The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

05 เกมดินแดนคำศัพท์เขาวงกต2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sopa, 2019-06-17 22:40:15

05 เกมดินแดนคำศัพท์เขาวงกต2

05 เกมดินแดนคำศัพท์เขาวงกต2

เคา โครงขอ เสนอโครงงานคอมพิวเตอร
เคาโครงขอเสนอโครงงานคอมพวิ เตอร
ช่ือโครงงาน (ภาษาไทย) เกมดนิ แดนคาํ ศัพทเ ขาวงกต
ช่อื โครงงาน (ภาษาองั กฤษ) Labyrinth lands vocabulary
สาขางานวิจยั โครงงานพฒั นาเกม
ชอ่ื ผูทาํ โครงงาน 1.นายกิตติ ลาํ ดวน เลขท่ี 2
2.นายสายชล สงิ หค ะ เลขท่ี 8
3.นางสาวยุวลี ยีรัมย เลขที1่ 9
4.นางสาววราภรณ ขุนแกว เลขที่ 20
5.นางสาวอารียา พรมคาํ บตุ ร เลขที่ 24
6.นางสาวปารชิ าติ เพชรฎา เลขที่ 32
ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 6/4
ชอ่ื ครูทปี่ รกึ ษา ครูโสภา พเิ ชฐโสภณ
ชื่อครูทป่ี รึกษารว ม ครูเบญจมาภรณ จันทรชิต
ระยะในการดาํ เนิดการ 1มิถุนายน2561 –16กนั ยายน2561

รายละเอียดเกย่ี วกบั โครงงาน

1.แนวคดิ ทมี่ าและความสาํ คัญ
กระทรวงศึกษาธิการไดก าํ หนดแนวทางปรบั ปรงุ ภาษาอังกฤษโดยมงุ ใหผ ูเ รียนเกิดความเขาใจใน

การส่ือสารดว ยภาษาอังกฤษ คอื สามารถนาํ ไปใชใ นการเขา สสู งั คม และเขา ใจวฒั นธรรมของภาษา
(Social Cultural Functions)แลวสอื่ ความหมายไดถ กู ตองตามหลักภาษา (Cognitive Linguistic
Functions) ดงั นัน้ การจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษจึงประกอบดวย 4 ทกั ษะคอื การฟง การพดู
การอา น และการเขียน ดว ยความสําคัญดังกลา วพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2542
จึงกําหนดใหผเู รียนรภู าษาอังกฤษต้งั แตชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 4 ดัง้ นน้ั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
พ.ศ.2544 ไดก าํ หนดใหผูเ รยี นตองบรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรดู ว ยมาตรฐานทางดานตางๆ
(กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551 : 3-5) ดา นภาษาเพอื่ การสือ่ สารตองเขาใจกระบวนการการฟง พดู อาน
เขยี น และมที กั ษะทางการสอ่ื สาร ดานภาษากับวัฒนธรรมตอ งเขาใจความสมั พนั ธร ะหวางภาษากับ
วัฒนธรรมและความเหมือนกับความแตกตา งระหวา งภาษาดานภาษากับความสัมพนั ธก บั ชุมชน
และโลกตองสามารถใชภ าษาอังกฤษในสถานการณต า งๆ และใชเ ปนพืน้ ฐานในการเรยี นรู การประกอบ
อาชพี และการรวมมอื กนั ในสงั คม อยา งไรกต็ ามในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษหรือภาษาใหมใ ดๆ
ก็ตามความรูในเรอื่ งคําศพั ทเ ปน องคประกอบหนึง่ ทมี่ คี วามสําคัญมาก (McCarthy, 1997 : 73)

จากการสอบถามนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 6 โรงเรียนบานหนองคํา ตาํ บลนํา้ คํา
อําเภอเมอื ง จังหวดั ศรีสะเกษ จาํ นวน 10 คน เก่ยี วกับความรูเ รือ่ งคาํ ศัพทภาษาองั กฤษ โดยใชบ ตั ร
คําศัพทจ ํานวน 10 คาํ ใชเกณฑในการสอบถามคอื ตอบไดม ากกวา หรอื เทา กับรอยละ 50 ของคาํ ศัพท
ทัง้ หมด สรุปวา สามารถตอบความหมายของคําศพั ทไ ด ตอบไดน อ ยกวารอยละ 50 สรปุ วาไมส ามารถ
ตอบความหมายของคาํ ศพั ทได พบวารอยละ 80 ไมสามารถตอบความหมายของคาํ ศพั ทได รอยละ 20

สามารถตอบความหมายของคําศัพทได จากการสอบถามพบวานกั เรยี นไมช อบวิชาภาษาองั กฤษ
นักเรียนมีทัศนคติไมดกี ับวชิ าภาษาองั กฤษ เชน วิชาภาษาอังกฤษเปน วชิ าท่นี าเบ่อื เนื่องจากฟง ไมรูเรื่อง
อานไมไ ด เขยี นไมถกู จงึ ทาํ ใหน กั เรยี นไมม คี วามรูคาํ ศัพทภ าษาอังกฤษ เกมเปน ลกั ษณะของกิจกรรม
ของมนษุ ยเ พ่ือประโยชนอ ยา งใดอยางหน่ึง เชน เพื่อความสนุกสนานบนั เทงิ เพอ่ื ฝก ทกั ษะ และเพื่อการ
เรียนรู เปน ตน เกมไดเขามาเก่ียวขอ งกบั ชีวติ ประจาํ วนั ของเราไมวาจะอยูใ นรูปแบบการนาํ เสนอ
เรอ่ื งราวของเกม วิธีการใชงานเกมรวมกบั อุปกรณอิเลก็ ทรอนิกส การตดิ ตอ ส่อื สาร ดา นการศึกษาและ
ดา นการประกอบธรุ กจิ และการเขา ถงึ เกมสามารถเขา ถึงไดง า ย ทาํ ใหม ีผเู ลนเกมเพิ่มขนึ้ เปนจํานวนมาก
โดยเฉพาะกลุม นกั เรยี น นักศึกษา และกลมุ คนทํางานที่จะพกั ผอนโดยการเลนเกม จากแนวคิดในการนาํ
เกมคอมพวิ เตอรผนวกเขากบั บทเรยี นเพ่อื ความบนั เทงิ และดึงดดู ความสนใจของผเู รยี นสาเหตุหลกั คอื
การมปี ฏิสมั พนั ธและการจดจอ (interactive and engagement) ตอการเลนเกม นอกจากนยี้ งั มี
เหตผุ ลอื่นๆ เชน เกมคอมพิวเตอรย อมใหผูเรยี นจดั การตามรปู แบบท่ีผเู รียนแตละคนตอ งการและสง ผล
ใหผ ูเ รียนสามารถใชเ วลาตามที่ตนตอ งการเพอ่ื ฝก ฝนใหเกดิ ความชํานาญและเขาใจกับเนอ้ื หาของเกม ส่ิง
ดึงดดู ใจอนื่ ๆ เชน ภาพเคลื่อนไหว สุนทรยี ภาพ เสียงประกอบ ความสนกุ สนาน ความตน่ื เตน การ
แขง ขัน ความทา ทาย การตอบสนองกับผเู รียน และการมีปฏิสัมพันธกับผูเรยี นหรือผเู ลน ไดตลอดเวลา
ส่งิ เหลานีล้ ว นเปน มนตสะกดใหผูเลนตรงึ อยูก บั เนอ้ื หาของเกมและบทเรยี น โดยเฉพาะการตอบสนอง
กลบั ทนั ทกี บั ผเู รียนขณะเลนเกมถือวา เปนสง่ิ สาํ คัญของกระบวนการสอนที่มีประสทิ ธภิ าพ (Michell&
savill-smith,2004) จากแนวคดิ ที่ไดก ลาวมาจะทําใหนักเรยี นมีความสนใจมากข้นึ สอดคลองกับแนวคดิ
ของราลฟวอลโด เอมเมอรส นั นกั ปรัชญา กวี และนักเขียน กลาววา “เมือ่ เดก็ เลน เดก็ จาํ เขาไม
ตระหนกั หรอกวา เขากาํ ลงั เรียนรู แตทแ่ี นนนอนกค็ ือเขารูวาเขากําลงั สนุกกับมัน”ผลจากการเลนทําให
มนษุ ยไ ดฝ ก ทกั ษะโดยไมร ตู วั และเปนไปอยางธรรมชาติ จากแนวคดิ ดงั กลา วคณะผูจ ดั ทําจึงไดน ําเกมมา
แกไ ขปญ หา โดยใชเ กมคอมพิวเตอรม าเปนสื่อการสอนเพราะการเขา ถึงเกมสามารถเขา ถงึ ไดงาย ทําใหม ี
ผูเลนเกมเพิม่ ขน้ึ เปน จํานวนมากโดยเฉพาะกลมุ นกั เรียน นกั ศกึ ษา และกลุมคนทาํ งานทจี่ ะพักผอนโดย
การเลน เกม เกมเปน ลักษณะของกิจกรรมของมนษุ ยเ พอ่ื ประโยชนอยา งใดอยางหน่ึง (MacGregor
Historic Games. 2006) โดยสามารถสรางเกมจากโปรแกรม construct 2 เปนโปรแกรมแบบสรางเกม
2 มติ ิ แสดงผลแบบ WebGLซึ่งสนับสนุนหลากหลายแพลตฟอรม ไดใ ชโ ปรแกรม construct 2 ในการ
สรา งเกมดนิ แดนคาํ ศพั ทเ ขาวงกต เปน เกมที่นําคําศัพทผนวกเขากบั เกมที่มลี กั ษณะเปน เกมปรศิ นา
หาทางออก โดยทางออกจะมีรปู ภาพคําศพั ททีส่ ัมพนั ธก ับคาํ ศพั ทท่กี ําหนด

จากแนวคิดและท่ีมาขางตน คณะผูจ ดั ทําจงึ มีแนวคิดที่จะสรา งเกมดินแดนคําศพั ทเขาวงกต
โดยมุงหวงั วา จะไดเ กมดนิ แดนคําศพั ทเ ขาวงกต สามารถจดั ทําโครงงานคอมพวิ เตอร ประเภทพฒั นา
เกมไดอ ยางถกู ตอ ง เกมท่ีพัฒนาขึน้ จะชว ยใหน กั เรยี น โรงเรยี นบานหนองคํา มีความรูเรอื่ งคําศพั ทม าก
ขนึ้ มคี วามพึงพอใจตอ เกม
2.วตั ถุประสงค

2.1 เพ่อื สรางเกมดินแดนคําศพั ทเขาวงกต
2.2 เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6 โรงเรยี นบานหนองคาํ ท่มี ตี อ
เกมดินแดนคําศพั ทเขาวงกต

3. หลักการและทฤษฎี
3.1. เกมดนิ แดนคําศพั ทเขาวงกต
เกมดนิ แดนคาํ ศัพทเ ขาวงกต เปนประเภทเกมปริศนา (Puzzle Game) ตวั

เกมมักจะเนนการแกปรศิ นา ปญ หาตางๆ มตี ัง้ แตร ะดับงายไปจนถึงซับซอ น ลกั ษณะของเกมดินแดน
คาํ ศัพทเ ขาวงกตภายในเกมหนาแรกจะประกอบดวย ปมุ start ปุม exit ปุมใหความชว ยเหลือ คณะ
ผจู ดั ทํา และคาํ ศพั ทเพิ่มเตมิ เมื่อเมือ่ เขาเกม ในหนา แรกจะมวี ิธกี ารเลน ผจู ัดทาํ และปุม เปดปด เสียง
เมื่อคลิกstartเขามาจะใหเลอื กหมดจะซึ่งมีอย5ู ในแตล ะหมวดจะมีอยูด วยกนั 3ดา น เมือ่ เลือกและเขา มา
ในเกม จะบงั คบั ตัวละครโดยการกดปมุ ขนึ้ ลง ซาย ขวา เพื่อใหต ัวละครไปยังทางออกของโจทยท ี่
กาํ หนดให ถาเขา ไมถูกทางกจ็ ะไดเ ลนใหมและถาเลือกถูกก็จะไดเลนในดานตอ ไป เม่ือชนะทัง้ หมดถา
อยากรูคาํ ศพั ทเ พม่ิ เตมิ กจ็ ะอยูในหนา แรกเพ่ือเปน ความรูเพมิ่ เตมิ

3.2. เกมคอมพิวเตอร
3.2.1. ความหมายของเกมคอมพิวเตอร
เกมคอมพวิ เตอร (Computer game) หรอื เกมพซี ี หมายถงึ เกมที่เลน บน

คอมพวิ เตอรส ว นบคุ คล มากกวาเครือ่ งเกมคอนโซล หรอื เคร่ืองเกมอารเ ขต เกมคอมพวิ เตอรม ีการ
พฒั นาจากรปู แบบการเลน และกราฟก ท่เี รียบงาย กอนทจี่ ะมรี ูปแบบสลับซับซอ นดงั เชน ในปจจุบนั

เกมคอมพิวเตอรถกู ผลิตขน้ึ มาโดยผพู ฒั นาเกมหนึ่งคนหรอื มากกวา ซงึ่ สว นใหญมักจะเปน การ
รว มตัวกันของผูเชีย่ วชาญหลายดา น (อยา งเชน ผูอ อกแบบเกม) และออกจาํ หนา ยดวยตนเอง หรือผา น
บคุ คลท่ีสาม จากน้นั ผผู ลติ เกมก็อาจจะมกี ารเผยแพรเ กมผา นทางสอื่ อยา งเชน ดวี ดี ี ซีดี เปด โอกาส
ใหด าวนโหลดทางอินเทอรเน็ต เกมคอมพิวเตอรส ว นบคุ คลมกั จะตองการฮารดแวรท ม่ี ลี กั ษณะเฉพาะใน
การเลน อยางเชน ระบบประมวลผลทางกราฟก หรอื การตออนิ เทอรเ น็ต เปน ตน ถงึ แมว าระบบ
ดังกลาวอาจไมจําเปนสาํ หรับการเลนในบางเกม

3.2.2. ประเภทของเกมคอมพิวเตอร
1. เกมแอคชั่น (Action Game) เปน ประเภทเกมที่ใชการบงั คบั ทศิ ทางและ

การกระทาํ ของตวั ละครในเกมเพอ่ื ผา นดา นตา งๆไปใหไ ด มตี ั้งแตเ กมทีม่ รี ปู แบบงายๆ เหมาะกับคนทกุ
เพศทุกวยั เชน มาริโอ ร็อคแมน ไปจนถึงเกมแอ็กชนั ที่มีเนอ้ื หารนุ แรงไมเ หมาะกบั เด็กๆ บางเกมมกี าร
ใสลกู เลนตางๆ เขา มาเพิ่มความสนุกของเกมจนกลายเปนเกมแนวใหมไปเลยเชน

1.1. เกมยิงมมุ มองบุคคลที่หนงึ่ (First Person Shooter) เปนเกม
แอ็กชนั ทีใ่ หผเลน สวมบทบาทผา นมมุ มองจากสายตาตวั ละครตัวหน่งึ แลวตอ สูผานดานตางๆ ไปจดุ เดน
ของเกมประเภทนี้คอื เหตกุ ารณท กุ ๆอยางจะผา นสายตาของผูเลนทง้ั หมด ผเู ลน จะไมเห็นตัวเอง เกม
ประเภทนมี้ กั จะเนนแอ็กชันซง่ึ ๆหนา และเนน ทอี่ ารมณของตวั ผูเลน และความรูสกึ สมจรงิ ทาํ ใหเกม
ประเภทนีม้ กั จะเปน เกมทมี่ คี วามรุนแรงสงู เกมประเภทนที้ ไ่ี ดรับความนิยมไดแ ก Half-Life, Doom,
Crysis, Battlefield, Brother in Arms, Call of Duty

1.2. เกมยงิ มมุ มองบุคคลท่สี าม (Third Person Shooter) เปน เกม
แอ็กชนั ลักษณะคลา ยๆ กับ First Person Shooter แตจะตา งตรงที่เกมประเภทนผี้ ูเลน จะไดม ุมมอง
จากดา นหลังของตัวละครแทน เกมประเภทน้มี ักจะเนนการเคลือ่ นไหวเปนสาํ คัญ เพราะผเู ลนมองเหน็
ตวั ละครท่ีควบคุม และเกมประเภทนีม้ ักจะมีปริศนาในเกมสอดแทรกเปน ระยะๆ เชน ปริศนาดันลงั หรอื

ปรศิ นาประเภทกระโดดขา ม (หรอื อาจจะไมม ีขึ้นอยกู ับลกั ษณะของเกม) เกมประเภทน้ีท่ีไดรบั ความนยิ ม
ไดแ ก Grand Theft Auto, Tomb Rider, Hitman, Splinter Cell, Saint Row

1.3. เกมแพลตฟอรม (Platformer) เปน เกมแอ็กชนั พ้นื ฐาน ทวี่ าง
ฉากไวบนพืน้ ทีข่ นาดหนงึ่ และใหผ ูเลนผานเกมไปใหไ ดทลี ะดานๆ โดยสว นมากมักจะเนน ใหผูเลน
กระโดดขามฝงจากฝง หนึ่งไปอีกฝงหน่ึง มกั จะเปน เกมแบบ2 มิตแิ ละมกี ารควบคุมแคเ ดินซา ยกบั ขวา
เกมประเภทนี้ท่ีไดรบั ความนิยมไดแ ก Kirby, Contar, Metal Slug

1.4. Stealth-based game คอื เกมแอ็กชนั ท่ไี มเ นนการบุกตะลุย
แตใชก ารหลอกลอฝายศตั รูเพอื่ ผานอุปสรรคไปใหไดห รอื การลอบเรน เกมประเภทนโี้ ดยสว นมากผูเ ลน
ตอ งมีความอดทนสูงพอและตอ งสามารถอา นการเคลื่อนไหวของศตั รูได เกมประเภทน้ีตวั ละครเอกมกั จะ
ไมแ ขง็ แกรงเหมือนเกมแบบ First Person Shooter และไมม อี าวุธยโุ ธปกรณม ากพอใชตอสไู ด แต
อยางไรก็ดีเกมหลายๆเกมไดน าํ คุณลักษณะของ Stealth-based game ไปเสรมิ ในเกมกม็ ี เกมประเภท
นท้ี ไ่ี ดรบั ความนยิ มไดแก Tenchu, Metal Gear Solid, Splinter Cell

1.5.Action Adventure Game เปนลักษณะเกมแอ็กชันทมี่ ีการ
ผสานการไขปรศิ นาและการรวบรวมส่งิ ของเหมอื นเกมผจญภยั เกมบางเกมยังผสมลกั ษณะของอารพจี ี
ลงไปดว ย เกมประเภทนี้ยงั แตกแขนงเปน Survival/Horror ซึ่งจะสมมตสิ ถานการณสยองขวญั ขึ้นมา
เพื่อใหผ ูเลนเอาชีวติ รอดไปใหไ ดหรือไมก็ตาย เกมประเภทนท้ี ่ไี ดรับความนิยมไดแ ก เรซิเดนตอวี ลิ , ICO,
แชโดวออฟเดอะโคลอสซสั ,minecraft

2.เกมเลน ตามบทบาท (Role-Playing Game) หรือ อารพ ีจี (RPG) หรอื ที่
นยิ มเรยี กกนั วาเกมภาษา เปนเกมที่พฒั นามาจากเกมสวมบทบาทแบบตัง้ โตะ เนอ่ื งจากในชว งแรกเกม
อารพีจที ี่ออกมาจะเปนภาษาอังกฤษหรือญป่ี ุน ซง่ึ ตองใชค วามรดู านภาษานนั้ ๆในการเลน เกมประเภทนี้
จะกําหนดตวั ผูเลน อยใู นโลกทสี่ มมติขึ้น และใหผูเลน สวมบทบาทเปนตวั ละครหนึ่งในโลกน้นั ๆผจญภยั ไป
ตามเนอ้ื เรื่องท่ีกาํ หนด โดยมีจุดเดนทางดานการพัฒนาระดบั ของตวั ละคร (Experience-ประสบการณ)
เกบ็ เงนิ ซอ้ื อาวุธ, อุปกรณ เมอื่ ผจญภัยไปมากข้ึนและเอาชนะศตั รูตวั รายทีส่ ุดในเกม ตัวเกมไมเนน การ
บงั คับหวือหวา แตจ ะใหผ ูเลนสัมผสั กบั เรื่องราวแทน เกม RPG จะถกู แบง ออกเปน สองลกั ษณะใหญๆ

2.1.Computer RPG เปนเกมอารพจี บี นเคร่อื งคอมพวิ เตอร จุดเดน
ของเกมประเภทน้มี กั จะไมเ นน ทเ่ี รอ่ื งราว แตจะเนนที่การใหผ เู ลนสรางตวั ละครอยา งเสรแี ลวออกไป
ผจญภยั ในโลกของเกม เกมอารพ จี บี นคอมพวิ เตอรมกั จะเปนอารพีจขี องประเทศในแถบตะวันตก เกม
ประเภทนจ้ี ะมีคณุ คา ในการเลน ซํา้ ทส่ี งู มาก เพราะผูเลนสามารถนาํ กลบั มาเลน และเปลยี่ นลกั ษณะของ
ตัวละครไดต ามใจชอบ เกมประเภทนที้ ไี่ ดร บั ความนยิ มไดแ ก Diablo, The Elder Scrolls, Titan
Quest

2.2.Console RPG เปนเกมอารพ ีจบี นเคร่อื งคอนโซล จุดเดน ของ
เกมประเภทนอ้ี ยทู ีเ่ รอื่ งราวท้ังหลาย เกมประเภทน้มี กั จะมีตัวละครท่สี รา งไวอยแู ลวและใหผ เู ลนเขา ไป
ควบคมุ ตัวละครตัวนนั้ เกมประเภทนม้ี ักจะเนน เรื่องราวที่ตายตัวแตจะเปน เร่อื งราวท่ีลึกซงึ้ เกมประเภท
นีส้ ว นมากจะเปนเกมฝงตะวันออกซะสวนใหญ เกมประเภทนีท้ ไ่ี ดรบั ความนิยมไดแก ไฟนอลแฟนตาซ,ี
ดรากอ นเควสต, คิงดอมฮารตส, โรแมนซิง่ ซา-กา

2.3.Action RPG คอื เกมอารพ ีจีท่เี พมิ่ สวนของการบงั คบั แบบเกม
แอก็ ชันลงไป ซง่ึ โดยสวนมากเกมประเภทนจ้ี ะเปนเกมอารพจี ที มี่ ีสวนผสมของแอ็กชนั (ไมใ ชเ กมแอ็กชัน

ท่ีผสมอารพีจี) เพราะสวนมากเกมประเภทนผ้ี เู ลน ตองเกบ็ คาประสบการณ, เลเวล, อาวธุ และชุดเกราะ
เกมประเภทนที้ ไ่ี ดร ับความนิยมไดแก ไซเคน เดนเสทสึ

2.4. Simulation RPG คือเกมอารพีจีที่มีการเลน ในแบบของการวาง
แผนการรบ โดยสว นมากมกั จะเปน เกมวาแผนปกตแิ ตจ ะเนน ในสวนของการเก็บคาประสบการณ, เลเวล
และบางเกมยงั มกี ารซอ้ื ขายของแบบเกม RPG โดยสว นมากเกมประเภทนม้ี ักจะเปนเกมผลัดกนั เดนิ แต
จะตา งจากเกม Turn-Based Stategyตรงทีเ่ กมประเภทน้ีจะมปี ริมาณยูนิตในสนามรบนอ ยกวา Turn-
Based Strategy และตัวละครสามารถติดต้งั อาวุธแบบเกมอารพ จี ีทัว่ ๆไปได เกมประเภทนีม้ อี ีกชอ่ื หนึง่
วา Tactical Role-playing Game เกมประเภทน้ที ่ไี ดรับความนยิ มไดแ ก ซเู ปอรโ รบ็อตไทเซน็ , ซากรุ ะ
ไทเซ็น, ไฟนอลแฟนตาซี แทกตกิ ส, Tactics Ogre

3.เกมผจญภยั (Adventure Game) เปนเกมทีผ่ เู ลนจะสวมบทบาทเปน ตวั
ละครตัวหนง่ึ และตอ งกระทําเปา หมายในเกมใหส าํ เรจ็ ลุลวงไปได เกมผจญภยั นนั้ ถกู สรา งคร้งั แรกใน
รูปแบบของ Text Based Adventure จนกลายมาเปนแบบ Graphic Adventure เกมผจญภัยจะ
เนน หนักใหผ เู ลน หาทางออกหรือไขปรศิ นาในเกม โดยสวนมากปริศนาในเกมจะเนนใชต รรกะแกปญ หา
และใชส ง่ิ ของทผ่ี ูเลนเกบ็ มาระหวา งผจญภัย นอกจากน้ันผเู ลน ยงั คงตอ งพูดคยุ กบั ตวั ละครตัวอ่ืนๆ ทาํ ให
เกมประเภทนผ้ี ูเลนตอ งชํานาญดา นภาษามากๆ เกมผจญภัยสว นมากมกั จะไมมีการตายเพื่อใหผเู ลนไดมี
เวลาวิเคราะหปญหาขา งหนา ได หรือถามีการตายในเกมผจญภยั มกั จะถกู วางไวแ ลววาผเู ลน จะตาย
ตรงไหนไดบา งเกมผจญภยั มรี ปู แบบตา งๆดงั นี้

3.1. Text Based Adventure เปน เกมผจญภยั ทีใ่ ชพ้ืนฐานของการ
พิมพเปนสําคญั โดยเมื่อผูเลน ตองการทําอะไรกต็ อ งพมิ พเพื่อใหต วั ละครในเกมกระทาํ ตาม (เชนพมิ พ
Talk เมือ่ ตอ งการคุย พิมพ Look เมอื่ ตองการมอง) แตหลงั จากทค่ี อมพิวเตอรก าวสูยุคของเมาส เกม
ผจญภัยประเภทพิมพก ็หมดความนิยมลง เกมประเภทนที้ ไ่ี ดรับความนิยมไดแ ก Zork

3.2. Graphical Adventure หรอื Point 'n Click Adventure เปน
เกมผจญภัยทใ่ี ชรปู ภาพหรือตวั คนจริงๆ มาแสดงในหนาจอใหผ เู ลน ไดใชส ายตาในการมองหาวัตถรุ อบ
ขา ง เกมประเภทผเู ลนมักจะตอ งกระทาํ สงิ่ ทเี่ รยี กวา Pixel Hunting หรอื ก็คอื การเลื่อนเมาสไ ปทว่ั
หนา จอเพื่อหาจุดผิดปกตหิ รอื ส่ิงของภายในเกม ในปจ จบุ นั เกมผจญภยั ประเภทน้ใี ชเ รยี กเกมผจญภยั ใน
ปจ จบุ นั ทุกเกม

3.3. Puzzle Adventure เปนเกมผจญภยั ทีเ่ นนการไขปริศนาในเกม
โดยจะตัดทอนรายละเอยี ดเชนการเก็บของหรือการคุยกบั บุคคลอืน่ ลงไป เกมประเภทนที้ ่ีไดรับความ
นิยมไดแก Myst

4.เกมปรศิ นา (Puzzle Game) ตวั เกมมกั จะเนนการแกป ริศนา ปญหาตางๆ
มีตั้งแตร ะดับงายไปจนถึงซับซอ น ในอดตี ตัวเกมมักนาํ มาจากเกมปริศนาตามนติ ยสาร เชน เกมตัวเลข
เกมอกั ษรไขว ตอมาจงึ มเี กมปรศิ นาทีเ่ ลน บนคอมพิวเตอรอยางเกมเตตริสออกมา ปจจบุ นั มเี กม
แนวพซั เซิลแบบใหมๆ ออกมามากมาย เกมแนวนเี้ ปนเกมท่เี ลน ไดท ุกยุคทกุ สมัย จึงเปนเร่อื งปกตทิ ี่จะ
เห็นผูเลนบางคนยังตดิ ใจกบั เกมเตตรสิ เกมอารคานอยด ไปจนถึงเกมพัซเซลิ ใหมๆ อยา ง Polariumและ
Puzzle Bubble เกมปรศิ นาเปนเกมที่ไมเ นน เรอ่ื งราวแตจ ะเนน ไปทค่ี วามทา ทายใหผ เู ลน กลับมาเลน
ซํ้าๆ ในระดบั ทีย่ ากขนึ้

5.เกมการจําลอง (Simulation Game) เปน เกมประเภทที่จําลองสถานการณ
ตา งๆมาใหผ เู ลน ไดสวมบทบาทเปน ผูอ ยใู นสถานการณน ้นั ๆ และตดั สินใจในการกระทาํ เพ่อื ลองดูวา จะ
เปนอยางไร เหตุการณตางๆ อาจจะนาํ มาจากสถานการณจริงหรือสถานการณส มมตกิ ็ได เกมแนวน้ีแยก
เปน ประเภทยอยไดอกี เชน

5.1 Virtual Simulation จะจาํ ลองการควบคมุ เสมือนจรงิ ของสงิ่
ตา งๆ เชน การขบั รถยนต การขเั คร่อื งบนิ ขบั รถไฟ ควบคมุ รถยกของ เปน ตน โดยสว นมากเกมประเภท
นมี้ กั จะจาํ ลองรายละเอยี ดตางๆ ใหส มจริงทส่ี ดุ เทาที่จะจําลองได เกมประเภทนน้ี อกจากใชเ ลน เพือ่
ความบันเทงิ แลว ยังสามารถใชเปน แหลง เรยี นรกู ารควบคุมตางๆได เกมประเภทน้ที ม่ี ีชอื่ เสียง เชน แก
รนทวั ริสโม เปน ตน นอกจากน้ันเกมประเภทนไ้ี มจาํ เปนตองเปน ยานพาหนะ อาจจะเปนการจาํ ลอง
สถานการณ เชน ไฟไหม กเ็ ปนได

5.2 Tycoon หรือ Business Simulation เปนเกมจาํ ลองการ
บริหารธุรกิจ ผเู ลน จะไดบรหิ ารธุรกิ จิ อยา งใดอยา งหนงึ่ ซง่ึ มีทัง้ แบบผิวเผนิ (วางตาํ แหนง สิง่ ของ, จาง
พนกั งาน) จนไปถึงระดบั ลึก (ควบคมุ การทํางานของพนักงาน, ซ้อื /ขายหนุ ) เกมประเภทนม้ี กั จะมีคําวา
Tycoon ตอทายช่ือเกม เกมประเภทน้ที ี่ไดร ับความนิยมไดแ ก Theme Hospital, Theme Park,
Transport Tycoon, Zoo Tycoon, Railroad Tycoon

5.3 Situation Simulation จะจําลองเหตุการณตา งๆในชว งเวลา
หน่งึ มาใหผ เู ลน ไดเ ลน เปนตัวเองในสถานการณน้นั เชนเกม Derby Stalionทใ่ี หผ เู ลน เปนเจาของคอก
มา, เกมซมิ ซิตี ทีใ่ หผ ูเ ลนเปนนายกเทศมนตรี มีอาํ นาจสรา งและควบคมุ ระบบสาธารณูปโภคในเมอื ง
เปนตน

5.4 Life Simulation คือเกมจาํ ลองชีวิต โดยผเู ลน มกั จะไดค วบคมุ
ตัวละครตัวหนงึ่ หรอื ครอบครัวหน่งึ แลวใชช วี ิตปฏิบัติกิจวตั รประจาํ วนั เชน ทานขาว, อาบน้าํ , ทํางาน
หาเงิน ฯลฯ เกมประเภทนผี้ เู ลนสามารถควบคุมตวั ละครทงั้ ทเี่ ปนมนุษยแ ละไมใ ชม นษุ ยก ็ได เกม
ประเภทน้ีทมี่ ีชือ่ เสียง เชน เดอะซิมส, Animal Crossing

5.5 Pet Simulation เกมแนวนจี้ ะใหผ เู ลน ไดเล้ียงสัตวตา งๆ ในเกม
สาํ หรบั ผเู ลนบางคนทอี่ ยากจะเล้ียงแตสถานภาพไมอ าํ นวย ก็สามารถมาลองเลยี้ งในเกมได มตี ้ังแตส ตั ว
จริงๆ เชน เลี้ยงปลา เล้ียงสุนัข แมว ไปจนถงึ สตั วในจนิ ตนาการอยางเกม Slime Shiyoท่ใี หผ เู ลน ไดเลยี้ ง
สไลม หรือเกมตระกูลทามาก็อตจิ เปนตน

5.6 Sport Simulation เปน เกมวางแผนจัดการระบบของทมี กฬี า
ซ่งึ สว นมากเกมจาํ พวกนม้ี กั จะใหผูเ ลนไดควบคมุ เปน ผจู ัดการทีมหรือสโมสร และจดั หาสงิ่ ตา งๆ ใหกบั
ทมี เชน สปอนเซอร, ตารางฝก ฝน หรือจดั ตาํ แหนงการเลนใหก ับตัวผเู ลน ในทีม เปน ตน ผเู ลน ควรมี
ความรเู กี่ยวกับกฬี าชนิดนั้นๆ พอสมควร และรูจักชื่อนักกีฬาและชือ่ ทีมมาบา ง จะทาํ ใหเลนเกมประเภท
นไ้ี ดสนุกยงิ่ ขนึ้ อยางไรกต็ าม เกมประเภทน้ีบางเกมจะนาํ นักกีฬา และ/หรอื ทีมที่มชี ่ือเสยี งมาเปน จดุ
ขายChampionship Manager, Football Manager

5.7 Renaiเปนเกมจําลองการจบี สาว (หรอื หนมุ ) โดยลักษณะตัวเกม
ผูเลน จะตอ งรบั บทเปน ผชู าย (หรอื ผหู ญิง) โดยมีเปาหมายสรางความสมั พนั ธก บั หญิงสาว (หรอื ชาย
หนมุ ) ใหก ลายเปน คนรกั กัน โดยตัวเกมสวนมากจะแบง เปนวัน ในแตละวันผูเลน สามารถเลือกทํา

กิจกรรมตา งๆเพื่อสรา งคาสถานะ (แบบเกมเลนตามบทบาท) และเกดิ เหตุการณร ะหวา งผเู ลนกบั ตวั
ละครอ่ืนๆ เกมประเภทน้ที ไ่ี ดรับความนิยมไดแ ก โทคเิ มคเิ มโมเรียลและโทคเิ มคเิ มโมเรยี ลเกิรล ไซด

6.เกมวางแผนการรบ (Strategy Game) เปนประเภทเกมทแี่ ยกออกมาจาก
ประเภทเกมการจําลอง เนือ่ งจากในระยะหลังเกมประเภทนม้ี ีแนวทางของตวั เองที่ชดั เจนขึน้ คือเกมที่
เนน การควบคุมกองทพั ซ่งึ ประกอบไปดว ยหนว ยทหารยอ ยๆ เขา เขาทาํ การสูรบกนั พบมากในเครื่อง
คอมพิวเตอรเ นื่องจากคยี บ อรดและเมาสนนั้ มคี วามเหมาะสมตอการควบคมุ เกม และมักจะสามารถเลน
รว มกันไดห ลายคนผานทางอินเทอรเ น็ตหรอื ผา นระบบแลนอกี ดว ย เน้ือเรอ่ื งในเกมมไี ดห ลายหลาย
รูปแบบ แลวแตเกมน้ันๆ จะกาํ หนด ต้ังแตจบั ความสไตลเ วทมนตรค าถา พอ มด กองทหารยคุ กลาง ไป
จนถึงสงครามระหวา งดวงดาวเลยกม็ ี รปู แบบการเลน หลกั ๆ ของเกมประเภทนม้ี กั จะเปน การควบคุม
กองทพั , เกบ็ เก่ียวทรัพยากร และสรางกองทพั เกมวางแผนการรบแบง ออกเปนสองประเภทตามการ
เลนคอื

6.1.ประเภทตอบสนองแบบทนั กาล (Real Time Strategy) ผูเลน
ทกุ ฝายจะตอ งแขง กบั เวลา เนอ่ื งจากไมม ีการหยดุ พักระหวา งรบ เกมจะดําเนินเวลาไปตลอด เกม
ประเภทนีท้ ี่ไดร บั ความนิยมไดแก คอมมานดแอนดค องเคอร, สตารค ราฟต, วอรค ราฟต

6.2.ประเภททลี ะรอบ (Turn Based Strategy) ประเภทนีผ้ ูเลนมี
โอกาสคิดมากกวา เพราะจะใชวิธผี ลดั กนั สงั่ การทหารของตัวเองเปน รอบๆ เนื้อเรืองสวนใหญจ ะองิ
ประวตั ิศาสตรจรงิ อาจจบใดห ลายแบบสว นใหญคา ยท่ที าํ แนวนจ้ี ะเปน คา ย SEGA ทผ่ี ลิด คลา ยการเลน
หมากรกุ ซวิ ิไลซเซชนั่ , Heroes of Might & Magic, Total War ROME 2

7.เกมกฬี า (Sport Game) เปน กึ่งๆ เกมจาํ ลองการเลนกีฬาแตล ะชนดิ โดย
สว นมากเกมกฬี ามักจะมคี วามถกู ตองและเทีย่ งตรงในกฎกตกิ าคอนขา งมาก จงึ เหมาะสําหรบั ผูเลนที่
เขา ใจกฎกติกาและการเลน ของกฬี าน้นั ๆ โดยสวนมาจดุ ขายของเกมกฬี ามกั จะเปน ชื่อและหนาตาของผู
เลน ท่ีถกู ตอง, ลักษณะสนามและยานพาหนะ ตวั อยา งเกมกฬี าไดแ ก FIFA (ฟตุ บอล) ,วนิ นง่ิ อเี ลฟเวน
(ฟตุ บอล) , Madden NFL (อเมรกิ นั ฟตุ บอล) และ NBA LIVE (บาสเกตบอล)

8. เกมอาเขต (Arcade Game) คือเกมทีถ่ กู สรางมาใหก บั เครอ่ื งเกมตู โดย
สวนมากเกมประเภทนี้มกั จะใชเ วลาจบไมนาน (ไมเกิน 30 นาที หรือ ไมเกนิ 1 ช่ัวโมง) เนน ความเรยี บ
งา ยของตัวเกม มกั มเี วลาจํากดั ในการเลนและมักจะไมมกี ารบนั ทึกความกา วหนา ในการเลน เกมจะ
บนั ทกึ เพียงคะแนนสงู สดุ เทาน้นั เกมประเภทนีม้ กั มคี วามทาทายของระดับความยากงายดึงดูดใจใหผ ู
เลนกลบั มาเลน ซา้ํ และใชห ลกั จติ วทิ ยาในการบอก "คะแนนสูงสดุ " ทผี่ เู ลน คนกอนๆเคยทําไว ใหผเู ลน
ใหมๆ หาทางทําลายสถิติ

Beat 'em up (หรือเกมแนว Brawler) คือเกมอาเขตแบบท่ีเนน การ
เดินตามทางไปเรอื่ ยๆเพอ่ื เขา ปะทะกบั คตู อ สูท ่ีอยตู ามทางในระยะประชิด มุมมองในเกมมกั จะเปน
ลกั ษณะการมองจากดานขา งและเยอื้ งไปขางบนเลก็ นอย ทําใหผ เู ลน มองเหน็ อาวุธและไอเทมอ่นื ๆทอี่ ยู
บนพ้นื ไดอยา งชดั เจน และผูเลน สามารถเดนิ ข้ึนลงได 8 ทศิ ทาง มีทง้ั แบบ 2มิติ และ 3มิติ เกมประเภทน้ี
ทีไ่ ดร ับความนยิ มไดแ ก เกม Double Dragon , Golden Axe และ Final Fight เปนตน

Shoot 'em up' คือเกมอาเขตทเี่ นน การควบคมุ ตวั ละครเพ่อื ยิง
ทําลายคตู อ สูจ ากระยะทไี่ กลออกไป มที ง้ั แบบมุมมองจากดานบนและจากดานขาง เกมประเภทนี้ท่ีไดร บั
ความนยิ มไดแ ก เกม Space Invaders, Gradiusและ Contra เปนตน

Rail shooters คือเกมอาเขตทม่ี ักจะใชอ ุปกรณทเ่ี รียกวา "ปนแสง"
ซงึ่ เปนอุปกรณค วบคมุ เกมทม่ี รี ูปรา งเปนปน เกมจะคลายคลงึ กับ First Person Shooter แตตวั เกมจะ
บังคบั ทศิ ทางใหม ากกวา โดยผูเลน จะตองยิงทําลายเปา หมายทป่ี รากฏบนหนาจอ โดยใชป นแสงเปนตวั
เลง็ และยิง บางเกมเลนได 1 ผูเลน บางเกมเลนได 2 ผเู ลน หรืออาจมากกวานั้น เกมประเภทนี้ทไี่ ดรับ
ความนิยมไดแ ก The House of the Dead, Time Crisis และ Virtua Cop เปนตน

Touch Arcade คือเกมอาเขตทใี่ ชการสมั ผสั หนาจอในการเลน ซ่ืงมี
ชนิดหนาจอแบบ LCD หรอื อินฟราเรด เชน KOT (King of touch) DJ Max technika1, DJ Max
technika2 (อยูใ นชวงทดสอบในประเทศเกาหล)ี

9.เกมตอสู (Fighting Game) คอื เกมท่เี ปนลักษณะเอาตวั ละครสองตวั ขน้ึ ไป
มาตอ สูกนั เอง ลักษณะเกมประเภทนีจ้ ะเนน ใหผ เู ลนใชจ ังหวะและความแมน ยาํ กดทาโจมตตี างๆ ออกมา
จดุ สาํ คญั ทส่ี ดุ ในเกมตอสูคอื การตอ สูต องถูกแบงออกเปนยกๆ และจะมเี พยี งผูเ ลนเพียงสองฝา ยเทา นั้น
และตวั ละครทใ่ี ชจ ะตองมคี วามสามารถทต่ี า งกันออกไป เกมประเภทนีท้ ไี่ ดรับความนิยมไดแ ก เทคเคน,
สตรีทไฟทเตอร, เดอะคงิ ออฟไฟทเ ตอรส

10.ปารต เ้ี กม (Party Game) คือเกมทม่ี กี ารบรรจเุ กมยอยๆ มากมายเอาไว
โดยในแตล ะเกมยอยจะมีกฎและกตกิ าทตี่ างกันออกไป โดยผเู ลนจะตองเขาไปเลน ในเกมยอยนั้นๆ และ
หาทางแขงขนั กับผเู ลนอน่ื ๆ ใหช นะ (ทัง้ คอมพวิ เตอรและผูเ ลนทเี่ ปนมนษุ ยดว ยกนั เอง) จดุ ขายของ
ปารต ี้เกมคอื การเลน เปนหมูคณะ ซง่ึ จะสรา งความบนั เทงิ ไดม ากกวาการเลน คนเดยี ว เกมประเภทนที้ ่ี
ไดรับความนยิ มไดแก Mario Party

11.เกมดนตรี (Music Game) คือเกมทผี่ ูเลน ตอ งใชเ สยี งเพลงในการเลน ดา น
ตางๆใหช นะ ซงึ่ ผเู ลน จะตองกดปมุ ใหถ กู ตอ งหรอื ตรงจังหวะหรือตรงตําแหนง โดยใชเ สยี งเพลงเปนตัว
บอกเวลาที่จะตองกด เกมประเภทนท้ี ไ่ี ดรบั ความนยิ มไดแ ก Pop n' Music, โอท ส! ทาทาคาเอะ! โอเอน
ดนั แตใ นขณะเดยี วกนั บางเพลงผเู ลนจะตองใชอุปกรณเ สรมิ ซง่ึ บางชิน้ ก็เลยี นแบบมาจากของจริงเชน
แดนซแดนซเรโวลูชัน (แผน เตน ) , Guitar Hero (กตี าร) , Karaoke Revolution (ไมโครโฟน) , Rock
Band (กลองชุด, กีตาร, ไมโครโฟน)

12.เกมเพื่อการศึกษา (Game for Education) คือสง เสรมิ ในเรอื่ งของ
ทางดา นการศึกษา โดยอาจนําเนื้อหาท่ีมีตามบทเรียนนํามาสรา งเปน เกมหรืออาจจะนําเนือ้ หาสาระ
ตางๆทีน่ อกเหนอื จากตําราเรียนนาํ มาประยุกตใ ช ซงึ่ ชว ยใหผูเรียนเกดิ แรงกระตนุ ในการเรียนรู ซ่ึงสงผล
ใหผ ูเรยี นเกดิ การพฒั นาหลายๆดาน ทั้งการเรยี น สงั คม ฯลฯ เชน Eternal Story (เกมตอ สู)

13.เกมออนไลน (Online Game) คอื เกมทีเ่ ปน ลกั ษณะทีม่ ผี ูเลนหลายคน
ผานระบบอนิ เทอรเนต็ โดยท่ีจะมตี ัวละครเลนแทนตัวเรา มีการพูดคยุ กนั ในเกม สรางสงั คมชวยกันตอสู
เกบ็ ประสบการณ หรือ โดยเกมออนไลนสวนมากจะเปนเกมประเภท MMORPG ซึ่งผเู ลน แตละคนจะ
สวมบทบาทเปน ตัวละครตัวหนง่ึ ในโลก สรา งสังคมออนไลน ในเกมสามารถสรางหองขึ้นมาเพ่อื พูดคยุ
แลกเปล่ียน มกี ารสง ขอความถงึ กนั ไดใ นเกม เกมออนไลน เกมแรกทเ่ี ปด ใหบ ริการในประเทศไทยคอื เกม
King of Kings

3.2.3.องคป ระกอบของเกมทีด่ ี
1.Goal (จดุ หมาย) ส่งิ ทีบ่ ง บอกถงึ จุดสนิ้ สุดของการเลน ที่ผเู ลน ตอ งไปใหถ งึ

ซ่ึงจะเปน สิ่งทคี่ อยกระตุนและทาทายผเู ลนใหร ูสึกอยากเลน
2. Decisions (การตดั สินใจ) กระบวนการทีท่ าํ ใหผูเลนไดใ ชค วามคิดในการ

วเิ คราะหทางเลอื กสาํ หรับแกไ ขปญหาที่เกิดขึน้ ในระหวางการเลน
3. Balance (ความสมดุล) การใหค วามสําคญั ถึงความเหมาะระหวาง

องคประกอบของเกม ซ่ึงมสี วนชวยสนบั สนนุ ใหเกมทสี่ รา งนั้นมีความนาสนใจมากขึ้น
4. Reward (รางวลั ) หลังจากที่ผเู ลน ใชร ะยะเวลาชว งหนงึ่ ในการพยายามฟน

ผา อุปสรรคตา งๆ ของเกม การใหรางวัลถอื เปน สิ่งทีส่ าํ คัญมากทท่ี าํ ใหผ ูเลน รสู ึกวาประสบความสาํ เร็จกบั
ความพยายามท่ไี ดท าํ ไป และอยากทจี่ ะเผชิญกบั ความทา ทายอืน่ ๆ

5. Challenges (ความทาทาย) ความทาทายเปน สง่ิ ทจ่ี ะทาํ ใหเ กมเกดิ ความ
นา สนใจ ความนา ตดิ ตาม และความสนุก เนอ่ื งจากทาํ ใหผูเลน ไดใ ชค วามรู ความคิด หรอื ทักษะอน่ื ๆ ใน
การแกไขปญ หาท่ีกําลังเผชิญในเกม ทําใหผ เู ลนรสู กึ ภูมใิ จในตวั เองเม่ือสามารถเอาชนะความทา ทาย
เหลาน้ันไดเ กม เปน ลักษณะของกิจกรรมของมนุษยเ พือ่ ประโยชนอ ยางใดอยา งหนง่ึ เชน เพ่อื ความ
สนกุ สนานบันเทิง เพอื่ ฝก ทกั ษะ และเพอ่ื การเรยี นรู เปน ตน และในบางครงั้ อาจใชเ พื่อประโยชนทาง
การศึกษาได เกมประกอบดว ยเปาหมาย กฎเกณฑ การแขงขันและปฏิสมั พนั ธ เกมมักจะเปนการแขง ขนั
ทางจิตใจหรือดานรางกาย หรอื ทั้งสองอยางรวมกัน ซ่ึงสง ผลใหเ กดิ พฒั นาการของทกั ษะ ใชเ ปน รูปแบบ
ของการออกกําลงั กาย หรอื การศึกษา บทบาทสมมุติและจติ ศาสตร เปนตน

3.2.4. ประโยชนของเกม
1. ทางดา นรางกาย สรางเสริมทกั ษะการเคลือ่ นไหวท่จี ําเปน ตอ

ชวี ิตประจําวนั เปนการพัฒนาทกั ษะเบือ้ งตน เพือ่ การฝก กจิ กรรมตาง ๆ ไดอ อกกําลงั กายอยางถกู วธิ ี
และมีการสงเสรมิ สมรรถภาพทางกาย มผี ลตอ การพฒั นาระบบอวัยวะสวนตาง ๆ ของรา งกายใหท ํางาน
อยางมปี ระสิทธภิ าพ ไดพ ัฒนาสมองในการทจ่ี ะควบคุมสว นตาง ๆ ของรางกาย เพอ่ื ใหเกิดการ
เคลื่อนไหวและตอบสนองในสภาพการณตาง ๆ พัฒนาความคลองแคลว ในการเคลอ่ื นไหวของรา งกาย
พัฒนากลไกการเคล่ือนไหวของรางกายใหเ กิดทักษะ และเคลื่อนไหวอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ และสงเสรมิ
ทกั ษะพิเศษเฉพาะบคุ คลเพอ่ื เปน การนาํ ไปใชใ นการฝก กจิ กรรมหรือการเลน กีฬาตาง ๆ

2. ทางดา นจิตใจ ไดร บั ความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ และผอนคลาย
ความเครยี ด เกิดทัศนคติท่ีดใี นการเลน หรอื สามารถหากิจกรรมท่เี หมาะสมใหก บั ตนเองและผอู นื่
สงเสริมและสรา งเสริมคณุ ธรรม คติธรรม และความมีจติ ใจเอ้ือเฟอ เผ่อื แผ ชว ยใหม อี ารมณร า เรงิ สดช่ืน
แจม ใส มจี ติ ใจเปนนกั ประชาธปิ ไตย ยอมรับในความสามารถ และความคิดเห็นของผอู ื่นในขณะ
เดยี วกนั ก็กลา ที่จะแสดงความคิดเหน็ ตอผูอ ่นื

3. ทางดา นสังคม เกดิ มนุษยส มั พันธท ี่ดี และเขากบั หมูคณะได ฝกการเปน
ผูนําตามทด่ี ี และเกดิ การยอมรบั ซงึ่ กนั และกนั ยอมรบั สภาพความแตกตา งระหวา งบุคคล มคี วามกลา
แสดงออกอยา งเปดเผย เขา รวมกิจกรรมกลมุ ไดอยางสงาผาเผย และสามารถปรบั ตวั เขากลุมสงั คมได
อยางมีความสขุ

4. ทางดานอารมณ อารมณท แี่ จม ใส รา เริง มีความเชอื่ มั่นในตวั เองรูจักการ
เสยี สละ ใหอภยั และไมถ ือโกรธ

3.2.5. โทษของเกม
1. ทาํ ใหเสียเวลาไปโดยสูญเปลา
2. ไมม ีเวลาใหค นรอบขาง
3. ทําใหส ายตาเสยี
4. ไมไดออกไปพบปะสังคมกบั ผูอ่นื
5. ทําใหเ สยี การเรียนได

3.3.คาํ ศพั ท
3.3.1.ความหมายของคาํ ศพั ท
คาํ ศัพทตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง กลมุ

เสยี ง เสียงพูด หรือลายลกั ษณอ กั ษรทเี่ ขียนหรอื พิมพข ้นึ เพื่อแสดงความคดิ เปน คําหรอื คํายากทตี่ องแปล
(พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน, 2540)

ศธิ ร แสงธนู และ คิด พงษทตั , (2541) ไดกลาวสรปุ วา คําศัพทค อื กลมุ เสยี ง
กลมุ หนึ่ง ซง่ึ มคี วามหมายใหร วู าเปนคน ส่ิงของ อาการ หรือ ลักษณะอาการอยางใดอยางหนึง่ คาํ ศพั ท
เปนสวนหน่ึงของภาษา

สมพร วราวทิ ยศรี, (2539) คําศพั ท คอื กลมุ เสยี งท่มี คี วามหมาย แบงออกได
เปนหลายประเภทขน้ึ อยกู ับหลักเกณฑท แ่ี ตกตา งกนั ไป เชน แบง ตามรูปคําหรอื แบงตามลักษณะการ
นาํ ไปใชเปน ตน

ฟรายส (Fries. 1972 ,อางถึงใน ดวงกมล คาํ เอี่ยม.2540) กลาวถึง
ความหมายของคําศพั ทว า หมาถึง คาํ ทมี่ กี ารประสมเสยี ง ซึ่งนํามาใชเปน ส่งิ เรา ใหนึกถงึ ประสบการณ
ที่เคยผานมาประสบการณทถี่ ูกกระตุนจากการประสบเสยี งน้ัน จะมีความหมายตา งกันหลายอยา งแต
จะมีเพยี งประสบการณเดยี วท่เี ดน กวาทใี่ ชรวมกันแบงถึงสถานการณใ ดสถานการณหนง่ึ ดงั น้ันคาํ ๆหนึง่
อาจมหี ลายความหมาย ซ่งึ ขอ ความท่อี า นจะประกอบดว ยความหมายอยางนอย 3 ประการคอื

1.Lexical Meaning คือ ความหมายตามตวั หนังสือเฉพาะคํา
2.Structural Meaning คอื ความหมายตามโครงสรา ง
3.Conextual Meaning คอื ความหมายตาขอความที่ใช
สรุป ความหมายของคาํ ศพั ทไ ดวา หมายถงึ การประสมเสียงใหเปนรปู คํา เพื่อสอื่ ความหมาย
ใหรูวา เปน คน สัตว ส่งิ ของ หรือลกั ษณะอาการอยางใดอยา งหน่งึ โดยคาํ หนงึ่ ๆอาจมีหลาย
ความหมาย เชน ความหมายตามพจนานกุ รม ความหมายตามโครงสรา งภาษา ความหมายตาม
ขอ ความท่ใี ช
3.3.2.ความสาํ คัญของคาํ ศพั ท
ความรใู นดา นคาํ ศัพทถ อื วา เปนสว นท่ีสําคญั ในการเรียนภาษา ฟรีส (สมใจ
หอมสวุ รรณา2544: 39): ฟรายสอา งองิ จาก: 1984) กลา วไววาความสําเรจ็ ในการเรียนาษาตางประเทศ
สว นหนงึ่ นนั้ ข้ึนอยกู ับความสามารถในการใชองคป ระกอบของภาษาซึ่งประกอบดวยเสียงโครงสราง
ไวยากรณแ ละคาํ ศพั ทอ งคป ระกอบทั้ง 3 อยา งนี้ คือสามารถใชส อ่ื สารความหมายไดค ําศพั ทจ งึ ถอื วา เปน
พื้นฐานของการเรียนภาษา
สตีวคิ (Stewick 8 เมษายนพ.ศ. 2515:2) กลาววาผูเรยี นไดเ รียน
ภาษาตา งประเทศตอ เมอื่

1. ไดเ รียนรใู นระบบเสยี งคือสามารถพูดไดดีและสามารถเขาใจไดด ี
2. ไดเรยี นรูและสามารถใชไ วยากรณของภาษานัน้ ๆ ได
3. ไดเ รียนรคู ําศัพทจ ํานวนมากพอสมควรทจี่ ะสามารถนาํ มาใช
กาเดสซ่ี (Ghadessy. 1979: 24) ใหค วามเหน็ วา การสอนคําศพั ทมี
ความสําคญั ย่งิ กวาการสอนโครงสรา งทางไวยากรณเพราะคาํ ศพั ทเปนพื้นฐานของการเรยี นภาษาหาก
ผเู รยี นมคี วามรูเ กย่ี วกบั คาํ ศพั ทก ส็ ามารถจะนําคาํ ศัพทม าสรางเปนหนว ยทใ่ี หญข น้ึ เชน วลี ประโยค
ความเรยี ง แตห ากไมเขา ใจคาํ ศพั ทก ็ไมส ามารถเขาใจหนว ยทางภาษาท่ใี หญก วาไดเลย
วรรณพรศิลาขาว (2538: 18) ทีใ่ หค วามเห็นวาคาํ ศัพทเปน หนวยพ้ืนฐานทาง
ภาษาซ่ึงผูเ รียนจะตองเรียนรูเ ปนอันดับแรกเพราะคําศพั ทเ ปน องคป ระกอบทส่ี าํ คญั ในการเรียนรแู ละ
ฝก ฝนทักษะการฟงพดู อานและเขยี นภาษา
รสั เซล (Russell อางถึงใน ทัศนยี  พนั ธโ ยธาชาติ. 2534 ) ไดก ลาวถงึ
ความสําคญั ของคําศพั ทวา คําศพั ทเปนรากฐานของการเรยี นวชิ าตา งๆ เดก็ จะอาน พูด เขียน หรอื
แสดงความคดิ เหน็ ไดตอ งเขาใจคาํ ศัพทจ ึงจะเรียนรูเร่ืองอ่ืนๆได
เอลเลน และวอลเลท(Allen & Vallette.1977 ) กลา วถึงความสาํ คัญของ
คําศัพทว า การรคู วามหมายของคําศพั ทจะทําใหเ กดิ ความม่นั ใจในการใชภ าษา สอื่ ความหมายใน
สถานการณต า งๆ
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2547) ไดก ลา วถงึ ความสําคัญของ
คําศัพทภาษาองั กฤษวา การรคู าํ ศพั ทจ ะชวยใหน ักเรยี นเขา ใจความหมายของคาํ สามารถเรียงลําดับ
อกั ษรไดถูกตอง กลา พดู อา น และเขยี นเปนประโยชนอ ยางมน่ั ใจ
3.3.3.องคประกอบของคาํ ศัพทภาษาอังกฤษ
ในการศกึ ษาองคประกอบคาํ ศัพทภ าษาอังกฤษนั้นเปน ส่งิ ทท่ี าํ ใหน ักเรยี น
เขา ใจคาํ ศพั ทค ําหน่ึงๆ วา ประกอบดว ยอะไรบาง ธนสิทธศ์ิ รีรตั น. (2543:11 อา งอิงจากอุทยั ภริ มยรน่ื
และเพญ็ ศรรี งั ตกิ ุล ไป:58) ไดก ลาวถงึ องคประกอบของคําศพั ทภ าษาองั กฤษดงั นี้
1. รูปคาํ (แบบฟอรม) ไดแ กตวั อักษร (ตวั ใหญห รอื ตวั เล็ก) การไดย นิ
การรจู ักคําและจาํ จงั หวะของเสียงในประโยค
2. ความหมาย (ความหมาย) ไดแ กค วามหมายของคาํ นน้ั ๆ ซึง่ หาก
จะกลาวโดยละเอียดแลว คาํ ศพั ทหนง่ึ ๆ จะมีความหมายแฝงอยูถงึ 4 นยั ดว ยกนั คือ

2.1 ความหมายตามพจนานุกรม (เกี่ยวกบั คาํ ศัพท
ความหมาย)ไดแกค วามหมายตามพจนานกุ รมสําหรบั ภาษาอังกฤษคาํ หนึ่งๆ มคี วามหมายหลายอยาง
บางคาํ อาจใชในความหมายแตกตางกันทาํ ใหบ างคนเขาใจวาความหมายทีแ่ ตกตา งออกไปหรอื
ความหมายท่ตี นไมค อ ยรูจักนน้ั เปน "สาํ นวน" ของภาษาเชน

He went to his house. (บา นเปน ท่ีอยูอาศัย)
2.2 ความหมายทางไวยากรณ (ความหมายของ) คําศพั ท
ประเภทนีเ้ มื่ออยตู ามลําพังโดดๆ จะเดาความหมายไดย ากเชน "s" เมือ่ ไปตอ ทา ยคํานามหมวก ปากกา
จะแสดงความหมายเปนพหพู จนหรอื เมือ่ นาํ ไปตอ ทายคํากรยิ า เชน เดนิ ในประโยคเธอเดนิ หนาแรก ก็
จะหมายความวาการกระทํานั้นทาํ อยเู ปน ประจาํ เปนตน

2.3 ความหมายจากการเรียงคํา (ความหมายทาง
ไวยากรณ) ไดแ กความหมายท่เี ปล่ยี นแปลงไปตามการเรียงลาํ ดับคําเชน โบท หมายถึงอเู รือแตกตา งจาก
บา นเรอื หมายถงึ เรือทที่ าํ เปน บา น

2.4 ความหมายตามเสียงขนึ้ ลง (ความหมาย
Intonational) ไดแก ความหมายของคาํ ที่เปล่ยี นไปตามเสียงขน้ึ ลงท่ผี ูพ ดู เปลงออกมาไมว า จะเปน
เสียงที่มพี ยางคเดยี วหรอื มากกวาเชนไฟด่ืมด่ําไฟคําแรกเปน การบอกเลา ท่อี าจทําใหผ ฟู งตกใจมากหรือ
นอ ย เปนเชงิ ไมแ นใจจากผูฟง

3. ขอบเขตของการใชค าํ (กระจาย) จาํ แนกออกเปน
3.1 ขอบเขตทางดานไวยากรณ เชน ในภาษาอังกฤษการ

เรียงลําดบั คํา (คาํ สัง่ ) หรือตําแหนงของคําทีอ่ ยใู นประโยคทแ่ี ตกตางกนั ทาํ ใหคํานน้ั มีความหมาย
แตกตางกันออกไปดว ยดงั ประโยคตอไปนี้

This man is brave. (คํานาม) แปลวา คนผชู าย
They man the ship. (คาํ กริยา) แปลวา เรือ
3.2 ขอบเขตของภาษาพูดและภาษาเขยี น คาํ บางคาํ ใชใ นภาษาพูด
เทา นั้นแตคาํ บางคํากใ็ ชภาษาเขียนโดยเฉพาะ
3.3 ขอบเขตของภาษาในแตละทองถน่ิ การใชค าํ ศพั ทบ างคาํ มี
ความหมายแตกตางไปแตละทอ งถิ่นและแมแ ตภายในประเทศเดียวกนั ก็ยังมีภาษาทองถิ่นทแ่ี ตกตา งกัน
กลา วสรุปองคป ระกอบของคําศพั ทภาษาอังกฤษมี 3 ประการคอื รูปคาํ ความหมายและขอบเขต
ของการใชค าํ ในดา นของความหมายนอกจากจะมีความหมายตามพจนานุกรมแลวยังมีความหมายทาง
ไวยากรณความหมายของการเรยี งคาํ
3.3.4.ประเภทของคาํ ศัพทภ าษาองั กฤษ
ประเภทของคําศัพทภ าษาอังกฤษ แบง ไดเปนหลายประเภท เดล (Dale and
et al. 1999 :37-38) ไดแบงคาํ ศพั ทออกเปน 2 ประเภท คือ
1. คาํ ศพั ททมี่ คี วามหมายในตัวเอง (Content Words) คอื คาํ ศพั ท
ประเภทท่เี ราอาจบอกความหมายไดโ ดยไมข ้ึนอยูก บั โครงสรา งของประโยค เปน คาํ ท่มี คี วามหมายตาม
พจนานกุ รม เชน Dog Box Pen เปน ตน
2. คําศัพทท ไี่ มม ีความหมายแนน อนในตวั เอง (Function Words)
หรอื ทเี่ รยี กวา ระยะไดแ ก คํานาํ หนา (Article) คาํ บุพบท (Preposition) คาํ สรรพนาม (Pronoun) คํา
ประเภทนม้ี ีใชมากกวาคําประเภทอื่น เปนคาํ ทีไ่ มสามารถสอนและบอกความหมายได แตตองอาศัยการ
สังเกตจากการฝกการใชโครงสรา งตา ง ๆ ในประโยค
สไุ ร พงษทองเจริญ (2526 : 14) ไดแบง ประเภทของคําศัพทออกเปน 2
ประเภทคือ
1. Active Vocabulary คือ คําศัพทท น่ี กั เรยี นควรจะใชเปน และ
ใชไดอ ยางถูกตองคาํ ศพั ทเ หลา นใี้ ชมากในการฟง พูด อานและเขยี น เชน Important Necessary และ
Consist เปนตนสําหรบั การเรียนคําศพั ทประเภทนี้ ครูจะตอ งฝกบอย ๆ ซ้ํา ๆ จนนกั เรียนสามารถ
นาํ ไปใชไ ดถ ูกตอง

2. Passive Vocabulary คอื คําศพั ทท ีค่ วรจะสอนใหร แู ต
ความหมายและการออกเสยี งเทานน้ั ไมจาํ เปนจะตอ งฝก คําศพั ทประเภทนี้ เชน Elaborate
Fascination และ Contrastive เปนตน คาํ ศพั ทเหลานเี้ ม่ือผูเ รยี นเรยี นในระดบั สูงข้นึ กอ็ าจจะ
กลายเปน คําศัพทป ระเภทActive Vocabulary ได

นันทิยา แสงสนิ ยังแบงคําศพั ทเปน 4 ชนดิ ไดแ ก
1.Listening Vocabulary หมายถงึ คาํ ศพั ทเ พื่อการฟง เปนคําศพั ท

ท่ใี ชมากกบั เดก็ เล็กยังไมเคยเรียนภาษาองั กฤษมากอ นหรอื เพงิ่ จะเรมิ่ เรยี นในการหดั ฟง พดู อาน และ
เขยี นจงึ เปน คําศพั ทท ่คี อ นขางงา ยใหเหมาะสมกับระดบั อายุ และจะเรมิ่ จากการฟง กอ น

2. Speaking Vocabulary หมายถึง คาํ ศพั ทเพือ่ การพดู เปน
คาํ ศัพทท่ีใชใ นภาษาพดู ซึง่ ตองสัมพนั ธกบั การฟง คาํ ศัพทที่ใชใ นการพดู นน้ั อาจจะพดู แบบเปนทางการ
หรือไมเปน ทางการก็ได แตส่ิงสาํ คัญ คอื ตอ งสื่อความหมายใหเขา ใจ จงึ สามารถแบงคาํ ศัพททีใ่ ชในการ
พดู ออกเปน 3 ชนิด คอื

2.1 คําศพั ทท ่ใี ชภ ายในบานหรือระหวางเพ่ือนฝูง ซึ่งอาจ
เปน คาํ แสลงได

2.2 คาํ ศัพทท ีใ่ ชในการเรียนหรอื การทาํ งานเปน คาํ ศพั ท
เฉพาะสาขาวชิ าทเี่ รียนและอาชีพทที่ ํา

2.3 คาํ ศัพทท ี่ใชในการตดิ ตอ ราชการ หรอื ใชในสังคมใน
ชวี ติ ประจําวัน

3.Reading Vocabulary หมายถงึ คาํ ศพั ทท ใ่ี ชใ นการอา นทน่ี กั เรียน
ตอ งรคู วามหมายเพื่อจะนําไปตคี วามขอความหรือเนื้อเรอ่ื งท่อี าน และจะตอ งจดจําความหมายของ
คาํ ศัพทเหลา นั้นไวดวย ศพั ทที่เรียนกจ็ ะเพิม่ พนู เปนลาํ ดบั

4.Writing Vocabulary หมายถึง คําศัพทเพอ่ื การเขยี น การเขียนถอื
วา เปน ทกั ษะสงู และยากมากในการเรียนภาษา ซง่ึ จะตอ งอาศัยความสามารถในการใชศ พั ท การสะกด
คาํ เครอ่ื งหมายเพอ่ื จะเขยี นหรือถา ยทอดความคิดออกมา ฉะนน้ั คําศัพทท ใี่ ชใ นการเขยี น จงึ ควรเปน
แบบทถ่ี กู ตอ งเปน ทางการ

กลาวสรปุ คอื ประเภทของคําศัพทภ าษาอังกฤษ สมารถแบง ไดจ ากความหมายคาํ คือ
ความหมายในตัวเอง และความหมายมแนน นอนในตัวเอง สามารถแบง ตามประเภท การนาํ มาใช คอื
คําศพั ทท น่ี กั เรยี นควรจะใชเปนและใชไดอ ยางถูกตอ ง และคาํ ศพั ททคี่ วรจะสอนใหร แู ตความหมายและ
การออกเสียงเทานัน้ นอกจากน้ยี ังสามารถแบงออกเปน 4 ชนดิ คือ คาํ ศัพทก ารฟง การพดู การอา น
การเขียน

3.3.5.หลกั การเลอื กคาํ ศัพทภ าษาอังกฤษ
จากงานวิจัยของนนั ทพร คชศิริพงศ (2541 : 79 ) กลา วถงึ การเลอื กคาํ ศพั ท

ภาษาองั กฤษ วาควรเลอื กคาํ ศพั ทท ีเ่ กยี่ วของกบั ประสบการณท ่ีใกลต ัวเด็กท่สี ุดมาสอน หวั ใจของการ
สอนคาํ ศพั ทอยูท่กี ารฝกซ้ําจนผเู รยี นสามารถนําคาํ ศพั ทไปใชใ นสถานการณท ต่ี อ งการไดอ ยาง
คลองแคลว โดยอัตโนมัติแม็คก้ี (Mackey.1997 : 176-190) และศธิ ร แสงธนู (2541 : 13 – 14) ไดให
ความเหน็ เกยี่ วกบั หลักการในการเลือกคาํ ศพั ทมาสอนนักเรียนดังนี้

1. คําศพั ททปี่ รากฎบอย (Frequency) หมายถงึ คาํ ศพั ทท่ีปรากฏ
บอ ยในหนงั สือ เปนคําศพั ทท น่ี ักเรียนตองรูจกั จงึ จําเปนตอ งนํามาสอนเพื่อใหนักเรยี นรูและใชไ ดอยาง
ถูกตอ ง

2. อัตราความถขี่ องคาํ ศพั ทจากหนงั สือตา ง ๆ สูง (Range) หมายถึง
จาํ นวนหนงั สอื ทน่ี าํ มาใชในการนับความถี่ ยง่ิ ใชหนงั สือจาํ นวนมากเทา ไร บญั ชีความถย่ี ่ิงมีคณุ คา มาก
เทานั้น เพราะคําที่จะหาไดจ ากหลายแหลง ยอมมคี วามสาํ คัญมากกวาคาํ ที่จะพบเฉพาะในหนงั สือเลมใด
เลม หนึ่งอยางเดยี ว แมวาความถ่ีของคําศัพทท ีพ่ บในหนงั สอื เลมนัน้ ๆ จะมมี ากกต็ าม

3. สถานการณห รอื สภาวะในขณะนน้ั (Availability) คําศพั ทท ีเ่ ลือก
มาใชไ มไ ดข นึ้ อยกู ับความถ่เี พยี งอยางเดียว ตองพิจารณาถึงสถานการณด ว ย เชน คาํ วา blackboard ถา
เก่ียวกบั หอ งเรียนครูตอ งใชคําน้ี แมจ ะเปนคําท่ีไมป รากฏบอ ยท่ีอ่ืน

4. คาํ ท่ีครอบคลมุ คําไดห ลายอยา ง (Coverage) หมายถึง คาํ ที่
สามารถครอบคลุมความหมายไดหลายอยา งหรอื สามารถใชค าํ อ่ืนแทนได

5. คาํ ทเ่ี รยี นรูไดง า ย (Leamability) หมายถงึ คาํ ท่สี ามารถเรียนรไู ด
งา ย เชน คําท่คี ลา ยกับภาษาเดมิ มคี วามหมายชดั เจนสั้นจาํ งา ย

หลักการดังกลา วสอดคลอ งกับ ลาโด (Lado. 1996 : 119 – 120) เปน สวน
ใหญ เวน บางขอทลี่ าโดไดเ สนอเพมิ่ เตมิ ไวด งั นี้

1. ควรเปน คาํ ศพั ททีม่ คี วามสมั พนั ธก บั ประสบการณและความสนใจ
ของผเู รยี น

2. ควรมปี ริมาณของตัวอักษรในคาํ ศพั ทเหมาะสมกบั ระดับอายุ และ
สติปญัญาของผเู รยี น เชน ในระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน ก็ควรนําคาํ ศัพทส นั  ๆ มาสอน

3. ไมค วรมคี ําศพั ทม ากเกินไปหรอื นอยเกินไปในบทเรียนหนึ่ง ๆ แต
ควรเหมาะสมกบั วุฒิภาวะทางสติปญญั าของผเู รียน

4. ควรเปนคําศัพทท นี่ กั เรียนมโี อกาสนาํ ไปใชใ นชีวิตประจําวนั เชน
นําไปพูดสนทนาหรอื พบเห็นคาํ ศัพทน ้นั ตามปา ยโฆษณา เปนตน

กลา วสรุป การเลอื กคาํ ศัพทเพ่อื นาํ มาสอนผเู รยี นน้ัน ควรเปนคําศัพทท ีอ่ ยูใกลตวั และเปน
คาํ ศพั ทที่ปรากฏบอย นอกจากนี้คาํ ศัพททจี่ ะนาํ มาสอนนั้นตอ งเหมาะสมกับวยั และระดบั ความสามารถ
ของผูเรียน อีกท้ังยงั สามารถนาํ ไปใชในชวี ิตประจําวันได

3.4 โปรแกรม construct2
3.4.1.โปรแกรม construct2
โปรแกรม Construct 2 สรา งขึน้ โดยบริษัท SCIRRA LTD โดยนกั พฒั นา

โปรแกรมช่ือ Ashley และ Thomas Gullenสองพนี่ อ งชาวองั กฤษ โดยใชชื่อโปรแกรมวา Comstruct
Classic ซง่ึ ถูกออกแบบมาใหใ ชกบั ระบบปฏิบตั ิการ Windows สําหรบั ใชพฒั นาเกม Direct X 9 แลว
Export เปน .exe เพือ่ เลนบน Desktop PC ดว ยแนวโนม เทคโนโลยี HTML 5 จะกอใหเ กิดการ
เปลยี่ นแปลงครง้ั ใหญ ท้งั สองจงึ หันมาพัฒนาโปรแกรมใหมภายใตช ื่อ Construct 2 โดยโปรแกรม
ดงั กลา วโดยใชคอนเซป็ ตท ่ีวา “No programming required” หรือ “เขยี นโปรแกรมไมเ ปน ก็สรา ง
เกมได” Construct 2 เปนโปรแกรมแบบสรา งเกม 2 มติ ิ แสดงผลแบบ WebGLซึง่ สนบั สนนุ หลากหลาย
แพลตฟอรม เมอื่ สรางงานเสร็จสามารถเผยแพรไปยังแพลตฟอรมไดหลากหลาย

โปรแกรม Construct 2 มที งั้ เวอรช นั เสียเงิน และเวอรชันฟรี สาํ หรบั มอื ใหมแคเวอรชันฟรกี ็เพียงพอ
สาํ หรบั การพัฒนาเกม แตห ากจะสรางใหเกิดรายได กต็ องใชเ วอรชน่ั เสียเงิน ขอจํากัดของโปรแกรมนี้
คือสามารถติดตงั้ ไดเ ฉพาะระบบปฎบิ ตั กิ าร Windows เทา นน้ั

3.5. โครงงานคอมพิวเตอร ประเภทพฒั นาเกม
3.5.1 ความหมายโครงงานคอมพิวเตอรป ระเภทพัฒนาเกม
เปนโครงงานพัฒนาซอฟตแ วรเ กมเพอ่ื ความรู และ/หรือ ความเพลดิ เพลิน

เชน เกมหมากรกุ เกมหมากฮอส เกมการคาํ นวณเลข ซึง่ เกมท่ีพฒั นาขึน้ นนี้ า จะเนนใหเปน เกมทีไ่ ม
รุนแรง เนน การใชส มองเพือ่ ฝก คิดอยางมีหลักการ โครงงานประเภทน้ีจะมกี ารออกแบบลักษณะและ
กฎเกณฑการเลน เพื่อใหน า สนใจแกผ ูเ ลน พรอมทง้ั ใหความรูส อดแทรกไปดวย ผพู ัฒนาควรจะไดทาํ การ
สํารวจและรวบรวมขอ มูลเกยี่ วกบั เกมตา ง ๆ ทมี่ ีอยูทวั่ ไปและนาํ มาปรบั ปรงุ หรือพฒั นาขึ้นใหมเพือ่ ให
เปน เกมท่แี ปลกใหม และนาสนใจแกผ ูเ ลนกลมุ ตา ง ๆ

3.6.ทฤษฎีเกย่ี วกับความพึงพอใจ
3.6.1.ความหมายของความพงึ พอใจ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ สถาน (2542) ไดใ หความหมายของความพึง

พอใจไววา พงึ พอใจ หมายถงึ รัก ชอบใจ และพึงใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ
ดเิ รก (2528) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถงึ ทัศนคติทางบวกของบคุ คลท่ี

มีตอ สิง่ ใดส่งิ หน่งึ เปน ความรูสกึ หรอื ทัศนคตทิ ีด่ ตี องานท่ีทําของบุคคลทม่ี ีตองานในทางบวก ความสขุ
ของบุคคลอันเกดิ จากการปฏิบัตงิ านและไดรับผลเปนทพ่ี งึ พอใจ ทําใหบ คุ คลเกิดความกระตือรอื รน มี
ความสขุ ความมุง มัน่ ทจี่ ะทํางาน มขี วัญและมีกําลังใจ มคี วามผกู พนั กับหนวยงาน มคี วามภาคภูมิใจใน
ความสาํ เรจ็ ของงานท่ีทํา และสง่ิ เหลา นี้จะสงผลตอประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลในการทาํ งานสงผลตอ
ถึงความกา วหนา และความสาํ เร็จขององคก ารอีกดว ย

วิรฬุ (2542) กลา ววา ความพึงพอใจเปน ความรูส กึ ภายในจติ ใจของมนษุ ยท ีไ่ ม
เหมอื นกัน ข้ึนอยกู บั แตล ะบคุ คลวาจะมคี วามคาดหมายกบั สิง่ หน่งึ สงิ่ ใดอยา งไร ถาคาดหวังหรือมีความ
ตง้ั ใจมากและไดร บั การตอบสนองดว ยดีจะมีความพงึ พอใจมากแตในทางตรงกนั ขามอาจผิดหวังหรอื ไม
พงึ พอใจเปนอยางยง่ิ เมอื่ ไมไดร ับการตอบสนองตามทค่ี าดหวงั ไวทง้ั นขี้ ึ้นอยูกับสิง่ ที่ต้ังใจไวว า จะมมี าก
หรือนอ ยสอดคลอ งกบั

ฉัตรชยั (2535) กลา ววา ความพงึ พอใจหมายถึงความรูสึกหรือทศั นคตขิ อง
บุคคลท่มี ีตอ สงิ่ หนงึ่ หรอื ปจ จยั ตา งๆทีเ่ ก่ียวขอ ง ความรูสึกพอใจจะเกดิ ขึ้นเมือ่ ความตอ งการของบคุ คล
ไดร ับการตอบสนองหรอื บรรลุจุดมงุ หมายในระดบั หน่งึ ความรูสกึ ดงั กลาวจะลดลงหรอื ไมเ กดิ ขึ้น หาก
ความตอ งการหรอื จุดมุง หมายนนั้ ไมไ ดรับการตอบสนอง

พทิ กั ษ (2538) กลา ววา ความพงึ พอใจเปน ปฏกิ ิริยาดา นความรูสึกตอ สิง่ เรา
หรอื สง่ิ กระตนุ ทแ่ี สดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธสุดทายของกระบวนการประเมนิ โดยบง บอก
ทิศทางของผลการประเมนิ วา เปนไปในลกั ษณะทิศทางบวกหรือทิศทางลบหรือไมมีปฏิกริ ิยาคือเฉยๆ ตอ
สง่ิ เรา หรือส่ิงท่มี ากระตุน

กลา วสรปุ ไดวา ความพงึ พอใจ หมายถึง ความพอใจ ความรูส ึกทีด่ หี รอื ทศั นคตทิ ่ดี ีของบคุ คล ซ่ึง
มที ั้งความรูสึกทางดานบวกและดานลบมกั เกิดจากการไดรับการตอบสนองตามทีต่ นตองการตอ สิง่ นน้ั

ซ่งึ เปน ความรูสกึ ภายในจิตใจของมนษุ ยทีไ่ มเหมอื นกนั ขนึ้ อยูกบั แตละบุคคลวา จะมีความคาดหมายกับ
สง่ิ หน่ึงสิ่งใดอยางไร
3.6.2.การวัดระดับความพงึ พอใจ
ความพึงพอใจจะเกดิ ขน้ึ หรอื ไม ข้นึ อยกู ับการใหบ รกิ ารขององคก รประกอบ
กับระดบั ความรูสกึ ของผูมารบั บริการในมิตติ างๆของแตละบุคคล ดงั นน้ั การวดั ระดบั ความพงึ พอใจ
สามารถกระทาํ ไดห ลายวธิ ีตอไปนี้
1. การใชแบบสอบถาม ซง่ึ เปน วิธที นี่ ิยมใชก นั อยา งแพรห ลาย โยการ
ขอความรวมมือจากกลมุ บุคคลท่ีตอ งการวดั แสดงความคดิ เหน็ ลงในแบบฟอรม ที่กําหนด
2. การสมั ภาษณ ตองอาศัยเทคนคิ และความชํานาญพเิ ศษของผู
สมั ภาษณทจี่ ะจูงใจใหผตู อบคาํ ถามตอบตามขอ เทจ็ จรงิ
3. การสังเกต เปนการสังเกตพฤติกรรมทงั้ กอนการรบั บริการ ขณะ
รบั บริการและหลงั การรับบรกิ าร การวดั โดยวิธีนจ้ี ะตอ งกระทําอยางจรงิ จงั และมีแบบแผนทีแ่ นนอนจะ
เห็นไดว า การวัดความพงึ พอใจตอ การใหบรกิ ารนน้ั สามารถกระทําไดหลายวธิ ี ขึ้นอยกู บั ความสะดวก
เหมาะสม ตลอดจนจุดมงุ หมายของการวัดดว ย จงึ จะสงผลใหก ารวดั นน้ั มีประสทิ ธิภาพและนาเชอ่ื ถือได
เกณฑก ารวดั ระดบั ความพงึ พอใจ 5 ระดับ
ระดบั ความพงึ พอใจ แบง ระดับและเกณฑก ารใหค ะแนนเพ่ือใชในการเปรียบเทยี บดงั นี้
พอใจมากท่สี ุด ให 5 คะแนน
พอใจมาก ให 4 คะแนน
พอใจพอสมควร ให 3 คะแนน
พอใจนอย ให 2 คะแนน
พอใจนอยมากให 1 คะแนน
ระดับของปญหาแบง ระดบั และเกณฑก ารใหคะแนนเพอ่ื ใชในการเปรียบเทียบดงั นี้
เปน ปญ หามากทส่ี ดุ ให 5 คะแนน
เปน ปญหามาก ให 4 คะแนน
เปน ปญ หาพอสมควร ให 3 คะแนน
เปน ปญ หานอ ยมาก ให 2 คะแนน
ไมเ ปน ปญ หาเลย ให 1 คะแนน
จากการศึกษาทฤษฎีความพึงพอใจของแตล ะบุคคลจะเหน็ ไดว ามีความสมั พันธแ ละใกลเคยี งกัน
การวัดระดับความพงึ พอใจสามารถทาํ ไดโ ดย การใชแ บบสอบถาม การสมั ภาษณ การสังเกต โดย
เกณฑการวัดระดับความพึงพอใจมี 5 ระดบั
เกณฑก ารวัดระดบั ความพึงพอใจ 5 ระดบั
3.7. งานวจิ ัยที่เก่ียวขอ ง
กฤตชญา พวงแกว ทาํ โครงงาน เกมผจญภัยไปกับคาศพั ทจ ัดทาข้นึ ในรปู แบบเกมซ่ึง
จะเปน เกมสอ่ื การเรียนการสอนวชิ าภาษาอังกฤษสาหรบั เดก็ ในชวงอายุ 5-8 ป วตั ถปุ ระสงคส รางเกม
คาํ ศัพทภ าษาองั กฤษน้ขี น้ึ มาเพื่อทีจ่ ะใหเ ดก็ ๆสนใจไปกับเกมในแตละระดับจะมลี กั ษณะการเลน และ
บทเรยี นท่แี ตกตางกนั ออกไปพรอมทงั้ มีการบันทึกคะแนนแตละระดบั ทาํ ใหเดก็ ไมร สู ึกเบอื่ และยงั ทาให

จําคาํ ศพั ทใ นเกมไดอีกดว ยซึ่งคําศพั ทในเกมนน้ั ลวนแตเ ปนคําศพั ทท ่สี ามารถพบเหน็ ไดท ั่วไปใน
ชีวิตประจําวนั

สาํ เนา ศรปี ระมงค ทํางานวิจัยการศกึ ษาผลการใชเ กมคําศพั ทป ระกอบการสอนทม่ี ตี อ
ความคงทนในการเรียนรูค ําศพั ท ภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ
ระยอง ผลการศึกษาพบวา

1. การใชเกมคาํ ศัพทภาษาอังกฤษเขา มาประกอบการสอนชวยใหน ักเรียนมี
ความคงทนในการเรียนรูค าํ ศัพทภ าษาองั กฤษสงู โดยใช t-test สําหรับกลมุ ตวั อยา งไมอิสระจากกนั
(Dependent Samples)

2. นกั เรียนมีความรสู กึ ชอบในกจิ กรรมเกมคาํ ศพั ทท่ีใชป ระกอบการสอนใน
ระดบั ชอบมากและชอบมากทส่ี ดุ

4. วิธีดําเนนิ งาน

4.1 วัสดอุ ุปกรณ

ลําดบั วัสดุ – อุปกรณ ฮารแ วร ซอฟแว อ่นื ๆ ท่มี าของวัสด-ุ ราคา/
1 คอมพิวเตอร ร อปุ กรณ บาท
-
  ของสมาชกิ ในกลุม

2 ปากกา  ยมื -

3 กระดาษ A4  ซื้อ 80

4 แผน CD 2 แผน ซื้อ 20

5 โปรแกรม Construct --
2

รวม 100

สถานทด่ี าํ เนนิ งาน: โรงเรียนสตรีสิริเกศ จังหวดั ศรสี ะเกษ
4.2 ข้นั ตอนการดําเนนิ งาน

4.2.1. คิดหัวขอ โครงงานเพื่อนาํ เสนอครทู ่ีปรกึ ษา
4.2.1.1ปรึกษาสมาชกิ ในกลมุ เพอ่ื คดั เลือกประเภทของโครงงานทีส่ นใจและ

เลอื กหวั ขอโครงงานท่ีสมาชิกในกลมุ สนใจ
4.2.1.2 นําเสนอหัวขอ โครงงาน เรื่องเกมดินแดนคําศัพทเ ขาวงกตครูทปี่ รกึ ษา

4.2.2. ศกึ ษาและคนควาขอ มลู ทเี่ กยี่ วขอ งกับการจัดทาํ โครงงานเรอ่ื ง
4.2.2.1 ศกึ ษาประเภทของเกม

4.2.2.2 ศึกษาคาํ ศัพทท ่ีใชในการสรางเกม
4.2.2.3 ศกึ ษาขอมูลของโปรแกรมทใ่ี ชใ นการสรา งเกม
4.2.2.4ศกึ ษาขอ มูลการสรา งเกมจากโปรแกรม construct2
4.2.2.5 ศึกษาโครงงานคอมพวิ เตอรป ระเภทพฒั นาเกม
4.2.2.6 ศึกษาทฤษฎคี วามพึงพอใจ
4.2.3. วางแผนการจดั ทาํ ชน้ิ ทาํ งาน และจดั หาเนื้อหาสําหรบั การสรางเกมคําศพั ทเ ขา
วงกต
4.2.3.1 จดั ทาํ เน้อื หาเกม
4.2.3.2 จดั ทาํ เน้ือหาคาํ ศัพท
4.2.3.3 จัดเน้ือหาโปรแกรมทีใ่ ชใ นการสรางเกม
4.2.4. ศกึ ษาการสรา งเกม
4.2.4.1.ศกึ ษาการสรา งเกมจาก youtube
4.2.4.2. ศึกษาการสรา งเกมจาก page Facebook
4.2.4.3.ศึกษาการสรางเกมจาก เว็บไซต
4.2.5.จัดทําเคา โครงขอ เสนอโครงงาน โดย
4.2.5.1.จัดทาํ แนวคิดทม่ี าและความสําคัญ
4.2.5.2.จดั ทาํ วัตถปุ ระสงค

4.2.5.2.1.เพอ่ื สรางเกมดนิ แดนคาํ ศพั ทเขาวงกต
4.2.5.2.2.เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจตอเกมดินแดนคาํ ศัพทเขาวงกต
4.2.5.3. จัดทําหลกั การและทฤษฎี
4.2.5.3.1.เกมดินแดนคําศพั ทเ ขาวงกต
4.2.5.3.2.เกมคอมพิวเตอร
4.2.5.3.3.คําศพั ท
4.2.5.3.4.โปรแกรม construct2
4.2.5.3.5.โครงงานคอมพวเตอรประเภทพัฒนาเกม
4.2.5.3.6.ทฤษฎีความพึงพอใจ
4.2.5.3.7.งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วของ
4.2.5.4. จดั ทาํ วิธกี ารดาํ เนนิ งาน
4.2.5.4.1.วสั ดุอุปกรณ
4.2.5.4.2.ขน้ั ตอนในการดําเนินงาน
4.2.5.5. จัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิงาน
4.2.5.5.1 นําขน้ั ตอนในการดาํ เนินงานมาทําเปน ตรางระบุบ
ระยะเวลาชดั เจน
4.2.5.6. จดั ทาํ ผลทคี่ าดวา จะไดร ับ

4.2.5.6.1.ไดเ กมดนิ แดนคาํ ศพั ทเ ขาวงกต
4.2.5.6.2.ไดเ กมทม่ี คี วามพงึ พอใจในระดับดี
4.2.5.7. จัดทาํ บรรณานุกรม

4.2.6. นําเสนอขอเสนอโครงงานตอครูท่ีปรึกษาครูโสภา พิเชฐโสภณ ประเมินดาน
รูปแบบเอกสารในการจดั ทาํ โครงงานประเมินวันท่ี 29 กรกฎาคม 2561

4.2.6.1.แกไ ขขอผิดพลาดขอ เสนอโครงงาน
4.2.7.จัดทาํ เกมดินแดนคําศพั ทเขาวงกต จากโปรแกรม Construct 2

4.2.7.1 สรา งเกมสดนิ แดนคาํ ศัพทเ ขาวงกต ดังน้ี
4.2.7.1.1 ออกแบบบเน้อื หาและการดําเนนิ ไปของเกมส
4.2.7.1.2 จัดทํา Story broad
4.2.7.1.3 จดั ทําเกมตาม Story broad ทเ่ี ขียนไว

4.2.7.2 จัดทําคูม อื การเลน เกมสด นิ แดนคาํ ศัพทเขาวงกต
4.2.7.3 นําเสนอเกมดนิ แดนคําศัพทเขาวงกตตอครทู ปี่ รึกษาครโู สภา พเิ ชฐ
โสภณ ประเมนิ ดดน การดาํ เนนิ เรือ่ ง เทคนคิ ในการนาํ เสนอ องคป ระกอบของเกมดนิ แดนคาํ ศพั ทเ ขา
วงกต ประเมินวันที่ 10 สิงหาคม 2561
4.2.7.4.แกไ ขขอ ผิดพลาดของเกมดนิ แดนคาํ ศัพทเ ขาวงกต ทไี่ ดจ ากการ
ประเมินของครทู ป่ี รึกษา
4.2.7.5. ทดลองใชกบั นกั เรีย โรงเรยี นบา นหนองคํา จาํ นวน 10 คน โดยสุม
นักเรียน วนั ท่ี 12 สิงหาคม 2561
4.2.7.6.แกไ ขขอผดิ พลาดของเกมดนิ แดนคําศัพทเขาวงกต ทไ่ี ดจากการ
ทดลองใชแ บบสมุ นักเรียน
4.2.8.นําเสนอเกมดนิ แดนคําศัพทเขาวงกตตอครูทีป่ รกึ ษาครโู สภา พเิ ชฐโสภณ
และครูเบญจมาภรณ จันทรชติ ประเมนิ ดา นเน้อื หา การดําเนินเรือ่ ง เทคนิคในการนําเสนอ
องคป ระกอบของเกมดินแดนคาํ ศัพทเขาวงกต ประเมินวนั ท่ี 17 สงิ หาคม 2561
4.2.9.ทดลองใชก ับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 6 โรงเรียนบานหนองคํา จํานวน
10 คน วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2561
4.2.10. วดั ความพงึ พอใจทมี่ ีตอเกมดินแดนคาํ ศพั ทเ ขาวงกตโดยแจกแบบวดั ความ
พึงพอใจใหกบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรยี นบานหนองคํา วันท่ี 20 สงิ หาคม 2561
4.2.11.รวบรวมและวเิ คราะหข อ มลู
4.2.11.1 เก็บแบบวดั ความพงึ พอใจท่ีมตี อเกมดนิ แดนคําศัพทเขาวงกต
4.2.11.2.วิเคราะหค วามคงทนของคําศัพท
4.2.12.เขยี นรายงาน
4.2.12.1. สวนนาํ

4.2.12.1.1.สารบัญ
4.2.12.1.2.บทคัดยอ
4.2.12.1.3 กติ ติกรรมประกาศ
4.2.12.2. บทนํา
4.2.12.3.หลกั การและทฤษฎี
4.2.12.4.วิธีการดําเนินงาน
4.2.12.5.ผลการศึกษา

4.2.12.6.สรปุ /อภิปรายผลการดาํ เนินงาน และขอ เสนอแนะ
4.2.12.7.บรรณานุกรม
4.2.12.8.ภาคผนวก
4.2.12.9.ผจู ดั ทาํ
4.2.13.นําเสนอรายงานตอครทู ีป่ รึกษาครโู สภา พเิ ชฐโสภณ วนั ท่ี 7 กนั ยายน 256

4.2.13.1.แกไ ขขอ ผิดพลาดเกยี่ วกับรายงาน
4.2.14.นําเสนอโครงงานคอมพวิ เตอรประเภทพฒั นาเกม เกมดินแดนคาํ ศัพทเ ขา
วงกต
5.แผนปฎบิ ัติงาน

ลาํ ดับ รายการ มิถุนายน กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน
ที่ 1 2 3 4 1 2 3 41 2 3 4 12 3 4
1 คิดหวั ขอ โครงงานเพอื่
นําเสนอครทู ี่ปรึกษา

2 ศกึ ษาและคน ควาขอมลู
ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การจดั ทํา
โครงงานคอมพิวเตอร
ประเภทพฒั นาเกม

3 จัดหาเน้ือหาสาํ หรับการ
สรา งเกมคําศัพทเ ขา
วงกต เนือ้ หาของเกม
เน้อื หาคาํ ศพั ท เนื้อหา
โปรแกรมทส่ี รา งเกม

4 ศกึ ษาการใชโปรมเกม
การสรางเกม ศึกษาจาก
youtube
page Facebook
เว็บไซต

5 จดั ทาํ เคา โครงขอเสนอ
โครงงาน

6 นําเสนอขอเสนอ
โครงงานตอครูทีป่ รกึ ษา
นาํ ขอผิดพลาดมาแกไ ข

ลาํ ดับ รายการ มิถนุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม กนั ยายน
ท่ี 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
7 จัดทาํ เกมดินแดน
คําศพั ทเขาวงกต จาก
โปรแกรม Construct
2 แลว เอานาํ เสนอครูที่
ปรกึ ษา นําขอผิดพลาด
แกไ ข จากนนั้ นาํ เกมมา
ทดลองใชแ บบสมุ แลว
นาํ ขอ ผดิ พลาดแกไ ขอีก
ครั้ง
8 นําเสนอเกมดินแดน
คาํ ศัพทเขาวงกตตอ ครู
ทป่ี รึกษาครูโสภา
พิเชฐโสภณ และ
ครูเบญจมาภรณ
จันทรชิต
9 ทดลองใชกับนกั เรียน
ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 6
โรงเรยี นบา นหนองคาํ
จํานวน 10 คน

10 วดั ความพงึ พอใจทีม่ ตี อ
เกมดนิ แดนคําศัพทเขา
วงกต

11 รวบรวมและวเิ คราะห
ขอ มูล

12 เขยี นรายงาน
13 นาํ เสนอรายงานตอ ครู

ท่ปี รกึ ษาครูโสภา
พิเชฐโสภณ แลวนาํ
ขอผิดพลาดมาแกไ ข
14 นําเสนอโครงงาน
คอมพวิ เตอรประเภท
พัฒนาเกม เกมดินแดน
คาํ ศพั ทเ ขาวงกต

6.ผลท่ีคาดวาจะไดรบั
6.1.ไดเกมดนิ แดนคําศพั ทเขาวงกต
6.2.นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรียนบานหนองคํา มีความพงึ พอใจในตอเกมดินแดน

คําศพั ทเขาวงกตอยใู นระดบั มาก
7.บรรณานกุ รม
คูมือการสรา งเกม.(2556).คมู อื การสรา งเกมดว ยโปรแกรมConstruct2.(ออนไลน).เขา ถงึ ไดจาก :

https://bit.ly/2K6njs1 (วันสบื คนขอ มลู : 25 มิถนุ าย 2561).
ทัศนีย พนั ธโยธาชาติ. (2543).ความสัมพนั ธร ะหวา งความเขา ใจคาํ ศัพทกบั การอา นจับใจความ

ภาษาองั กฤษของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 1. วิทยานิพนธม หาบัณฑติ , เทคโนโลยี
ทางการศกึ ษา. บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
ไพโรจน คะเชนทร. คาํ ศพั ทภ าษาอังกฤษ. (ออนไลน). เขาถงึ ไดจ าก :
http://kachen.esy.es/pdf30/31คาํ ศัพทภ าษาองั กฤษ.pdf. ( วนั ทส่ี ืบคน :23 มถิ นุ ายน
2561).
วรรณวิสาข ศกั ด์พิ มิ ล. (2556) . เทคนคิ การสอนคําศัพท. (ออนไลน). เขา ถงึ ไดจาก
http://teacherjune.blogspot.com/2013/04/blog-post.html. (วนั ที่สบื คน:23
มิถุนายน 2561).
วิกิพิเดีย.(2557).เกมคอมพิวเตอรส วนบคุ คล.(ออนไลน) .เขาถึงไดจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/เกมคอมพวิ เตอรสวนบุคคล. (วันสบื คน ขอ มลู : 24 มถิ นุ าย
2561).
วกิ ิพเิ ดยี .(2557).ประเภทของเกมคอมพวิ เตอร. (ออนไลน) .เขาถงึ ไดจาก :
https://th.wikipedia.org/wigi/วิดีโอเกม#เกมการจําลอง.(วนั สบื คน ขอมูล: 24 มถิ นุ าย
2561).
สําเนา ศรปี ระมงค. ความหมายของคาํ ศพั ท. (ออนไลน) . เขาถึงไดจาก : kachen.esy.es/pdf30/31
คาํ ศัพทภ าษาอังกฤษ.pdf. (วนั สบื คนขอมลู : 24 มิถุนายน 2561).
สําเนา ศรปี ระมงค. (2547). การศกึ ษาผลการใชเ กมคาํ ศพั ทป ระกอบการสอนที่มตี อ ความคงทนใน
การเรยี นรคู าํ ศัพท ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอสั สัมชัญ
ระยอง. ปริญญานพิ นธศ ศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ). กรุงเทพฯ
: บัณฑติ วทิ ยาลัยมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. คณะกรรมการควบคุม : อาจารยกุลทพิ ย
โรหติ รัตนะ,ผูชวยศาสตราจารยจริ าพร บุญสง
DEEGAMESKI. (2561).เกมทด่ี ีควรมีองคป ระกอบดังนี้.(ออนไลน) . เขาถงึ ไดจาก :
https://medium.com/@mossos63/.(วันท่สี ืบคน :24 กนั ยายน 2561).
PENCILGREEN2530. (2553).เทคนคิ การสอนคําศพั ท. (ออนไลน) . เขา ถงึ ไดจ าก :
http://prncilgreen1.blogspot.com/2010/02/blog-post_5599.html .(วนั ท่สี บื คน :23
มิถุนายน 2561).


Click to View FlipBook Version