The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือในการล่าแสงเหนือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-02-21 21:01:51

aurora-hunt-guidebook_part11

คู่มือในการล่าแสงเหนือ

Aurora Hunt Guidebook – คมู่ อื ล่าแสงเหนอื

- แสงเหนอื คืออะไร?
- ไปดูแสงเหนือไดท้ ่ไี หน?
- ไปดแู สงเหนือได้ตอนไหน?
- อะไรบา้ งที่ทาให้เหน็ แสงเหนือ? และอะไรบ้างทที่ าใหไ้ ม่เหน็ แสงเหนอื ?
- โปรแกรมดแู สงเหนอื 18 วัน 18 ธนั วาคม 2014 ถงึ 4 มกราคม 2015
- โปรแกรมเสรมิ ดๆี ทไี่ มน่ ่าพลาด
- ข้อมลู จาเปน็ ตา่ งๆ

แสงเหนือคอื อะไร?
- โลกของเรามีแกนแม่เหลก็ ประกอบด้วยขวั้ เหนอื และขั้วใต้

*ภาพจาก www.rmutphysics.com/

- ดวงอาทติ ยป์ ลดปล่อยอนภุ าคพลงั งานสูง อนุภาคส่วนใหญค่ ืออิเล็กตรอน มลี กั ษณะเป็นการระเบิดปะททุ พี่ นื้ ผิว
อย่างรุนแรง (Solar Flare) แลว้ กพ็ งุ่ ออกมาเป็นแก๊สทีเ่ รียกว่าลมสุริยะ หรอื Solar Wind

- ลมสรุ ิยะเหล่านั้น ว่งิ เขา้ หาขวั้ แมเ่ หล็กของโลกราวกับเพ่อื นรัก ด้วยความเร็วสงู มากคือ 1000 กิโลเมตรต่อวนิ าที

*ภาพจาก www.aurorahunter.com

- เมื่อเพอ่ื นรักชนปะทะกันอย่างแรง จึงเกดิ พลังงานมหาศาลออกมา และเราไดเ้ ห็นพลงั งานนน้ั ในรูปของสีต่างๆ
ซ่งึ โดยสว่ นใหญจ่ ะเป็นสเี ขยี ว

- แลว้ ทาไมแสงเหนอื จึงเป็นสเี ขียว? ถา้ ลมสรุ ยิ ะชนกับอะตอมของออกซเิ จนท่ชี ้ันระดับความสูงของบรรยากาศโลก
ท่ีไมส่ ูงมาก เราจะเห็นเปน็ สเี ขยี ว แต่ถ้าชนทร่ี ะดับความสูงอ่นื ก็จะกลายเปน็ สอี ่ืน

ช้นั บรรยากาศ สูง = มว่ ง หรอื น้าเงนิ
กลาง = แดงหรือชมพู
ต่า = เขยี ว

ไปดแู สงเหนือได้ทไ่ี หน?

เราจะเหน็ แสงเหนือได้ในจดุ ท่ใี กล้ขวั้ โลกทสี่ ุด ซงึ่ สว่ นใหญ่ผูค้ นก็นยิ มท่จี ะไปดูกนั ในโซนของขว้ั โลกเหนือ

North America

อนั ดบั ต้นๆ คงตอ้ งยกใหแ้ ถบอลาสก้า เพราะสภาพภมู ปิ ระเทศท่แี วดลอ้ ม
ไปด้วยธรรมชาติมากกวา่ ความเป็นเมอื ง สุดยอดความนยิ มคอื ท่ี Fairbanks
เพราะในทางภูมศิ าสตร์ แฟร์แบงค์อยูใ่ ตว้ งแหวนแห่งแสงเหนือพอดบิ พอดี
ทาใหม้ ีโอกาสเห็นแสงเหนอื ไดบ้ ่อยทส่ี ุด

รายชื่อพิกดั บางส่วน

Alaska: Fairbanks, Anchorage
Canada: Yellowknife, Whitehorse

*ภาพจาก www.softservenews.com

North Europe

แถบยุโรปเหนือเป็นทนี่ ิยมไม่แพ้อลาสก้า เพราะความหลากหลายในเชิงท่องเทยี ว มีเมืองสวยให้เทยี่ วชม มีพพิ ิธภณั ฑใ์ หด้ ู
มกี ิจกรรมต่างๆ ใหส้ นกุ ได้แมไ้ ม่เหน็ แสง ยโุ รปเหนอื ประกอบดว้ ยประเทศแถบสแกนดเิ นเวยี อยา่ งนอรเ์ วย์ สวเี ดน
ฟินแลนด์ รวมถึงไอซแ์ ลนด์ นอกจากนี้สกอตแลนด์ หรอื ทางเหนือของรสั เซีย กม็ ีโอกาสเหน็ แสงเหนือไดเ้ หมือนกนั

รายชอ่ื พิกัดบางส่วน
Iceland ดแู สงเหนอื ไดท้ กุ เมอื ง

Norway : Tromso, Svalbard
Sweden: Abisko and Kiruna
Finland: Inari, Ivalo, Rovaniemi,Luosto
Russia: Siberia

*ภาพจาก www.auraskystation.com.

ไปดแู สงเหนือไดต้ อนไหน?

เราจะเหน็ แสงเหนอื ไดใ้ นชว่ งฤดหู นาวตัง้ แตร่ าวเดือนตลุ าคมไปจนถึงมนี าคม

อะไรบา้ งที่ทาใหเ้ ห็นแสงเหนือ? และอะไรบา้ งท่ที าให้ไม่เหน็ แสงเหนอื ?
- ทอ้ งฟา้ เปิด! สง่ิ น้เี ปน็ ปจั จัยสาคัญที่สดุ ที่จะได้เหน็ หรอื ไมเ่ ห็นแสงเหนอื นกั ท่องเท่ยี วหลายคนไปลา่ แสงเหนอื กนั
หลายครง้ั แต่ก็ยงั ไม่เหน็ แสงเหนือสกั ที กเ็ พราะท้องฟา้ ไม่เป็นใจ เช่น ท้องฟ้าทเี่ มฆคลุมร้อยเปอร์เซ็นต์ หรือมี
เมฆเปน็ บางส่วน
- แสงรบกวนจากเมือง ในเขตเมืองท่มี ีไฟฟ้าเยอะหรอื แม้แตเ่ สาไฟบนถนนทางหลวง ก็จะรบกวนการเหน็ แสงเหนือ
ดังน้ัน จดุ ทเี่ หน็ เด่นชัดที่สุด ควรเปน็ นอกเมอื งหรอื ชนบททม่ี ืดสนทิ ย่ิงมดื เท่าไหร่ แสงเหนือก็แจ่มชัดเท่าน้นั
- แสงจนั ทร์ เพราะการดแู สงเหนอื ต้องอาศัยท้องฟ้าท่ีมดื สนิท ฉะนัน้ คนื ท่พี ระจันทร์เต็มดวง อาจมผี ลกระทบบ้าง
เลก็ น้อยกบั การชืน่ ชมแสงเหนือ
- พยากรณอ์ ากาศ สิง่ นีจ้ งึ กลายเป็นสิ่งสาคญั มากท่นี กั ทอ่ งเที่ยวต้องทาการบ้านลว่ งหนา้ อย่างดี ถ้าชว่ งท่ไี ปฟ้าปดิ
เมฆเยอะ ฝนตก หิมะตก นั่นหมายถงึ คงไม่ไดเ้ หน็ แสงเหนือแนๆ่
- พยากรณแ์ สงเหนือ ตัวชว่ ยอกี อยา่ งทสี่ าคัญ เวบ็ ไซต์อย่าง www.softservenews.com เขาใชเ้ ทคโนโลยีล้าๆ
ช่วยคานวณการเกิดแสงเหนือ โดยแบ่งออกเปน็ 2 ส่วน คือ ดัชนี KP หมายถงึ ระดับความแรงรอบแม่เหลก็ โลก
ไลจ่ ากระดบั 1 ถงึ 9 และ GPS forecast เปน็ การนาเอา KP มาคานวณร่วมกับสภาพอากาศของพกิ ัดที่เราอยู่
แลว้ ออกมาเป็นเปอร์เซนต์
 KP 3 ขึน้ ไป = มโี อกาสเหน็ แสงเหนอื
 GPS forecast 40% ข้นึ ไป = มโี อกาสเหน็ แสงเหนือ

*ภาพจาก www.softservenews.com

Solar Cycle

ในทางวิทยาศาสตร์ ความแรงของโซลา่ ร์ มนั ไม่ได้เทา่ กนั ทุกปี แต่มีขึ้นมีลงแตกต่างกนั ในแตล่ ะปี ซึงนักวิทยาศาสตร์เรียก
มันวา่ Solar Cycle ในหนึง่ Cycle จะกินเวลาราว 10-13 ปี ปจั จบุ นั เราอย่ใู น Cycle รอบท่ี 24 ซึ่งหมายถึง
นกั วิทยาศาสตร์ทาการศกึ ษาเกบ็ ขอ้ มลู เรือ่ งน้ีกนั มาอยา่ งยาวนานหลายรอ้ ยปีแลว้
Solar Cycle 24 มีช่วงเวลา Solar Maximum อยทู่ ป่ี ี 2013-2014 จากนัน้ ความแรงจะค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยๆ ในปีตอ่ ไป
จนลงไปสู่จุดที่เรยี กว่า Solar Minimum แลว้ ก็ค่อยๆ ไต่ขึน้ มาใหม่เปน็ รปู สามเหลีย่ ม

* ขอ้ มูลจาก www.hflink.com

อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ มลู Solar Cycle นั้นก็เหมือนการพยากรณ์ธรรมชาตทิ ุกอย่าง ท่ีไมว่ ่ามนษุ ยจ์ ะพยายามเท่าไหร่กไ็ ม่
สามารถเอาชนะธรรมชาติไดอ้ ยดู่ ี การพยากรณบ์ างครั้งจึงไมไ่ ด้อย่างแมน่ ยาอยา่ งท่ีคิด ธรรมชาติเปลย่ี นไปแบบไมค่ าด
ฝนั ไดต้ ลอดเวลา และคลาดเคลือ่ นได้เสมอ
จากข้อมลู Solar Cycle การเดินทางไปดแู สงเหนอื ในปี 2015-2016 ยังจดั วา่ เปน็ ช่วงเวลาทด่ี ี ก่อนท่โี อกาสจะนอ้ ยลงใน
ปตี อ่ ไป และ Solar Maximum ครงั้ ต่อไป คาดวา่ จะเป็นในชว่ งปี 2023-2025
แล้วในปีท่ี Solar น้อยมากๆ ยงั ไปลา่ แสงเหนือไดม้ ้ัย? คาตอบกค็ อื โอกาสจะคอ่ นข้างนอ้ ยตามไปด้วย แตก่ ค็ วรตดิ ตาม
พยากรณ์อย่างใกลช้ ิดอีกที เพราะธรรมชาติเปลยี่ นแปลงนอกเหนอื ความคาดหมายได้เสมอ


Click to View FlipBook Version