่ , ออกแบบโมเดลฟาร์มแบบปดิ , ศกึ ษาข้อมลู เก่ยี วกับการทา้ แบบจา้ ลองการแจ้งเตือนการเปดิ ปดิ นา้
อตั โนมตั ิผา่ นทางมารท์ โฟน , ท้าแบบจ้าลองการแจ้งเตือนการเปิดปดิ น้าอตั โนมัติผา่ นทางมาร์ทโฟน,
ศกึ ษาข้อมลู เกย่ี วกบั การปลกู หอมแดง, ศึกษาขอ้ มลู เกย่ี วกับการทา้ รปู เลม่ โครงงาน
7. เสนอแนวคิดเก่ียวกบั การท้าแบบจ้าลองฟารม์ ปดิ และแบบจ้าลองการแจง้ เตือนการเปิดปิด
น้าอัตโนมตั ิผา่ นทางสมาร์ทโฟนให้อาจารย์ท่ปี รึกษาแนะนา้ แนวทางในการทา้ แบบจ้าลอง
8. ลงมือทา้ โครงงานโดยการจัดท้าโมเดลแบบจา้ ลองฟาร์มปิดและแบบจา้ ลองการแจ้งเตือนการ
เปิดปิดน้าอัตโนมัติผ่านทางสมาร์ทโฟน
9. ทดลองใช้แบบจ้าลอง
10. ประเมินผลข้อดีและข้อเสียของแบบจา้ ลอง
11. เสนอแนวคิดเก่ียวกับข้อดีและข้อเสยี ของแบบจ้าลอง ใหอ้ าจารยท์ ป่ี รึกษาแนะน้าแนวทาง
ในการแก้ไขปัญหา
12. ดา้ เนินการแกไ้ ขแบบจ้าลองหากเกดิ ความเสียหายหรือบกพร่องประการใด
13. ขอค้าปรกึ ษาเกีย่ วกับการท้ารปู เล่มโครงงานจากอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา
14. จดั ทา้ รปู เลม่ โครงงาน
15. นา้ เสนอรูปเลม่ โครงงาน ใหอ้ าจารยท์ ปี่ รึกษาแนะน้าแนวทางในการแกไ้ ขรูปเล่มโครงงาน
16. ดา้ เนนิ การแก้ไขรปู เล่มโครงงานเมื่อพบความผิดพลาดหรอื ขอ้ บกพรอ่ งประการใด
17. นา้ เสนอโครงงาน
16
แบบวัดควำมพึงพอใจ
ทางคณะผจู้ ดั ท้าโครงงานได้ท้าการหาคา่ ความพึงพอใจโดยใชส้ ถิตใิ นการวัดข้อมลู ดงั นี
1.ค่าเฉลยี่ เลขคณิต
2. สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
17
บทที่ 4
ผลกำรดำเนินงำน
ตอนที่ 1 ตัวอยา่ งแบบจา้ ลองการแจ้งเตือนการเปิดปิดนา้ อัตโนมตั ิผา่ นทางสมาร์ทโฟน
ภาพที่ 4.1 โมเดลแบบจ้าลองการลดน้าประเภทโรงเรือนแบบปิด
ภาพท่ี 4.2 อุปกรณ์วดั ความชืนในดนิ
18
ตอนที่ 2 แสดงความพงึ พอใจทม่ี ีต่อแบบจา้ ลองการแจง้ เตือนการเปดิ ปดิ น้าอัตโนมตั ผิ ่านทางสมารท์ โฟน
รำยกำรประเมนิ 4.10 S.D ระดบั คุณภำพ
1. ความสะดวกสบายในการใชง้ านแบบจา้ ลองการแจ้งเตือน 3.46 0.88 มาก
การเปิดปดิ น้าอัตโนมตั ผิ า่ นทางสมารท์ โฟน 4.33 0.63 ปานกลาง
2. งบประมาณท่ีใชใ้ นการท้าแบบจา้ ลองการแจง้ เตือนการ 0.49 มาก
เปิดปิดน้าอัตโนมัติผ่านทางสมาร์ทโฟน 5.00
3. ความประหยัดนา้ จากแบบจ้าลองการแจ้งเตอื นการเปดิ ปดิ 3.26 0.00 มากทส่ี ุด
น้าอัตโนมตั ิผ่านทางสมาร์ทโฟนท่ีมกี ารควบคมุ ความชนื ตาม 4.06
ปรมิ าณนา้ ท่ีพืชตอ้ งการ 4.53 0.79 ปานกลาง
4. ความรวดเรว็ ในการแจ้งเตือนการเปิดปิดน้าอัตโนมตั ผิ า่ น 4.86 0.25 มาก
ทางสมารท์ โฟน 5 0.63 มาก
5 0.35 มาก
5. ความสามารถในการแจง้ เตือนระยะไกล 4.36
6. ความคมุ้ คา่ ในการสรา้ งระบบการแจ้งเตือนการเปดิ ปิดน้า 0 มากท่ีสุด
อัตโนมัตผิ า่ นทางสมารท์ โฟน
7. ความนา่ สนใจในการใช้ระบบการแจ้งเตือนการเปดิ ปิดน้า 0 มากที่สุด
อตั โนมตั ิผ่านทางสมารท์ โฟน 0.32 มำก
8. การแจง้ เตือนการเปิดปิดน้าอตั โนมัติผ่านทางสมาร์ทโฟน
มคี วามแมน่ ย้าในการอ่านคา่ ความชืนและอุณหภมู ิ
9. Application Blynk มีความสะดวกสบายในการใชง้ าน
และสามารถเข้าถึงได้งา่ ย
10. Application Blynk มวี ธิ กี ารใชง้ านท่เี ขา้ ใจง่าย
รวม
จากตารางแสดงความพึงพอใจท่ีมีตอ่ แบบจา้ ลองการแจง้ เตือนการเปดิ ปิดน้าอัตโนมตั ผิ ่านทาง
สมารท์ โฟน พบว่าระดับความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก โดยมคี า่ เฉล่ียเลขคณิต = 4.36 และสว่ น
เบย่ี งเบนมาตรฐาน S.D. = 0.32 และความพึงพอใจ ในเร่ือง Application Blynk มคี วามสะดวกสบาย
ในการใชง้ านและสามารถเข้าถงึ ไดง้ ่าย และความรวดเรว็ ในการแจ้งเตือนการเปิดปิดน้อัตโนมตั ิผ่านทาง
สมาร์ทโฟน มคี วามพงึ พอใจสูงสุดในการท้าแบบจ้าลองครงั นี
19
บทที่5
สรุปอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผล
กลมุ่ เปา้ หมายจา้ นวน 15 คน มคี วามพึงพอใจต่อแบบจ้าลองการแจ้งเตือนการเปิดปิดนา้
อัตโนมัติผา่ นทางสมารท์ โฟนมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก โดยมคี า่ เฉลี่ยเลขคณิต = 4.36 และ
ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน S.D. = 0.32
อภิปรำยผล
แบบจ้าลองการแจง้ เตือนการเปดิ ปิดน้าอตั โนมตั ผิ ่านทางสมารท์ โฟนมคี ่าความพงึ พอใจคา่ เฉล่ยี
เลขคณิตคือ 4.36 จัดอยใู่ นระดับพึงพอใจมากซึง่ มากกว่าคณะผู้จดั ท้าไดค้ าดคะเนไว้ เพราะในการจัดท้า
แบบจ้าลองการแจ้งเตือนการเปดิ ปิดนา้ อัตโนมตั ผิ า่ นทางสมารท์ โฟนได้แนวคิดมาจากงานวิจยั ของ นาย
วิลาศ แซ่เตยี ที่ไดท้ ้าการวจิ ยั เรื่อง เครอื่ งรดน้าตน้ ไมอ้ ัตโนมตั ิและไดป้ ระมวลความคดิ เพื่อบูรณา
การเป็นเคร่ืองรดน้าต้นไมแ้ นวตงั อตั โนมตั ิที่มวี ตั ถุประสงคเ์ ช่นเดียวกบั ทางคณะผจู้ ัดท้า
ขอ้ เสนอแนะ
1. ตอ้ งท้าให้คุ้มค่ามีระบบการท้างานหลากหลาย
2. อยากใหแ้ บบจ้าลองนีมปี ระโยชน์ในท้าการเกษตรทังในโรงเรือนและกลางแจ้ง
3. ในประดษิ ฐ์ชนิ งานหากมีการอธิบายแบบละเอียดหรือมีวดิ โี อประกอบดว้ ยจะท้าใหเ้ ข้าใจ
มากกว่านี
20
บรรณำนกุ รม
กราวเิ ทคไทย. (2557). กำรเขียนโค้ดใน Arduio. [ออนไลน์ ]. เขา้ ถงึ ข้อมลู ไดจ้ าก:
https://www.gravitechthai.com/board.php. (วนั ทีค่ น้ ข้อมลู 15 สงิ หาคม2561).
กติกา สระมณีอินทร . (2559). เซนเซอร์ตรวจจบควำมชน้ื ในดนิ . [ออนไลน์ ]. เข้าถึงข้อมูลได้
จาก: https://www.repository.rmutr.ac.th. (วันที่ค้นข้อมลู 15 สิงหาคม 2561).
สมพงษ์ ธรรมถาวร. (2557). ผลของอณุ หภมู แิ ละควำมชนื้ สัมพัทธ์ . [ออนไลน์ ]. เขา้ ถึงข้อมลู ได้
จาก:https://www.globethailand.ipst.ac.th. (วนั ที่คน้ ขอ้ มูล 15 สงิ หาคม 2561).
ศิวาพร เหมยี ดไธสง. (2555). เซนเซอรไ์ ร้สำย. [ออนไลน์ ]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก:
https://www.ecti-thailand.org. (วันท่คี น้ ข้อมลู 15 สิงหาคม 2561).
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. เกษตรไทย 4.0! “สมำรท์ ฟำรม์ คทิ ”
ระบบรดน้ำอัจฉริยะ. [ออนไลน์ ]. เข้าถงึ ข้อมลู ได้จาก:
https://www.thairath.co.th/content/930032. (วันทค่ี น้ ขอ้ มลู 15 สิงหาคม 2561).
21
ภำคผนวก
22
ภำคผนวก ก
แบบประเมินชนิ งาน
23
แบบประเมินช้ินงำน แบบจำลองกำรแจ้งเตอื นกำรเปดิ ปิดนำ้ อตั โนมัตผิ ่ำนทำงสมำรท์ โฟน
คำชีแ้ จง ให้ท่ำนทำเคร่อื งหมำย / ในช่องระดบั ทต่ี รงกับควำมพึงพอใจของทำ่ นเพียงชอ่ งเดยี ว
เทำ่ น้นั
โดยหมำยเลข 1น้อยท่สี ุด 2น้อย 3ปำนกลำง 4มำก 5มำกที่สุด
ขอ้ รำยกำรประเมนิ ระดับคะแนน
54321
1 รปู แบบชินงาน
2 ความเหมาะสมในการใช้งาน
3 วิธีการใชง้ าน
4 ระยะเวลาในการประดิษฐ์แบบจา้ ลอง
5 ความคิดสรา้ งสรรค์
6 วธิ กี ารจดั เกบ็ ชินงาน
7 งบประมาณในการทา้ แบบจ้าลอง
8 สอื่ ถงึ ลกั ษณะการใช้ทช่ี ัดเจน
9 ประโยชนใ์ นการใชง้ าน
10 คุณภาพของชินงาน
24
ภำคผนวก ข
แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
25
แบบประเมนิ ควำมพึงพอใจ
ระบบการแจ้งเตอื นการเปดิ ปิดน้าอตั โนมัตผิ ่านทางสมารท์ โฟน
คำชแ้ี จง ใหท้ ่านท้าเครื่องหมาย /ในชอ่ งระดบั ทตี่ รงกบั ความพึงพอใจของทา่ นเพยี งช่องเดียวเท่านัน
โดยหมายเลข 1.ความพอใจอยใู่ นระดบั น้อยท่ีสุด 2.ความพอใจอยู่ในระดับน้อย
3.ความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 4.ความพอใจอยู่ในระดับมาก
5.ความพอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ
ข้อที่ หัวขอ้ /ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
4 32 1
5
1 ความสะดวกสบายในการใช้งานแบบจ้าลองการแจ้งเตือนการเปิดปดิ น้า
อตั โนมัตผิ ่านทางสมารท์ โฟน
2 งบประมาณทีใ่ ชใ้ นการท้าแบบจ้าลองการแจ้งเตือนการเปิดปดิ นา้ อัตโนมตั ิ
ผา่ นทางสมารท์ โฟน
3 ความประหยดั น้าจากแบบจา้ ลองการแจ้งเตอื นการเปิดปดิ น้าอัตโนมัตผิ ่าน
ทางสมารท์ โฟนที่มีการควบคุมความชนื ตามปริมาณน้าทีพ่ ืชต้องการ
4 ความรวดเรว็ ในการแจง้ เตือนการเปิดปิดนา้ อัตโนมัติผ่านทางสมาร์ทโฟน
5 ความสามารถในการแจ้งเตือนระยะไกล
6 ความคมุ้ ค่าในการสร้างระบบการแจง้ เตือนการเปิดปิดนา้ อัตโนมัตผิ ่านทาง
สมารท์ โฟน
7 ความน่าสนใจในการใช้ระบบการแจ้งเตือนการเปิดปดิ น้าอัตโนมตั ผิ ่านทาง
สมาร์ทโฟน
8 การแจง้ เตือนการเปิดปิดน้าอัตโนมัติผ่านทางสมารท์ โฟน
มคี วามแม่นย้าในการอา่ นค่าความชนื และอุณหภมู ิ
9 Application Blynk มคี วามสะดวกสบายในการใชง้ านและสามารถเขา้ ถงึ ได้
ง่าย
10 Application Blynk มวี ิธีการใชง้ านท่เี ข้าใจง่าย
ขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
26
ภำคผนวก ค
คูม่ อื การใช้งาน
27
QR Code คมู่ อื การใชง้ าน
28
ประวัตผิ ู้จัดทำ
29
ประวตั ิคณะผูจ้ ดั ทำ
ชอื่ นายณรงค์พนั ธ์ วรรณะ
วนั เกิด เกดิ วันจันทร์ ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2543
สถานที่อยูป่ จั จุบนั บ้านเลขที่ 167 ม.8 ต.หนองอ่งึ อ.ราษีไศล จ.ศรสี ะเกษ 33160
E-mail address:[email protected]
ประวตั ิการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาปลาย โรงเรียนสตรสี ิริเกศ
ชื่อนางสาวสิรวิ รรณ จันทะเสน
วนั เกดิ เกิดวันพฤหสั บดี ท่ี10 พฤษภาคม พ.ศ.2544
สถานทอ่ี ยู่ปจั จบุ นั บ้านเลขที่ 26 ม.8 ต.พยหุ ์ อ.พยหุ ์ จ.ศรสี ะเกษ 33230
E-mail address:[email protected]
ประวัติการศึกษา
มัธยมศึกษาปลาย โรงเรียนสตรีสริ เิ กศ
ช่ือ นางสาวชญานินทร์ ศรีหวาด
วันเกิด เกิดวนั ที่ พ.ศ.
สถานทอ่ี ยูป่ จั จุบนั บ้านเลขที่ 82 ม.7 ต.ตาเกษ อ.อุทุมพรพิสยั จ.ศรสี ะเกษ 33120
E-mail address:[email protected]
ประวตั กิ ารศึกษา
มัธยมศึกษาปลาย โรงเรียนสตรสี ริ เิ กศ
ชื่อ นางสาวสริ โิ สภา สิงห์สทิ ธ์ิ
วนั เกดิ เกิดวนั พุธ ท่ี 14 มิถนุ ายน พ.ศ.2543
สถานที่อยปู่ จั จุบนั บา้ นเลขท่ี 59 ม.12 ต.ลินฟา้ อ.ยางชุมน้อย จ.ศรีสะเกษ 33190
E-mail address:[email protected]
ประวัติการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาปลาย โรงเรียนสตรีสริ ิเกศ
30
ชื่อ นางสาวนภาพร ตงั ใจ
วนั เกิด เกิดวันจนั ทร์ ที่ 22 มกราคม พ.ศ.2544
สถานทีอ่ ย่ปู ัจจบุ ัน E-mail address:[email protected]
ประวัตกิ ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษาปลาย โรงเรียนสตรีสริ เิ กศ
ชื่อ นางสาวนลินทิพย์ พวงพัว่
วันเกิด เกิดวันจนั ทร์ ท่ี 12 มีนาคม พ.ศ.2544
สถานทอี่ ยู่ปจั จบุ ัน บา้ นเลขที่ 35/1 ม.7 ต.ดู่ อ.กันทรารมย์ จ.ศรสี ะเกษ 33130
E-mail address:[email protected]
ประวตั ิการศึกษา
มัธยมศึกษาปลาย โรงเรียนสตรีสิรเิ กศ