The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเมินความคุ้มค่ากรม ปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nattakan Eye, 2021-09-03 03:48:39

ประเมินความคุ้มค่ากรม ปี 2563

ประเมินความคุ้มค่ากรม ปี 2563

รายงานประเมนิ ความค้มุ คา่ การปฏบิ ัตงิ านภาครัฐ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ประจำปี 2563

กรณศี ึกษา
• โครงการสนับสนนุ การแกไ้ ขปญั หาผูเ้ สพยาเสพติด การควบคมุ ตัวยาและสารเคมี
• โครงการพฒั นาเครือขา่ ยวิทยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชน

กลุ่มตดิ ตามและประเมินผล
กองแผนงานและวิชาการ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คำนำ

ตามที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้จัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อขับเคลื่อน
ภารกิจของกรมให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดไว้ และเพื่อให้การดำเนินงานตาม
แผนงานโครงการสามารถบรรลุผลอย่างเป็นรูปธรรม และเกิดการพัฒนาต่อเนื่อง จำเป็นอย่างยิ่งต้องมีกลไกใน
การประเมินผลแผนงานโครงการที่มีประสิทธิภาพ โดย แนวทางการการประเมินความคุ้มค่า ถือเป็นเครื่องมือ
หน่ึงที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ประเมินทางเศรษฐศาสตร์มูลค่าและประโยชน์ที่ได้รับจากแผนงานโครงการเทียบกับ
ทรัพยากรและงบประมาณท่ไี ด้ลงทุนไป

ทั้งนี้ กองแผนงานและวิชาการ ได้คัดเลือกโครงการสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 2
โครงการ ประกอบด้วย โครงการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาผู้เสพยาเสพติด การควบคุมตัวยาและสารเคมี และ
โครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน มาเป็นกรณีศึกษาในการประเมินความคุ้มค่า ซึ่งคณะ
ผจู้ ดั ทำหวงั เปน็ อยา่ งย่งิ เอกสารฉบบั น้ีจะเปน็ ประโยชน์สำหรับแก่ผู้สนใจตอ่ ไป

กลมุ่ ตดิ ตามและประเมินผล
กองแผนงานและวชิ าการ

Page | 1

สำรบัญ

คำนำ ................................................................................................................................................................. 1
สารบญั .............................................................................................................................................................. 2
บทที่ 1 บทนำ.................................................................................................................................................... 3

หลกั การเหตุผล............................................................................................................................................ 3
ทฤษฎบี ท..................................................................................................................................................... 4
วัตถุประสงค์ ................................................................................................................................................ 6
ขอบเขตการประเมิน.................................................................................................................................... 6
วิธกี ารดำเนินงาน ......................................................................................................................................... 6
บทท่ี 2 ผลการศึกษา........................................................................................................................................10
โครงการสนบั สนนุ การแก้ไขปัญหาผเู้ สพยาเสพตดิ การควบคมุ ตัวยาและสารเคมี.................................10

ภาพรวมการดำเนนิ การ .......................................................................................................................10
การวิเคราะหผ์ ลการศึกษา....................................................................................................................13

ประสิทธิภาพการดำเนนิ งานตามภารกจิ ........................................................................................13
ประสทิ ธผิ ลการดำเนินการ.............................................................................................................15
ผลกระทบของโครงการ.................................................................................................................. 19
ขอ้ เสนอแนะ........................................................................................................................................20
โครงการพฒั นาเครือขา่ ยวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ..........................................................................21
ภาพรวมการดำเนินการ .......................................................................................................................21
การวิเคราะห์ผลการศกึ ษา....................................................................................................................24
ประสทิ ธภิ าพการดำเนินงานตามภารกจิ ........................................................................................24
ประสทิ ธิผลการดำเนินการ.............................................................................................................28
ผลกระทบของโครงการ.................................................................................................................. 31
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................ 32
ภาคผนวก ........................................................................................................................................................34
แบบฟอร์มการประเมนิ ความคุ้มค่าแผนงานโครงการกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์.......................................35
เอกสารอา้ งองิ ..................................................................................................................................................42

Page | 2

บทท่ี 1 บทนำ

หลักการเหตุผล

ตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และฉบับ
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2562 มาตรา 9 การบริหารราชการเพี่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ กำหนดให้ ก่อน
จะดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า และต้องจัดให้มีการ
ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ส่วนราชการกำหนดข้ึน
โดยส่วนราชการต้องการบริหารราชการอย่างมีประสิทธภิ าพ และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ประกอบ
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561-2580) ในประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ ส่วนราชการมีการติดตามประเมินผลทั้งก่อนเริ่มโครงการ ระหว่างดำเนินการ และหลังการ
ดำเนินงาน เป็นการติดตามประเมินผลทั้งระบบ ตั้งแต่ปัจจัยนำเข้า กระบวนการดำเนินการ ผลผลิต ผลลัพธ์
และผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับประเด็นการพัฒนา ระดับ
หน่วยงาน และระดับพื้นที่ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล
สอดคล้องกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่12 พ.ศ. 2560 – 2564 ในการขบั เคล่ือนแผนสู่การ
ปฏิบัติ ได้กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการประจำปีโดยนำยุทธศาสตร์การ
พัฒนาของแผนพัฒนาฯฉบับท่ี 12 มาวิเคราะห์ความเกี่ยวข้องกับภารกิจของกระทรวง กรม เพื่อนำไปกำหนด
แนวทางการพัฒนาในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปีและการจัดทำแผนงานโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ
ประจำปีของหน่วยงาน และวางระบบการติดตามประเมินผลแผนงานโครงการ เพื่อเชื่อมโยงตัวชี้วัดของ
แผนปฏบิ ตั กิ ารสว่ นราชการต่าง ๆ กบั เปา้ หมายของยุทธศาสตรช์ าติกบั เป้าหมายและประเด็นพัฒนาสำคัญของ
แผนพัฒนาฯ โดยต้องมีการประเมินผลแผนงานโครงการหลังการดำเนินงานเสร็จเรียบร้อยทั้งในระดับ ผลผลิต
ผลลัพธ์ และผลกระทบเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินผลแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และ ยุทธศาสตร์ชาติ
โดยใช้ตวั ช้ีวัดผลผลิตรว่ ม (Output JKPI) และตัวชีว้ ดั ผลลพั ธ์ร่วม (Outcome JKPI) และ ตวั ชวี้ ดั ผลกระทบร่วม
(Impact JKPI) เปน็ เครอื่ งมอื วดั ผลการพฒั นาในภาพรวมท้งั ประเทศ

ซงึ่ จากกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2552 กรม
มีภารกิจเกี่ยวกับการวจิ ัย และการตรวจชนั สูตรดา้ นวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ โดยมีการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและ
พัฒนา องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อผลการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีแก่ประชาชน
และสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ ทำให้สามารถพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพ รวมทั้ง
เพ่อื การสนบั สนนุ กระบวนการคุม้ ครองผู้บริโภคของประชาชน และเพอ่ื ใหก้ ารดำเนินงานของกรมเกิดการพัฒนา
สนองตอบนโยบายประเทศและความต้องการความคาดหวังของสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำแผนกล
ยุทธ์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2562 – 2565 และถ่ายทอดสู่แผนปฏิบัติการประจำปี โดยในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 กรมมีกรอบวงเงินงบประมาณ (ไม่รวมงบบุคลากร) 838.77 ล้านบาท โครงการสำคัญและโครงการ
บรู ณาการ 29 โครงการ ซึง่ ได้มกี ารกำกบั ติดตามเป็นประจำทกุ เดือน

Page | 3

ทฤษฎีบท

การประเมินความคุ้มค่า หมายถึง การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์
ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดอย่างมีประสทธิภาพ และมีผลประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรท่ีใช้ ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้น
อาจเป็นได้ทงั้ ผลสำเร็จท่ีพงึ ประสงค์และผลกระทบในทางบวกและลบทเี่ กดิ ขนึ้ แกป่ ระชาชน สังคม ทง้ั ทสี่ ามารถ
คำนวณเป็นตัวเงินได้และไม่สามารถคำนวณเป็นเงินได้ การประเมินความคุ้มค่า ให้ความสำคัญกับการประเมิน
ใน 3 มิติ คือ

ประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล ผลกระทบ
ประเด็น:
ความค้มุ ค่า ประเดน็ : ประเด็น:
ภารกิจ
• คณุ ภาพผลผลิตทไี่ ด้รับ • ความสอดคล้องวตั ถปุ ระสงค์ ผลกระทบในดา้ น
•ความประหยัดการใช้ • ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั
ตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้
จ่าย • ความพงึ พอใจผมู้ สี ่วนได้

เสยี
(1) ประสิทธิภาพ หมายถึง การประเมินความเหมาะสมของการใช้ทรัพยากร และกระบวนการทำงาน

เพอ่ื ให้ไดม้ าซงึ่ ผลผลติ ตามวัตถุประสงคโ์ ดยพิจารณาจากผลผลิตเทยี บกบั ต้นทนุ ท้งั หมด การจัดหาทรพั ยากรท่ีได้

มาตรฐาน มคี ่าใชจ้ า่ ยทีเ่ หมาะสม รวมทั้งมีกระบวนการทำงานที่ประหยัด ทรัพยากรประกอบดว้ ยตวั ช้ีวดั 2 ด้าน

ไดแ้ ก่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และการประหยัด

a. ประสิทธิภาพการผลิต หมายถึง ความสอดคล้องของการใช้ทรัพยากรที่เป็นปัจจัย (Input)

กระบวนการดำเนินการ (Process) และผลผลิต (Output) เพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตตาม

วตั ถุประสงค์ของภารกจิ

b. การประหยัด หมายถึง การจัดหาทรัพยากรในปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสมด้วยต้นทุนที่

ต่ำสุดหรือสมเหตุสมผล ซึ่งประเด็นในการประเมิน เช่น การลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติภารกิจ

ค่าใช้จ่ายในการจัดหาปัจจัยการผลิต เป็นต้น โดยตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ

ดงั ต่อไปนี้

• สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จา่ ยตามแผน เป็นการวิเคราะห์ถึงความประหยดั ใน

การทำงานต้งั แตข่ ัน้ ตอนการจัดหาปจั จยั การผลิตและระหว่างการดำเนนิ งาน เพ่ือ

ดูว่าการดำเนินงานมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากการประมาณการไว้เพียงใด

และเพราะเหตุใด ซึ่งจะเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพการ

ดำเนินงาน

• ต้นทุนต่อหน่วย เป็นการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับการส่ง

มอบผลผลิตที่ได้จากโครงการ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการควบคุมต้นทุน

เกดิ ข้ึนสงู หรอื ตำ่ กว่าแผนทไี่ ด้ประมาณการไว้อย่างไร เพราะเหตุใด

• สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร ประเมินประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิตแต่

ละชนิด เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการ

ดำเนนิ งานโดยรวม ซึ่งจะชว่ ยใหก้ ำหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หาได้อย่างถูกต้อง

• สดั สว่ นเวลาทีใ่ ชจ้ ริงในการให้บริการเปรียบเทยี บกับระยะเวลาท่ีกำหนด เป็นการ

วิเคราะห์ถึงความรวดเร็วในการทำงานอันเกิดจากการลดขั้นตอนและระยะเวลา

ในการใหบ้ ริการ โดยมีการจัดทำมาตรฐานเวลาการใหบ้ รกิ ารไว้

Page | 4

• คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดตามคู่มือการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพ
เป็นการวิเคราะห์ถึงคุณภาพในการให้บริการ โดยมีการจัดทำมาตรฐานคู่มือการ
ประกันคณุ ภาพและควบคุมคณุ ภาพที่หน่วยงานหรือกระทรวงกำหนด

(2) ประสิทธิผล เป็นการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการปฏิบัติ ภารกิจ โดย
เปรียบเทียบผลที่ได้รับจากการปฏิบัติภารกิจว่ามีความสอดคล้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลท่ี
คาดวา่ จะได้รบั ท่ีกำหนดไว้ก่อนดำเนินการหรอื ไม่ โดยพิจารณาจากตวั ช้ีวดั 2 ดา้ น ได้แก่ การบรรลุวัตถุประสงค์
ในการปฏิบตั ิภารกจิ ความพึงพอใจตอ่ ผลประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั จากผลผลติ โดย

a. การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ในการปฏิบัตภิ ารกิจ หมายถึง การเปรียบเทยี บผลการปฏิบัติภารกจิ ซึ่ง
เป็นได้ทั้งสิ่งของหรือบริการ กับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในกรอบระยะเวลาที่ได้กำหนดไว้
เพื่อประเมินระดับความสำเร็จในการทำงานว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้เพียงใด และหาก
เปรยี บเทียบผลลัพธท์ ี่เกิดข้นึ จากการปฏบิ ัติภารกิจน้ันต่อคา่ ใชจ้ ่ายทง้ั หมด

b. ความพึงพอใจต่อผลประโยชน์ที่ได้รับจากผลผลิต เป็นการประเมินระดับความพึงพอใจของ
ผู้รับบริการและผู้ใช้ประโยชน์จากผลผลิตที่ภาครัฐเป็นผู้จัดทำให้ โดยผู้ใช้ประโยชน์ อาจ
หมายถึง ประชาชนหรือหน่วยงานอื่น ที่ได้รับประโยชน์โดยตรง ในการวัดความพึงพอใจของ
ผู้รับบริการและผู้ใช้ประโยชน์จากผลผลิต จะประกอบด้วยด้านคุณภาพผลผลิตและบริการ
ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการไดร้ ับบริการของผูใ้ ชป้ ระโยชน์ ดังนัน้ การวดั ผลประโยชน์ทกี่ ลมุ่ เป้าหมาย
ได้รับ จึงเป็นการวัดผลลัพธ์ (Outcome) ในระดับปรสิทธิผล ส่วนการวัดความพึงพอใจใน
กระบวนการให้บรกิ ารแก่กลุ่มเป้าหมายซึ่งนยิ มใช้โดยท่ัวไปนน้ั จะเป็นการวดั ประสิทธิภาพของ
กระบวนการทำงาน

(3) ผลกระทบ หมายถึง ผลอันสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ทั้งที่คาดหมายหรือ ตั้งใจ และไม่ได้
คาดหมาย ทั้งที่เกิดขึ้นระหว่างและภายหลังการปฏิบัติภารกิจ ที่อาจกระทบต่อการพัฒนา ในมิติอื่น หรือการ
ปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานอื่น หรือประชาชนทั้งที่เป็นกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มอื่น ทั้งในและนอกพื้นที่
ครอบคลมุ ถึงผลกระทบทางทางตรงและทางอ้อม รวมท้งั ผลกระทบด้านบวกและลบ ในมติ ทิ ่ี สามารถประเมินใน
รูปตัวเงนิ และไม่ใช่ตวั เงิน นอกจากนี้ยงั ต้องคำนงึ ถึงผลกระทบในกรณี ทไ่ี มไ่ ด้ดำเนินงาน ตามภารกิจของภาครัฐ
ดว้ ย ซึง่ มปี ระเด็นตา่ ง ๆ ดงั นี้

a. ผลกระทบตอ่ ประชาชน ได้แก่ ผลกระทบที่ประชาชนไดร้ บั จากการดำเนินงานตามภารกิจภาครัฐ
ที่เป็นประโยชน์และความพึงพอใจ เช่น การได้รับบริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการดีข้ึน
การลดความเจบ็ ป่วยและตายจากโรคต่าง ๆ

b. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ได้แก่ ผลกระทบต่อรายได้ประชาชาติ/การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การ
สร้างความเป็นธรรม การรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ และการกระจายตวั รายได้

c. ผลกระทบทางสงั คม ได้แก่ ผลกระทบทีเ่ กดิ ขน้ึ แก่สงั คมจากการดำเนินงานตามภารกิจภาครฐั ซ่ึง
รวมถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างทางสังคม วิถีชีวิต อาชีพ วัฒนธรรม ภูมิปั ญญา
ชุมชน และการสร้างความเป็นธรรมให้สังคม

d. ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการดำเนินงานตามภารกิจ
ภาครัฐ เชน่ ดา้ นมลภาวะ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นระบบนเิ วศ และดา้ นภูมสิ ถาปตั ย์

e. ผลกระทบด้านอื่น ๆ เชน่ เจา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏิบตั งิ าน ดา้ นการเมอื ง และความมั่นคงของประเทศ

Page | 5

วัตถุประสงค์

ประเมนิ การปฏิบัตภิ ารกจิ ของโครงการสำคัญตามแผนยทุ ธศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อเป็น
ข้อมูลประกอบการพิจารณาการปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับนโยบายของ
หนว่ ยงานและให้เกดิ ความคุ้มคา่ ต่อเงินงบประมาณท่ีไดร้ บั

ขอบเขตการประเมิน

1. ประเมินความคุ้มคา่ ของโครงการสำคัญท่ไี ดร้ ับการคดั เลือก ด้วยวิธีดงั นี้
• การประเมินตัววดั ผลการดำเนนิ การ (Performance measures)

• ผลิตภาพการผลิต (Productivity)
• ความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมาย (Satisfaction and expectation)
• เชือ่ มโยงกับยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment)
2. วิเคราะห์และอภปิ รายแนวทางการบรหิ ารโครงการในเชงิ ยทุ ธศาสตร์

วิธกี ารดำเนินงาน

1. กำหนดแผนงานโครงการ
ในการประเมินความคุ้มค่าจำเป็นต้องมีการรวบรวมข้อมูลในเชิงลึกภายใต้ทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจำกัด

ทั้งบุคลากร และระยะเวลาในการเนินการ ดังนั้นเพื่อให้การประเมินความคุ้มค่ามีความเป็นไปได้ในการ
ดำเนินการและเกิดประโยชน์แก่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงพิจารณาคัดเลือกแผนงานที่จะประเมินความ
ค้มุ คา่ โดยมหี ลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี

• มีความสอดคล้องกับบทบาทภารกิจของกรม และนโยบายสำคัญทางด้านการแพทย์และ
สาธารณสขุ ของประเทศ

• เปน็ โครงการต่อเน่ืองหรือดำเนินการสิน้ สดุ แลว้ มผี ลผลติ หรอื การให้บริการทเี่ ปน็ รูปธรรม ไม่ใช่
โครงการใหม่ทอ่ี ยใู่ นระหวา่ งเตรยี มการดำเนนิ การ

• ต้องมิใช่โครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดตั้งหน่วยงานใหม่ จัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์และสิ่งปลูก
สร้าง แตเ่ พียงอย่างเดยี ว

• ตอ้ งมใิ ชโ่ ครงการในรูปแบบการบรหิ ารกองทุนแก่หนว่ ยงานอนื่ ๆ เช่น กองทนุ วจิ ยั กองทุนเฝ้า
ระวงั ความเสีย่ งสขุ ภาพ เป็นตน้ (หนว่ ยงานอน่ื เปน็ ผกู้ ำหนดและจดั ทำผลผลติ )

และจากโครงการที่เป็นเป้าหมายสำคัญและแผนงานบูรณาการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Flagship
Project) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวนทั้งสิ้น 29 โครงการ ได้คัดเลือกโครงการที่สอดคล้องตาม
หลักเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ จำนวน 2 โครงการ คอื

ลำดับ โครงการ งบประมาณ หนว่ ยงาน
66,641,000 สยวส./ศวก.
1 โครงการสนบั สนุนการแกไ้ ขปัญหาผู้เสพยาเสพติด
การควบคุมตวั ยาและสารเคมี 12,000,000 ศวก.ชลบุรี

2 โครงการพัฒนาเครอื ข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชุมชน

Page | 6

2. การเก็บและรวบรวมขอ้ มลู
ในการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจภาครัฐของโครงการที่คัดเลือก ได้กำหนดขอบเขตของ

ข้อมลู นำเข้าและตัวบง่ ชี้สำคญั ท่ใี ช้ในการประเมนิ ความคุ้มค่าของโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ขอ้ มลู นำเขา้ ประกอบการประเมิน

ส่วนที่ 1: ภาพรวมแผนงาน

• การสนองตอบยุทธศาสตร์ คือ การระบุความสอดคล้องและรายละเอียดการเชื่อมโยงระหว่าง
โครงการที่คัดเลือกและยุทธศาสตร์ในระดับต่าง ๆ เช่น รัฐธรรมนูญ คำแถลงนโยบายของ
รัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง ความต้องการและ
ปญั หาของสงั คม และอื่น ๆ

• กิจกรรมหลัก คือ ข้อมูลกิจกรรม/แนวทางหลักของโครงการ พร้อมผลผลิตและปริมาณที่ได้
จากการดำเนนิ การ

• งบประมาณ คอื ข้อมลู แผนงบประมาณตลอดระยะเวลาโครงการ (อย่างน้อย 5 ปี)

• ระยะเวลาดำเนนิ การ คอื ระยะเวลาตัง้ แต่เร่มิ ตน้ จนสิ้นสุดโครงการ
ส่วนท่ี 2: ผลลัพธค์ วามสำเรจ็

• รายละเอียดผลการดำเนินงาน คือ รายละเอียดผลการดำเนินงานโดยสังเขป พร้อมทั้งปัญหา
และอุปสรรคในการดำเนนิ การ

• ตัวช้ีวดั แผนงานโครงการ คือ ตัวชีว้ ดั ตลอดระยะเวลาโครงการหรือยอ้ นหลัง 5 ปี

• คุณภาพการให้บริการ คือ ผลความพึงพอใจและประเด็นความคาดหวัง/ต้องการที่สำคัญของ
ผรู้ ับบรกิ าร/ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี ตามที่โครงการไดก้ ำหนดไว้

• ผลประโยชน์ทไี่ ด้ คือ ผลประโยชนท์ างตรงและทางอ้อมทีค่ ิดมูลค่าเป็นเงนิ ได้และคิดมูลค่าเป็น
เงนิ ไม่ได้

• ค่าใช้จ่ายงบประมาณตามจริง คือ งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินการ ทั้งจากงบประมาณ
แผน่ ดนิ เงินนอกงบประมาณ และ ที่ผู้อนื่ สนับสนนุ

• ทรัพยากรสำคัญที่ใช้ในการดำเนินการ คือ การระบุทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินโครงการ ท้ัง
ด้านกระบวนการ ด้านบุคลากร สินทรัพย์ทรัพยากร และอื่น ๆ เช่น เครือข่ายความร่วมมือ
ภายนอก

ตัวบ่งชีส้ ำคญั การประเมินความคุม้ ค่า

ประสิทธิภาพ
❑ ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน
❑ คุณภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนดตามค่มู ือการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพ
❑ สัดสว่ นคา่ ใชจ้ า่ ยจริงตอ่ คา่ ใชจ้ ่ายตามแผน
❑ สัดส่วนผลผลติ ตอ่ ทรพั ยากร
ประสิทธิผล
❑ Benefit – Cost Ratio
❑ Cost – Effectiveness
❑ ระดบั ความพงึ พอใจของผ้รู ับบรกิ ารที่มีต่อผลประโยชน์จากการใชบ้ ริการ

Page | 7

ผลกระทบ ทป่ี รึกษา
❑ การประเมนิ ผลกระทบต่อประชาชน
❑ การประเมินผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ
❑ การประเมินผลกระทบต่อสังคม
❑ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ การเมือง
❑ การประเมนิ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม

3. โครงสร้างการบริหารจัดการ

หวั หน้าโครงการ

ทมี งานผู้ประเมนิ

ผูร้ ับผิดชอบแผนงาน ผู้รับผิดชอบแผนงาน

หวั หนา้ โครงการ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ
นายจุมพต สังข์ทอง
ผู้อำนวยการกองแผนงานและวิชาการ
ท่ีปรกึ ษา
นางสาววรางคณา อ่อนทรวง นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ทีมงานผปู้ ระเมิน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
ทีมงานที่ 1
• นางสาวศิรริ ัตน์ อนิ ตะวิชยั
• นางสาวลดั ดาวัลย์ วงค์ชาชม
• นายจลุ ภทั ร คงเจรญิ กิจกลุ

ทมี งานท่ี 2 นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน
• นางสาววรี วรรณ ทศั นภิญโญ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
• นางสาวพิมพ์กมล เทียมปาน

หนว่ ยงานผรู้ ับผิดชอบแผนงาน

โครงการสนับสนุนการแกไ้ ขปัญหาผเู้ สพยาเสพตดิ การควบคมุ ตวั ยาและสารเคมี
• สำนกั ยาและวตั ถุเสพติด

โครงการพฒั นาเครือขา่ ยวิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ุมชน
• ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 6 ชลบุรี

Page | 8

4. การเก็บข้อมลู และทวนสอบผล
ข้อมูลที่ใช้ในการจัดทำรายงานอิงตามข้อมูลที่หน่วยงานรับผิดชอบหลักส่งมอบตามหัวข้อที่ได้กำหนด

หนดไว้ เปน็ ข้อมูลในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 – 2563 และคณะผู้จัดทำได้มีการทวนสอบข้อมลู กบั แหล่งอ่ืน
ที่ได้รับการมอบหมายให้เป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักในการดูแลข้อมูลด้านนั้น ๆ เช่น ข้อมูลการใช้จ่าย
งบประมาณจากฝ่ายคลัง สำนักเลขานุการกรม ข้อมูลแผนงานโครงการจากกองแผนงานและวิชาการ ข้อมูล
ผลประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากหนว่ ยงาน/องคก์ รในระดับประเทศ

5. อภิปรายผล สรปุ และใหข้ อ้ เสนอแนะ
การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลในการจัดทำรายงานมี 2 รูปแบบ คือ 1) การวิเคราะห์ทางสถิติ

ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย จำนวนนับ ความถี่ โดยนำมาแสดงผลในรูปแบบตารางและแผนภูมิ 2) การบรรยาย เพื่อ
ประมวลผลและแสดงขอ้ มลู ในเชิงคุณภาพต่าง ๆ

การอภิปรายผล จากขอ้ มูลผลการวเิ คราะหค์ วามคมุ้ คา่ ของโครงการ องิ ตามหลักการการบรหิ ารงานทาง
ยุทธศาสตร์ และอ้างอิงกรณีตัวอย่างจากโครงการอื่น ๆ ทั้งตัวแบบที่เป็นเลิศและสภาพปัญหาที่สามารถถอด
บทเรียนในการนำมาพัฒนาปรบั ปรงุ ในระยะตอ่ ไป

Page | 9

บทที่ 2 ผลกำรศึกษำ

โครงการสนบั สนนุ การแก้ไขปญั หาผ้เู สพยาเสพตดิ การควบคมุ ตวั ยาและสารเคมี

ภาพรวมการดำเนนิ การ

ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของประเทศ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ได้จัดทำ
แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2563 โดยมีเป้าหมายยึดหลักแนวคิดการ
แก้ปัญหายาเสพติดทั้งระบบ ตั้งแต่ ต้นทาง – กลางทาง – ปลายทาง ซึ่งประกอบด้วย 5 มาตรการ คือ ความ
ร่วมมือระหว่างประเทศ การปราบปรามและบงั คับใช้กฎหมาย การป้องกันยาเสพติด การบำบัดรักษายาเสพติด
และการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นหน่วยงานหนึ่งในการสนับสนุนการ
ดำเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามมาตรการปราบปรามและการบังคับใช้กฎหมาย มีภารกิจในการตรวจ
พิสูจน์ยาเสพติดในวัตถุต้องสงสัย และตรวจวิเคราะห์หาสารเสพติดในปัสสาวะของผู้ต้องสงสัยว่าเสพยาเสพตดิ
เพ่ือนำผลการวิเคราะหป์ ระกอบการดำเนนิ คดีและการบำบัดรักษาผ้เู สพยาเสพติดทัง้ การตรวจเบ้ืองตน้ และตรวจ
ยนื ยนั ซ่ึงผลการตรวจวเิ คราะหจ์ ะรวบรวมนำสง่ หน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง เปน็ ขอ้ มลู ในภาพรวมทีส่ ามารถนำไปใช้ใน
การปอ้ งกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบและระดับประเทศ ซง่ึ ในภาพรวมของประเทศมุ่ง
ผลสมั ฤทธิใ์ ห้สามารถบังคบั ใช้กฎหมายอยา่ งเครง่ ครัด เพ่อื ตัดวงจรการค้ายาเสพตดิ ทัง้ ระดบั เครือข่ายผคู้ า้ ยาเสพ
ติดผู้มีอิทธิพล เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ค้ารายย่อยในระดับพื้นที่ที่สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนในหมู่บ้าน/
ชมุ ชน โดยกำหนดเป้าหมายสกดั กั้นยาเสพตดิ ไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 ของปริมาณยาเสพติดทจ่ี บั กมุ ทงั้ ประเทศ

ในปี 2563 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ไดต้ ัง้ เป้าหมายจำนวนตัวอย่างวตั ถุเสพติดได้รับการตรวจพิสูจน์
จำนวน 100,000 ตวั อยา่ ง ดำเนนิ การได้ 127,378 ตวั อย่าง โดยในชว่ งเดอื นตลุ าคม 2562 – กันยายน 2563 มี
การดำเนนิ การ ดงั นี้

ตรวจพิสจู นต์ วั อย่าง ตรวจพิสูจน์ จัดซอื้ และประเมิน
ของกลาง ตัวอยา่ งปสั สาวะ คณุ ภาพชดุ ทดสอบ

21,996 ตัวอยา่ ง 105,382 ตัวอย่าง 551,970 ชดุ

1) ตรวจพิสูจน์ยาเสพติดในวัตถุของกลางที่จับยึดได้และนำส่งจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อหา
ชนิดและปริมาณยาเสพติดเพอ่ื นำผลการวเิ คราะห์ประกอบการพิจารณาทาง อรรถคดีและเฝ้าระวัง
และแก้ไขปัญหายาเสพติด และตัวอย่างยาเสพติดให้โทษของกลางเพื่อเผาทำลายจากสำนักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา

2) ต ร ว จ ย ื น ย ั น ส า ร เ ส พ ต ิ ด ใ น ป ั ส ส า ว ะ ไ ด ้ แ ก ่ Methamphetamine 11- Nor-delta-9-
tetrahydrocannabinol-9-carboxylic acid (ก ั ญ ช า ) Morphine Ketamine MDMA MDA

Page | 10

MDE(ยาอี) Benzoylecgonine (เมตาบอไลต์ของ Cocaine) Mitragynine (พืชกระท่อม) 6-
Monoacetylmorphine (เมตาบอไลต์ของ Heroine) เป็นต้น จากตัวอย่างทสี่ ่งมาจาก หน่วยงาน
ในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ หน่วยงานในสังกัดกรมราชทัณฑ์ สถานประกอบการ
สถานพยาบาลของเอกชน และอ่ืน ๆ
3) การประเมินคุณภาพมาตรฐานชุดทดสอบสารเสพติดเพื่อประกอบการจดแจ้งตาม ประกาศ
กระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2559
4) การตรวจวิเคราะห์คุณภาพวัตถุเสพติดท่ใี ช้ทางการแพทย์ เพอ่ื ควบคุม คณุ ภาพผลิตภัณฑ์ภายหลัง
ออกสทู่ ้องตลาด โดยพิจารณาเลือกยาทม่ี กี ารใชอ้ ย่างกว้างขวาง หรือมีข้อมูลความไม่ คงสภาพของ
ยา และสมุ่ ตัวอย่างจากตำรับที่ได้ขอขึ้นหรือต่อทะเบยี นในระยะเวลา 5 ปี
5) สนบั สนนุ ชดุ ทดสอบใหห้ นว่ ยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ท้งั หนว่ ยงานภายในและหน่วยงาน
ภายนอกกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย สำนกั งานป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพตดิ และหน่วยงานอ่ืน ๆ

แผนภมู :ิ ผลการสนบั สนนุ การตรวจพสิ ูจนย์ าเสพติดของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ระหวา่ งปี 2559-2563

140000

จานวนการตรวจ ิวเคราะ ์ห (ตัวอ ่ยาง) 130000

120000

110000

100000

90000

80000

70000 75,320 98,650 114,910 107,116 127,378
60000 2560 2561 2562 2563

2559

ตาราง: งบประมาณสนับสนุนการตรวจพิสูจน์ยาเสพติดของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ระหว่างปี 2559-
2563

ปงี บประมาณ งบประมาณ ใชจ้ ่าย คิดเปน็ ร้อยละ
2563 124.8815 123.9206 99.23%
2562 111.9071 111.9071 100.00%
2561 101.6308 101.6125 99.98%
2560 86.8191 86.7871 99.96%
2559 100.9631 99.5859 98.64%

Page | 11

มาตรการ แนวทาง เปา้ หมาย

ความรว่ มมือ • พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศเชิงรุก สร้างความรว่ มมอื ระหว่างประเทศในทุก
ระหวา่ งประเทศ • พัฒนาความร่วมมือกับประเทศอาเซยี น ระดบั ทกุ กลไก เพ่ือยุตแิ หล่งผลติ ยาเสพติด
• พฒั นาความรว่ มมอื กับประเทศนอกภาคพน้ื ภายนอกประเทศ ด้วยกลไกทางการทตู การ
การปราบปราม ขา่ ว และการปฏบิ ัตกิ ารขอ้ มูลข่าวสารอย่าง
และการบังคับใช้ อาเซียน
เหมาะสม
กฎหมาย • สกดั กน้ั ยาเสพติด สารต้งั ต้นและเคมีภณั ฑ์
• ปราบปรามและสลายโครงสร้างเครอื ขา่ ย บงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่างเครง่ ครดั เพือ่ ตดั
วงจรการคา้ ยาเสพติดทงั้ ระดบั เครือขา่ ยผคู้ า้
การค้าผู้มีอทิ ธิพลท่ีเกี่ยวขอ้ งกับยาเสพติด ยาเสพตดิ ผมู้ อี ทิ ธิพล เจา้ หนา้ ท่ีรฐั และผคู้ า้
และเครอื ขา่ ยข้ามชาติ รายยอ่ ยในระดบั พนื้ ทีท่ ี่สรา้ งความเดือดรอ้ น
• พัฒนางานการขา่ วและระบบฐานขอ้ มูล
สนบั สนนุ ใหก้ บั ประชาชนในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน

การป้องกนั ยา • พัฒนาพ้ืนทีแ่ ละชีวติ ความเป็นอยขู่ อง ลดปัจจัยด้านความตอ้ งการยาเสพติดด้วยการ
เสพตดิ ประชาชนตามแนวชายแดนและการพัฒนา ตัดวงจรการเพ่มิ ขึ้นของผู้เสพยาเสพติดรายใหม่
ทางเลอื กพ้ืนท่ีในประเทศ การบำบัดรักษาผ้เู สพและป้องกันกระทำผิดซ้ำ
รวมท้ังสรา้ งภมู ิคุม้ กนั ให้กบั บคุ คลชมุ ชนและ
• สร้างการรบั รู้และภมู คิ ุม้ กนั ยาเสพตดิ สังคมให้ความรู้ถึงภัย ยาเสพตดิ อยา่ งต่อเน่อื ง
เพื่อป้องกนั การเกิดผู้เสพและผู้เขา้ ไปเก่ยี วขอ้ ง
• เสริมสร้างสภาพแวดล้อมเพ่อื การปอ้ งกนั ยา
เสพติด กับยาเสพตดิ รายใหม่

การบำบัดรักษา • พัฒนาระบบการบำบดั รักษา สรา้ งความสงบและความปลอดภัยจากยาเสพ
ยาเสพติด ติดในระดับหมบู่ า้ น/ชมุ ชน โดยบูรณาการ
• ติดตามดแู ลชว่ ยเหลือและการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผ้ผู า่ นการบำบัดรักษายาเสพติด ร่วมกบั หนว่ ยงานรัฐท่ีเกยี่ วขอ้ ง และ
สนับสนุนภาคประชาชนใหม้ สี ว่ นร่วมในการ
• บำบัดผ้เู สพตดิ ทอี่ าจสง่ ผลกระทบตอ่ ชมุ ชน เฝ้าระวัง และสรา้ งพื้นท่ปี ลอดภยั จากยาเสพ
(จิตเวช)
ตดิ ไปเก่ยี วขอ้ งกบั ยาเสพติดรายใหม่
• ลดอันตรายจากการใช้ยาเสพตดิ (Harm
Reduction) กำหนดกลไกการควบคุมพชื เสพติดทีร่ ัดกุม
เพอ่ื มใิ ห้สง่ ผลกระทบทางสงั คมตามท่ี

กฎหมายบัญญัตไิ ว้ อยา่ งเครง่ ครดั รวมท้ัง
ผลักดนั สนับสนุนการศึกษาวจิ ัยและพฒั นา
เทคโนโลยีการใชพ้ ืชเสพติดทางการแพทย์

• ปญั หายาเสพตดิ ได้รบั การแก้ไขจนไม่ส่งผลกระทบต่อการบรหิ ารประเทศ
• ความพงึ พอใจและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด

Page | 12

การวิเคราะห์ผลการศึกษา

ประสทิ ธภิ าพการดำเนินงานตามภารกิจ
จากการที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ

เพื่อสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พบว่า การรายงานผลการตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในวัตถุ
ต้องสงสัยและปัสสาวะ ในช่วง 3 ปีหลัง สามารถดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ แต่อย่างไรก็ตามเม่ือ
พิจารณาแยกส่วนระหว่าง แผนและผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติ ตั้งแต่ปี 2559 – 2562 ในส่วนของแผนมี
การกำหนดเปา้ หมายลดลงในทุกปี ในขณะทรี่ ายงานผลมแี นวโนม้ จำนวนตัวอย่างสง่ ตรวจที่เพ่ิมขึ้นตามลำดบั

ร้อยละผลการดำเนินงานตรวจพิสูจนห์ าสารเสพติด ปี 2559 -2563

140 127.68 125.17 127.38

ร้อยละผลการดาเนินงาน 120 98.65

100

80 62.77

60

40

20

0

ปีงบประมาณ 2559 2560 2561 2562 2563

ปริมาณผลผลิตทที่ ำไดจ้ ริงและแผนการตรวจวเิ คราะหย์ าเสพตดิ ปี 2559 -2563

จานวนตัวอ ่ยาง 140,000 114910 107116 127378
130,000 100000
120,000 120000 98650 2563
110,000 75320 100000
100,000
90,000 2559 2560 90000 85000
80,000
70,000 แผนการตรวจ 2561 2562
60,000
ปีงบประมาณ ผลการดาเนินงาน

สัดส่วนคา่ ใชจ้ ่ายจรงิ ตอ่ ค่าใช้จา่ ยตามแผน
สำหรับการใช้จ่ายงบประมาณ ในช่วง 4 ปีหลัง (ปี 2560-2563) กรมสามารถรักษาประสิทธิภาพได้

อย่างต่อเนื่อง โดยมีร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 98 ในขณะที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ
สนบั สนุนเพ่มิ สงู ข้ึนในทกุ ปี

Page | 13

ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณเปรยี บเทยี บกบั แผนระหว่างปี 2559-2563ร้อยละการใช้ ่จายงบประมาณ98.64
2563
110
100 99.98 99.96

100

90

80 71.83
70

60
ปีงบประมาณ 2559 2560 2561 2562

การประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพ
และเมื่อพิจารณาในส่วนของคุณภาพในการดำเนนิ งาน จากการที่กรมถือเป็นห้องปฏิบตั กิ ลางของประเทศ

จึงมีความจำเป็นต้องควบคุมคุณภาพในการปฏบิ ัติงานให้มมี าตรฐานที่ไดร้ ับการยอมรับในระดับสากล โดยกรมได้รับ
การรับรองมาตรฐานในส่วนท่เี กี่ยวข้อง ดงั น้ี

• งานตรวจพสิ จู น์ ได้รบั การรบั รองความสามารถตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2017 ต้งั แต่ปีพ.ศ.2550
• งานบริการทดสอบความชำนาญของสำนักยาและวัตถุเสพติด ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC

17043 : 2010 ต้ังแตป่ ีพ.ศ.2559

ผลผลติ ต่อทรพั ยากรสำคญั ท่ีใชใ้ นการดำเนนิ การ
ประกอบกับผลิตภาพในการปฏิบัติงานของการจัดทำรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ยาเสพติดเทียบกับ

จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน พบว่า มีแนวโน้มที่บุคลากรส่งมอบรายงานผลได้จำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยเมื่อสัดส่วน
ผลผลิตต่อทรัพยากรแบบปีต่อปี ระหว่างปี 2560 – 2563 คิดเป็นร้อยละ 30.97 16.48 -6.78 และ 18.92
ตามลำดับ โดยสามารถรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้แก่หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ทนั ตามระยะเวลาที่กำหนดรอ้ ย
ละ 100 แสดงให้เห็นถึงศักยภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏ ิบัติการด้านยาเสพติ ดของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ในปัจจุบันที่สามารถรองรับการดำเนินคดีความด้านยาเสพติดของประเ ทศได้อย่าง
เพยี งพอ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามจากการทจ่ี ำนวนบุคลากรท่ีมีอัตรากำลังคงที่ ในขณะทีจ่ ำนวนตัวอย่างส่งตรวจเพิ่มข้ึน
ทุกปี ในอนาคตอาจสง่ ผลกระทบต่อการใหบ้ รกิ ารตรวจได้อย่างทนั สถานการณไ์ ด้

สัดส่วนผลผลิตตอ่ ทรัพยากร

ปงี บประมาณ ตัวอยา่ ง / คน / ปี แนวโน้ม
2563 5789.91 -
2562 4868.91

2561 5223.18

2560 4484.09
2559 3423.64

Page | 14

ประสทิ ธผิ ลการดำเนนิ การ
ประสิทธิผลของโครงการพิจารณาใน 3 ส่วน คือ การตอบสนองตามวัตถุประสงค์ของโครงการในการ

มุ่งเน้นสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามปัญหายาเสพติดของประเทศ ผลประโยชน์ที่ได้จากจัดสรร
งบประมาณสนับสนุนงานตรวจวิเคราะห์ยาและวัตุเสพติดของกรม และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
ส่วนต่าง ๆ

ความสอดคล้องกับนโยบายประเทศ

การส่งมอบผลลัพธ์

ภารกจิ ผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏบิ ัตกิ ารท่ไี ดน้ ำไปใช้ประกอบการ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ดำเนนิ คดีและการบำบดั รกั ษาผเู้ สพยาเสพตดิ

แผนปฏิบัติการด้านการ 1. ประชากรวยั เส่ียงสูงไดร้ ับการสร้างภูมิคุ้มกัน และสรา้ งสภาพแวดลอ้ ม ทาง
ป้องกนั และปราบปรามยา สังคมเพื่อปอ้ งกันยาเสพตดิ โดยการมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาคส่วน

เสพติด พ.ศ. 2563 2. สกัดกั้นและปราบปรามการค้ายาเสพตดิ
3. กลุม่ ผู้ป่วยยาเสพตดิ ได้รับการประเมิน ดแู ลช่วยเหลอื บำบัดรกั ษาฟื้นฟู

และตดิ ตาม ตามระดับความรนุ แรงอย่างเหมาะสม

คำแถลงนโยบายของรัฐบาล 1. การสร้างความม่ันคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสขุ
ของประเทศ

2. การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ และสรา้ งความสงบสุขในพืน้ ทชี่ ายแดนภาคใต้

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ การพฒั นาเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพการป้องกันประเทศ เพอ่ื เตรียมความพร้อม
สงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 ในการรบั มอื ภยั คุกคามทั้งการทหารและภยั คกุ คามอ่นื ๆ

จากการที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ดำเนินการตรวจพิสูจน์ยาเสพติดในวัตถุต้องสงสัย และตรวจ
วิเคราะห์หาสารเสพติดในปัสสาวะของผู้ต้องสงสัยว่าเสพยาเสพติด ผลการตรวจที่ได้นำไปใช้ประกอบการ
ดำเนินคดีและการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดทั้งการตรวจเบื้องต้นและตรวจยืนยัน ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์ได้
ดำเนินการ ตามมาตรการการปราบปรามและการบังคับใช้กฎหมาย ท่มี เี ป้าหมายเพอื่ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ และ
ลดระดับความรนุ แรงของปัญหาตามยุทธศาสตรช์ าติ และนำไปสู่ ผลสมั ฤทธ์ิ “สังคมไทยปลอดภัยจากยาเสพติด
โดยบูรณาการนโยบาย และแผนแต่ละระดับที่เก่ียวข้อง มุ่งไปสู่การแกไ้ ขปัญหาได้อย่างประสาน สอดคล้องตาม
เป้าหมายที่กำหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2563 ซึ่งสอดคล้อง
กับนโยบายของรฐั บาลแถลงต่อรฐั สภาในวันพฤหสั บดีที่ 25 กรกฎาคม 2562 ทกี่ ำหนดนโยบายสำคัญ ในการ
เรง่ รดั การแกไ้ ขปญั หายาเสพติดโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน รวมถงึ การร่วมมือ
กับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศ ทุกภูมิภาค ปราบปรามแหล่งผลิตและเครือข่ายผู้ค้ายาเสพติด ทั้งบริเวณ
ชายแดนและพื้นที่ภายใน และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด รวมทั้งฟื้นฟู ดูแล รักษาผู้เสพผ่าน
กระบวนการทางสาธารณสุข ได้นำไปสู่การกำหนด และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560 - 2564) ที่ได้กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ในประเด็นการพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการ
ป้องกันประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยคุกคามทั้งการทหารและภัยคุกคามอื่น ๆ โดยดำเนิน

Page | 15

บทบาทเชิงรุก และใช้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศทั้งระดับภูมิภาคและพหุภาคี เพื่อปกปูองและรักษา
ผลประโยชน์ของไทย ตลอดจนเสริมสร้างขีดความสามารถแลกเปลี่ยนและเรียนรู้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศและ
ร่วมมอื ในการรบั มอื กับภยั คุกคามดา้ นความมัน่ คงระหวา่ งประเทศ

ซง่ึ จากทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น จะเหน็ ถึงการเช่อื มโยงนโยบายในระดบั ประเทศในการแก้ไขปญั หายาเสพติด
ซึ่งมีการบูรณการดำเนนิ การร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ถือเป็นกลไกที่สำคญั ในการ
คัดกรองและตรวจพิสจู นส์ ่งิ เสพตดิ ท่หี นว่ ยงานอ่นื ๆ ท่ีเก่ยี วข้องนำผลท่ไี ดไ้ ปส่กู ารป้องกันและปราบปรามยาเสพ
ติดตอ่ ไป

ผลประโยชนต์ อ่ คา่ ลงทนุ (Benefit Cost Ratio: B/C Ratio)
ผลประโยชนท์ างตรง

รายงานผลการตรวจพิสจู น์วัตถเุ สพตดิ เคมีภัณฑ์ สารตงั้ ต้น และผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพท่ีนำไปใช้ในทางที่ผิด
ใช้เป็นหลักฐานยืนยันในกระบวนการทางอรรถคดี ทำให้สามารถดำเนินการบทลงโทษแก่ผู้กระทำความผิดตาม
ตัวบทกฎหมายได้ และก่อให้เกิดการกักเก็บและทำลายของกลางวัตถุเสพติด เป็นการสกัดกั้นมิให้แพร่กระจาย
วัตถุเสพติดไปยังผู้ขายหรอื ผู้เสพติดหรือผู้ติดยาเสพติด เพื่อทำให้ลดการแพร่ระบาดของยาเสพตดิ และวัตถุออก
ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท สามารถประเมินเป็นมูลค่าหรือความคุ้มค่าในแง่การลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ มี
รายละเอียด ดงั นี้

• เมทแอมเฟตามีน/แอมเฟตามีน ไม่น้อยกว่า • นำ้ ตม้ พืชกระท่อม : ราคาขวดละ 40 – 50
เม็ดละ 50 บาท บาท (ขวดโค๊กเล็ก)

• ยาอี mdma/mda/mde เม็ดละ 100 – 500 • สารระเหย (Toluene)
บาท
• วตั ถอุ อกฤทธ์ิตอ่ จติ และประสาท ท่ีพบมาก
• ยาไอซ์ ไม่น้อยกว่า กรัมละ 2,050 บาท ทีส่ ุดคือ Diazepam, Alprazolam และ
Clonazepam ตามลำดบั
• กญั ชา กรมั ละ 500 – 1,100 บาท
• อื่นๆ เช่น อปุ กรณ์, codeine เปน็ ต้น

ผลประโยชน์ทางออ้ ม

การสนับสนุนสารควบคุมคุณภาพภายใน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้แจกจ่ายสารควบคุมคุณภาพ
ภายใน (Internal Quality Control, IQC) ไปยังหน่วยงานที่แจ้งความต้องการขอรับ ทำให้ผู้รับบริการสามารถ
นำไปใช้ประเมินคุณภาพชุดทดสอบเบื้องต้นสารเสพติดในปัสสาวะได้เอง ไม่น้อยกว่า 4,648 ชุด ดังน้ัน
ผู้รบั บริการจะสามารถลดคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั จ้างประเมินคุณภาพชุดทดสอบฯนี้ ในอัตราค่าบริการชดุ ละ 10,000
บาท (ตามประกาศระเบยี บกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)

การให้บริการงานทดสอบความชำนาญทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร (PT) ด้านตรวจพิสูจนส์ ารเสพติด ทำให้
สมาชิกได้พัฒนาทักษะความชำนาญในการตรวจวิเคราะห์ และเพิ่มความน่าเชื่อถือในผลการตรวจวิเคราะห์ของ
ห้องปฏิบัติการสมาชิกได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมทั้งอาจไม่มีความจำเป็นเสียค่าใช้จ่ายในการสมัครเข้าร่วม
โครงการ PT ของหน่วยงานอื่นอีกทั้งในและต่างประเทศ ทำให้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
2562 มีจำนวนรวม 848 แห่ง และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวนรวม 715 แห่ง ทำให้สามารถลดค่าใชจ้ ่าย
น้ีได้ ประมาณแห่งละ 2,000 บาท

Page | 16

มูลค่าผลประโยชน์ (ลา้ นบาท)
ผลประโยชนท์ างตรง ผลประโยชนท์ างอ้อม 48.18 1,995.7105

2562 1,947.53 43.43 1,067.9625

2563 1,024.53

จากมูลคา่ ผลประโยชน์ท่ีได้ นำมาสู่การประเมนิ ผลประโยชนต์ ่อค่าลงทุนของโครงการโดยเปรียบเทียบแบบปีต่อ
ปี พบว่า ในปี 2563 มีอัตราที่ลดลงจากปี 2562 เนื่องจากชนิดของสิ่งส่งตรวจที่มีผลต่อการประเมินมูลค่า
ผลประโยชนใ์ นแตล่ ะปี รวมถึงการประเมินในปี 2563 คิดจากผลงานรอบ 10 เดือน ทำให้การประเมินมูลค่าต่ำ
กวา่ ทค่ี วรจะเปน็

ปงี บประมาณ Benefit – Cost Ratio
2562
2563 17.8336
11.9974

การวเิ คราะห์ตน้ ทุนประสิทธผิ ล (Cost – Effectiveness analysis)
จากการที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานในการตรวจ

วิเคราะห์ทางห้องปฏบิ ัติการเพื่อพิสจู น์ยนื ยันยาเสพติดตามกฎหมาย จึงไม่สามารถเทยี บเคียงกับหนว่ ยงานหรือ
โครงการอื่นได้ ดังนั้นในการประเมินความคุ้มค่าต้นทุนประสิทธผิ ลจึงเปรยี บเทียบในมิติระยะเวลาในการดำเนิน
โครงการเพื่อดูความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ พบวา่ ตน้ ทุนประสทิ ธิผลมีแนวโน้มท่ีลดลงตามลำดับ แสดงให้เห็นถึง
ศักยภาพในการควบคุมต้นทุนการตรวจวิเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประการ เช่น การ
พัฒนาวิธตี รวจวเิ คราะห์ใหม่ การผลิตและจัดหาสารมาตรฐานทดแทนการนำเขา้ จากต่างประเทศ เปน็ ต้น

1400 1322.17

1300

Cost – Effectiveness Ratio 1200

1100 1044.73

1000

900 879.75 884.28 843.53

800

700

600

2559 2560 2561 2562 2563

Page | 17

ระดับความพงึ พอใจของผ้รู ับบรกิ ารทมี่ ตี ่อผลประโยชนจ์ ากการใช้บริการ
จากผลสำรวจความพึงพอใจต่อการให้บริการจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้านวัตถุเสพติด ประจำปี

งบประมาณ (รอบที่ 1 และ 2) พบว่า ในปี 2563 ในงานรับตัวอย่างด้านวัตถุเสพติด และงานทดสอบความ
ชำนาญทางห้องปฏิบัติการด้านวัตถุเสพติด กลุ่มเป้าหมายของโครงการมีระดับความพึงพอใจเพิ่มสูงขึ้นจากปีที่
ผ่านมา โดยในงานรับตวั อย่างดา้ นวตั ถุเสพติด ประเด็นทม่ี รี ะดบั ความพงึ พอใจสงู สุด คอื เจ้าหน้าท่ีทีใ่ หบ้ รกิ าร ณ
จุดรับตัวอย่างมีความเต็มใจ กระตือรือร้นในการให้บริการและสามารถให้คำแนะนำได้อย่างถูกต้อง และงาน
ทดสอบความชำนาญทางห้องปฏบิ ัติการด้านวัตถเุ สพตดิ ประเด็นทีม่ รี ะดับความพงึ พอใจสูงสดุ คอื การใหบ้ รกิ าร
คมุ้ ค่ากับการนำไปใชป้ ระโยชน์

กลมุ่ เป้าหมาย ปี 2562 ปี 2563
92.30 94.22
- สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาต,ิ กรมราชทัณฑ์,
งานรับตวั อยา่ งดา้ นวตั ถุ กรมสอบสวนคดีพิเศษ, สถานพยาบาลรัฐ,
เสพติด บริษทั /ห้างหนุ้ สว่ น เป็นต้น

งานทดสอบความชำนาญ - สถานพยาบาลของรฐั , สถานพยาบาลของ 84.75 87.82
ทางห้องปฏิบัติการดา้ น เอกชน, สถานตรวจพิสจู น์, สถาบันการศึกษา
วตั ถุเสพติด (Proficiency / มหาวิทยาลยั เป็นตน้

testing, PT)

ประเดน็ ความคาดหวัง / ตอ้ งการที่สำคัญ
- มีความต้องการให้สนบั สนนุ สารควบคุมคุณภาพภายใน (Internal Quality Control, IQC) ทง้ั จากหนว่ ยงาน

ภาครัฐและภาคเอกชน
- ขอใหเ้ พมิ่ บริการงานบริการทดสอบความชำนาญทางห้องปฏบิ ตั ิการ (PT) เชน่

o อยากให้ทำ PT ปลี ะ 2 ครงั้
o เพ่มิ รายการตรวจอน่ื ๆ
- ความสะดวกในการส่งตวั อย่างด้านวัตถุเสพตดิ
o เพ่ิมจำนวนท่จี อดรถให้เพยี งพอ
o ห้องนำ้ อยู่ไกล

o ลดขน้ั ตอนการบรกิ าร

Page | 18

ผลกระทบของโครงการ

ประเดน็ รายละเอียด
❑ การประเมนิ ผลกระทบ 1. การตรวจพิสูจน์ยาเสพติดด้วยกระบวนการทางห้องปฏิบัติการ ทำให้

ตอ่ ประชาชน คัดกรองกลมุ่ ผู้ต้องสงสยั ได้อยา่ งถูกต้อง น่าเช่อื ถอื สามารถดำเนินคดีที่
เกี่ยวกับด้านยาเสพติดได้อย่างเป็นธรรม โดยในปี 2562 สามารถ
ดำเนนิ การจบั กมุ ได้ 992 คดี ผ้ตู อ้ งหา 1,933 คน
2. เป็นกลไกในการสนับสนุนการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงกับปัญหาด้านยาเสพ
ติด เช่น สถานศึกษา ชุมชนที่มีปัญหายาเสพติดในระดบั รนุ แรง โดยใน
ปี 2562 สามารถดำเนินการป้องกันยาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
ในสถานศึกษา 9,372,491 คน กลุ่มผู้ใช้แรงงานและผู้ประกอบการ
1,664,754 คน

❑ การประเมนิ ผลกระทบ ข้อมูลรายงานผลการตรวจพิสูจน์และผลการตรวจจากชุดทดสอบ เป็นการ
ต่อเศรษฐกจิ สนับสนุนกระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทำให้ลดการ
สูญเสียค่าใช้จ่ายไปในการบำบัดรักษาพยาบาลผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และ
ลดการสูญเสียประชากรที่เป็นกำลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ทั้งการ
เสยี ชวี ิตและทุกพลภาพ จากปัญหายาเสพติด โดยในปี 2562 ประชากรไทย
มีรายได้เฉลี่ย 100,716.5 บาทต่อปี (อิงจากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ)
และมีจำนวนผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการรักษา 214,515 คน คิดเป็นมูลค่า
การสูญเสียโอกาสจากการสร้างรายได้ของประชากรกลุ่มนี้ ประมาณ
21,605 ล้านบาทต่อปี

❑ การประเมนิ ผลกระทบ ทำให้ผูเ้ สพ และผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ที่มผี ลการตรวจพิสูจนย์ นื ยัน ไดร้ ับการบำบัด
ตอ่ สังคม รักษา ฟ้นื ฟูโดยหนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ และผทู้ ไ่ี ดร้ บั การบำบดั แล้ว สามารถ
กลับคืนสู่สังคมและครอบครัว ใช้ชีวิตได้ตามปกติและไม่เป็นปัญหาของ
สังคมต่อไป โดยในปี 2562 มีผู้ประสงค์ขอรับความช่วยเหลือกลับคืนสู่
สงั คม 6,035 ราย และให้ความช่วยเหลือ 1,003 ราย

❑ การประเมินผลกระทบ ภัยยาเสพติดลดลง ส่งผลให้เกิดสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมที่ดี ประชาชน
ต่อการเมือง เป็นสุข ส่งผลให้การเมืองเกิดความมั่นคง ทั้งนี้จากการประเมินสถานะ
ปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยสำนักงาน ป.ป.ส. ร่วมกับ กรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทย เมื่อเดือนกันยายน 2562 พบว่า หมู่บ้าน/
ชุมชนที่ไม่มีปัญหายาเสพติด จำนวน 57,789 แห่ง หรือร้อยละ 70 ของ
หมบู่ า้ น/ชุมชนทวั่ ประเทศ

❑ การประเมนิ ผลกระทบ งานตรวจวิเคราะหท์ างห้องปฏบิ ตั ิการ ตอ้ งสมั ผัสหรือใกลช้ ดิ กับสารเคมี ทำ
ตอ่ ผู้ปฏิบตั งิ าน ให้เกดิ ความเสีย่ งอันตรายต่อสุขภาพ เชน่ ระคายเคืองผิวจากการกัดกร่อน,
รบกวนระบบทางเดินหายใจจากการสูดดม, อาการแพ้, เพิ่มความเสี่ยงเกิด
โรคมะเร็งจากสารก่อมะเร็ง เป็นต้น รวมทั้งตัวอย่างปัสสาวะที่มีเชื้อโรค ท่ี
ผู้ปฏบิ ตั งิ านอาจติดโรคได้

Page | 19

ขอ้ เสนอแนะ

ปรับปรุงภารกิจให้สามารถดำเนินงานทางห้องปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำมากยิ่งขึ้น
รวมทั้งลดต้นทุนงานตรวจวิเคราะห์ เช่น การวิจัยและพัฒนาวิธีวิเคราะห,์ การใช้เครื่องมือที่ทันสมัยและทำงาน
ได้ตลอด 24 ชั่วโมง, การตรวจพิสูจน์ที่ครอบคลุมสารเสพติดชนิดต่าง ๆ หรือสารเสพติดชนิดใหม่ได้ เป็นต้น
รวมทั้งสามารถรองรับปริมาณงานที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี รวมถึงการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับหน่วยงาน
ภายนอก ท้ังภายในประเทศและตา่ งประเทศ

นอกจากนี้ ควรมีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการปฏิบัติงาน ทั้งด้าน Hardware,
Software และเครอื ข่าย เพ่ือใหผ้ ลดำเนนิ งานมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ เชน่

- เครือข่ายการสำรองข้อมูล ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน คล้ายต้นฉบับ และมีความทันสมัย รวมทั้งแสดง
แหล่งทม่ี า เพอ่ื ใหส้ ามารถสอบกลับได้ หรือขอ้ มูลประกอบการพิจารณาคดีเพ่ิมเติมหากต้องการ รวมทั้ง
ง่ายตอ่ การจัดเก็บและสบื คน้

- การจัดทำเหมืองข้อมูล / Data center เพื่อรวบรวมผลการดำเนินงานในภาพรวม จากทุกหน่วยงาน
ย่อยได้ และประมวลผล เพื่อให้ได้องค์ความรู้ และผู้บริหารสามารถนำไปใช้ประกอบการพิจารณา
ตดั สินใจ

- ความปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ เพ่ือรักษาความลบั ข้อมูล เช่น ขอ้ มูลผู้ต้องหา, ผลการตรวจพิสูจน์
เปน็ ตน้

- พฒั นาสือ่ ดิจิทลั เช่น Website เป็นตน้ เพ่ือใชต้ ดิ ตอ่ ประสานงาน และเผยแพร่องค์ความรู้แก่ประชาชน
ไดด้ ียง่ิ ขึ้น

Page | 20

โครงการพัฒนาเครือข่ายวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ชมุ ชน

ภาพรวมการดำเนนิ การ

ตามที่ประเทศได้กำหนดวิสัยทัศน์ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ไว้ว่า “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง
ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยเป้าหมายหนึ่งในนั้น คือ
การมุ่งเน้นสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ของคนไทยให้มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริม
สุขภาพและการป้องกันโรคได้ด้วยตนเอง ซึ่งได้ถ่ายทอดสู่แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขที่ต้องการผลักดันให้
เกิดการป้องกันมากกว่าการรักษาภายใต้ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ (Promotion
Prevention & Protection Excellence) โดยกำหนดเปา้ หมายให้นำองค์ความรู้และนวัตกรรมสุขภาพถ่ายทอดให้
ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถจัดการสุขภาพด้วยตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีเครือข่ายการสร้างเสริม
พฤติกรรมสุขภาพในระดับพนื้ ที่

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจหลักในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนา
ความรู้และเทคโนโลยี ทำให้เกิดองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่สามารถ
นำไปใชป้ ระโยชน์ในการส่งเสริมสุขภาพ ปอ้ งกันการเกิดโรค และเฝ้าระวังปัญหาสขุ ภาพ ตลอดจนการสนับสนุน
ระบบการประกันคุณภาพและการคุม้ ครองผู้บรโิ ภคของประชาชน ได้น้อมนำหลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ตาม
กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เป็นหลักปฏิบัติในการพัฒนางาน
วทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชน “Community Medical Sciences : Com Med Sci” เพอ่ื ให้การดำเนินงานของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถถ่ายทอดความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสู่ประชาชนในชุมชนได้คลอบ
คลุมมากยิ่งขึ้น ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง และหน่วยงานในส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง ได้ดำเนินงาน
วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน อยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปจั จบุ ัน กอ่ ให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ขิ องการนำ
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไปสู่การสร้างสุขภาวะของชุมชน หรือ“Community Medical
Sciences for health : Com Med Sci for health” ซง่ึ มีกจิ กรรมหลกั 2 ด้าน (2 D) คอื

(1) การแจ้งเตือนภัยสุขภาพ (Detection) โดยจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหา
ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบล อำเภอ รวมถึงการพัฒนาและส่งเสริม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ
หมู่บ้าน ให้เป็น “อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน” ที่มีความสามารถในคัดกรองผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่
ปลอดภัยโดยใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งเป็นกลไกหลักที่ช่วยขับเคลื่อนศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ
ตลอดจนการสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพในการคุ้มครองผู้บริโภคผ่านทางหน้าต่างเตือนภัยสุขภาพ “กรม
วิทย์ with you” ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ก่อให้เกิดการขับเคลื่อนเครือข่ายการบูรณาการทำงานใน
การป้องกันและแก้ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคของชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เกิดการเปลี่ยนแปลง เป็น
นโยบาย ไดน้ วัตกรรมใหมท่ ่มี งุ่ เนน้ การสร้างเสริมศักยภาพ การบรหิ ารจดั การงานคุ้มครองผบู้ รโิ ภคของชุมชน
ให้มีความเขม้ แข็ง

Page | 21

จำนวนอำเภอที่มีศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563
220
200
180
160
140
120
100 162 186 203

2561 2562 2563

(2) การพัฒนาคุณภาพและกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือ OTOP/SMEs (Development) เป็นการ
พัฒนากระบวนการผลิตหรือคุณภาพผลิตภัณฑ์ (Process & Products) เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพเป็นไป
ตามมาตรฐานที่กำหนดและมีความปลอดภัยจากการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ วัตถุกันเสีย สีผสมอาหาร และ
โลหะหนัก เป็นต้น โดยการยืนยันด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ทางห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ การ
พัฒนาคุณภาพและกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนจะแบ่งผลิตภัณฑ์ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผลิตภัณฑ์
อาหารและเครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางผสมสมุนไพร ซึ่งเป็นการขยายกิจกรรมการดำเนินงาน
วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนสู่การส่งเสริม/พัฒนา และยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ให้มีคุณภาพได้
มาตรฐาน โดยสนับสนุนองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพ
ผู้ประกอบการให้พร้อมสู่กระบวนการขอรับรองมาตรฐาน เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการในการ
แข่งขัน สร้างความเชื่อมัน่ ใหก้ ับนกั ท่องเทีย่ วและประชาชนในการบริโภคผลิตภณั ฑ์อาหารและเครื่องสำอาง
ผสมสมุนไพร อันจะส่งผลดีต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการลงทุน และสนับสนุนมาตรการทาง
เศรษฐกจิ ตามนโยบายเรง่ ดว่ นของรัฐบาล สอดรับกบั แผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี เร่ือง Thailand 4.0 ท่ีจะนำ
ประเทศไทยสคู่ วามมน่ั คง ม่งั คงั่ และย่งั ยืน

Page | 22

จำนวนผลิตภัณฑ์ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพ สู่ Smart
Product ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563

60

50

40

30

20

10
42 30 53

0
2561 2562 2563

3.

ตาราง: งบประมาณสนบั สนนุ โครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยวทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชนระหวา่ งปี 2559-2563

ปีงบประมาณ งบประมาณ ใช้จา่ ย คดิ เปน็ ร้อยละ
2563 11.5896 11.2011 96.65%
2562 12.3000 12.0548 98.01%
2561 7.3700 7.3653 99.94%
2560 5.6000 5.5709 99.48%
2559 7.0200 6.3401 90.31%

Page | 23

การวเิ คราะหผ์ ลการศกึ ษา

ประสทิ ธิภาพการดำเนินงานตามภารกจิ
แผนงานการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนเป็นโครงการต่อเนื่องที่มุ่งเน้นการนำองค์

ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ไปสู่การใช้ประโยชน์ทางการด้านสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ซึ่งในแต่ละ
ปีงบประมาณได้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการแตกต่างกันไปตามนโยบายผู้บริหาร และสถานการณ์
ทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศที่เปลี่ยนไป ซึ่งหากพิจารณาพบวา่ มีตัวชี้วัดของโครงการ 2 ตัว
ที่เป็นตัวบ่งช้ีประสิทธิภาพตามเป้าหมายภารกิจหลกั ของแผน คือ 1) อำเภอศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวัง และรับ
เรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน และ 2) ผลิตภัณฑ์ชุมชน (SME/OTOP) ได้รับการพัฒนาเพ่ือ
ยกระดบั คุณภาพ สู่ Smart Product

การจัดตั้งศูนย์แจ้งเตอื นภยั เฝ้าระวังและรบั เรื่องรอ้ งเรียนปญั หาผลิตภณั ฑ์สุขภาพ มีการยกระดับแนว
ทางการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จากการพฒั นาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้านสู่การจัดตั้งศูนย์
เฝา้ ระวงั และแจง้ เตือนภยั ต้นแบบระดับชมุ ชนและขยายผลสอู่ ำเภอจัดการสขุ ภาพ ซ่งึ หากพจิ ารณาเฉพาะผลการ
ดำเนินงานเปรียบเทียบกบั เป้าหมายจำแนกแต่ละปี ถือว่ามีความสำเร็จท่ีน่าพงึ พอใจเปน็ อย่างมาก แต่อย่างไรก็
ตาม แนวโน้มผลลัพธ์ท่ีได้ลดลงตามลำดับ โดยระหว่างปี 2561 – 2563 มีการจัดตั้งเพิ่มขึ้น 58 24 17 แห่ง
ตามลำดับ รวมถึง ไม่สามารถระบุรายชื่อศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ ทั้งหมดที่ได้ดำเนินการจัดตั้งจนถึงปัจจุบันได้
ในขณะที่การกำหนดเป้าหมายของโครงการยังขาดความท้าทายและสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแต่ตอย่างใด
โดยระหว่างปี 2561 – 2563 มีการกำหนดเป้าหมายโครงการ 6 8 และ 8 แห่งตามลำดับ เท่านั้น อีกประเด็นท่ี
สำคัญคือ การพฒั นาและส่งเสริม อสม. ให้เปน็ อสม.วิทยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชน ทดี่ ำเนินการรว่ มกับกรมสนับสนุน
บริการสขุ ภาพ พัฒนาหลักสูตร อสม.ใหม้ ีศักยภาพเฝา้ ระวังปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพในพนื้ ที่เบอื้ งตน้ ได้ดว้ ยตนเอง ซ่ึง
ถอื เปน็ ปจั จัยสำคัญสำหรับสนับสนุนการจัดต้งั ศูนย์เฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยต้นระดับอำเภอ โดย ในปี 2563 มี
ข้อมูลผลดำเนินงาน 80,490 คน แต่ไม่สามารถสืบค้นข้อมูลย้อนหลังในอดีตได้ว่าภาพรวมของโครงการมีการ
พฒั นา อสม. เปน็ จำนวนเทา่ ไรและอยใู่ นพืน้ ทใ่ี ดบา้ งไดอ้ ยา่ งชดั เจน

อำเภอศูนยแ์ จ้งเตอื นภัย เฝ้าระวงั และรับเร่ืองร้องเรยี นปัญหาผลิตภณั ฑ์สุขภาพในชุมชน

1200 58ระ ัดบความสาเร็จ (ร้อยละ)24 60
1000 ่คาเป้าหมายและผลการดาเนินงาน (อาเภอ)50
800 966.67 8 17 40
8 30
600 300.00 20
212.50 10
400 2562 0
2563
200 6 เป้าหมาย
0 ผลลัพธ์
2561

รอ้ ยละความสาเรจ็

Page | 24

สำหรับการพัฒนาคุณภาพและกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน มีเป้าหมายพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์
SME/OTOP ด้าน สมุนไพรเครื่องสำอางและอาหาร สู่ Smart Product รวมไปถึงกำกับดูแลให้ผลิตภัณฑ์ที่ผา่ น
การรับรองสามารถรักษามาตรฐานไว้ได้ พบว่า มีการกำหนดเป้าหมายเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อ
พิจารณาประกอบกับผลการดำเนินงานในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา มีระดับความสำเรจ็ ที่สูงเกินเป้าหมายไปมาก โดยมี
ระดับความสำเร็จมากกว่าร้อยละ 300 ในทุกปี สะท้อนให้เห็นถึงการกำหนดเป้าหมายไว้ต่ำกว่าศักยภาพการ
ดำเนนิ งานจริงเปน็ อยา่ งมาก

จำนวนผลติ ภัณฑข์ อง SME/OTOP ท่ไี ดร้ ับการส่งเสรมิ และสนับสนุนการพฒั นาศักยภาพ

ระดับความสาเร็จ (ร้อยละ) 600 60 ่คาเ ้ปาหมายและผลการดาเนินงาน (ผลิตภัณฑ์)
53 50
500
400 42 40

300 30 30

200 16 20
100 8 10 10

0 525.00 300.00 331.25 0

2561 2562 2563

รอ้ ยละความสาเร็จ เปา้ หมาย ผลลพั ธ์

สัดส่วนคา่ ใช้จ่ายจริงตอ่ ค่าใช้จา่ ยตามแผน
สำหรบั การใชจ้ า่ ยงบประมาณ ในชว่ ง 4 ปีหลงั (ปี 2560-2563) มแี นวโนม้ ที่ลดลงเลก็ นอ้ ย แตอ่ ย่างไรก็

ตามยังสามารถรักษาประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในขณะที่งบประมาณได้รับ
จัดสรรมีแนวโน้มทเ่ี พิ่มสงู ขึ้นในทกุ ปี ยกเว้นปี 2563 ทม่ี ีอตั ราการเติบโตของงบประมาณลดต่ำลงรอ้ ยละ 5.78

รอ้ ยละผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณเปรียบเทียบกบั แผนงบประมาณ ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563

101

100

้รอยละการใช้จ่ายงบประมาณ 99

98

97

96

95 99.48 99.94 98.01 96.65
94

2560 2561 2562 2563

Page | 25

ร้อยละอัตราการเติบโตของงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร (เปรียบเทียบปีต่อปี) ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ.
2560 - 2563

180
160 166.89
ร้อยละ ัอตราการการเ ิตบโต (Year/Year)
140
131.61

120

100 94.22
80 79.77

60

40
2560 2561 2562 2563

การประกันคณุ ภาพและควบคมุ คุณภาพ
จากการที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นหน่วยงานอ้างอิงทางห้องปฏิบัติการของประเทศได้มีการนำ

ระบบคุณภาพมาตรฐานในระดับสากลมาปรับใช้ในการดำเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการพัฒนาเครือข่าย
วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ุมชนเป็นงานภารกิจท่ีเกีย่ วข้องกับการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้อ้างอิง
ตามหลกั เกณฑ์และระเบียบตามท่ีกฎหมายกำหนดไว้ โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

• ประกาศต่าง ๆ ตามความในกฎหมายที่เกีย่ วข้อง เช่น พระราชบญั ญัติอาหาร พ.ศ. 2522 และ
พระราชบญั ญัติเคร่ืองสำอาง พ.ศ. 2558 เป็นต้น ในเรอ่ื ง กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน หลกั เกณฑเ์ ง่ือนไข
และวิธกี ารในการตรวจวิเคราะห์ของสงิ่ สิ่งตรวจ

• ระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ทเ่ี ป็นมาตรฐานสากลในเป็นการประเมินความสามารถทาง
วชิ าการของห้องปฏบิ ตั ิการ ครอบคลุมท้ังดา้ นของการบรหิ ารจัดการหอ้ งปฏิบัติการ ตั้งแต่การเตรียมตวั อย่าง
ถึงความชำนาญในการวเิ คราะห์ทดสอบ ถึงการเก็บบันทึกและการรายงานผล

• วิธมี าตรฐานการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ซง่ึ เป็นวธิ กี ารตรวจวิเคราะห์ทางวิชาการสำหรบั ตัวอยา่ ง
อาหารและผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพต่าง ๆ ทีม่ ีความถูกต้องและเหมาะสม (Performance characteristic) มผี ล
การประเมนิ ความใช้ได้ (Validation) ของผลการทดสอบวา่ มคี วามถูกต้อง

ผลผลติ ต่อทรัพยากรสำคญั ท่ีใชใ้ นการดำเนินการ
ในการดำเนินงานพฒั นาเครอื ข่ายวิทยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชนให้ประสบผลสัมฤทธิ์ จำเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ี

ต้องอาศัยปจั จยั นำเขา้ ต่าง ๆ ทีใ่ ชใ้ นการดำเนินการ และสง่ มอบผลผลติ ตามเปา้ หมายของโครงการต่อไป ซึ่งใน
ส่วนของทรัพยากรสำคัญที่ใช้ในการดำเนนิ งานประกอบด้วย

Page | 26

ประเภท รายละเอยี ดทรพั ยากร
ดา้ นกระบวนการ
ด้านบคุ ลากร องค์ความรู้ของกรมทนี่ ำไปสูก่ ารจัดทำหลกั สตู รอบรมตา่ งๆ คู่มือการ
ดา้ นสินทรพั ย์ทรพั ยากร ดำเนนิ งานศนู ย์แจ้งเตือนภยั ฯ ท่ีสามารถนำมาใช้ในการพัฒนา
ศักยภาพ อสม./ศูนยแ์ จง้ เตือนภัย ตลอดจนผปู้ ระกอบการ
ดา้ นอ่ืน ๆ
มีบุคลากร เช่น เภสัชกร นักวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ท่ีมีความรู้ และ
ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ในการตรวจวเิ คราะหผ์ ลิตภณั ฑ์สุขภาพ
ตลอดจนให้คำแนะนำที่จำเป็นในการพัฒนาผลติ ภณั ฑอ์ าหารและ
เครอ่ื งสำอาง

- มีระบบสารสนเทศสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น Application เชน่
1) กรมวิทย์ with you 2) Mushroom image matching 3) BP
sure เป็นต้น
- มหี ้องปฏบิ ตั ิการท่ีมีความพรอ้ มและได้มาตรฐาน สำหรับการพัฒนา
งานวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ในการยนื ยันสารหา้ มใช้ในอาหาร
ยา เคร่อื งสำอาง และการตรวจสอบคณุ ภาพของกระบวนการผลิต
อาหาร เคร่ืองสำอาง เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของเครอื ข่ายฯ

ภาคเี ครอื ขา่ ยทีร่ ว่ มในดำเนินงาน เช่น ศูนย์วชิ าการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค
ดา้ นสขุ ภาพ (คคส.) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ธนาคารเพื่อการส่งออก
และนำเขา้ แห่งประเทศไทย (ธสน.) (Export-Import Bank of
Thailand หรอื EXIM Bank) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กอง
สนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน (กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ)
สำนักงานพฒั นาชุมชน ในพื้นท่ี เป็นตน้

แต่อย่างไรก็ตาม โครงการยังไม่ปรากฏข้อมูลรายละเอียดบ่งชี้ในเชิงจำนวน/ปริมาณของทรัพยากร
สำคัญท่ีใชใ้ นการดำเนินการอยา่ งชัดเจน จึงเปน็ เหตใุ ห้ไมส่ ามารถวเิ คราะห์ถึงประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร
ต่อการสง่ มอบผลผลติ ของโครงการได้

Page | 27

ประสิทธผิ ลการดำเนนิ การ
ประสิทธิผลของโครงการพิจารณาใน 3 ส่วน คือ การตอบสนองตามวัตถุประสงค์ของโครงการในการ

มุ่งเน้นพัฒนาเครือข่ายในระดับพื้นที่ให้มีศักยภาพในการดูแลตนเองด้านสาธารณสุข ผลประโยชน์ที่ได้จาก
จัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ และความพึงพอใจของผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียในส่วนต่าง ๆ

ความสอดคล้องกบั นโยบายประเทศ

การสง่ มอบผลลัพธ์

ภารกิจ 1. เกดิ เครอื ขา่ ยงานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคและวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ชุมชน ที่
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีความน่าเชือ่ ถอื ทนั สมัย และสามารถตอบปญั หาทางการแพทยแ์ ละ
สาธารณสุขได้อยา่ งทันเหตุการณ์
2. ผลิตภณั ฑช์ ุมชน (OTOP) ได้รบั การพัฒนาใหม้ คี ณุ ภาพปลอดภัยและได้
มาตรฐาน และยกระดบั ผลติ ภณั ฑส์ ู่ Smart Product

ยุทธศาสตร์กระทรวง 1. มีองคค์ วามรู้นวัตกรรมสุขภาพชมุ ชน
สาธารณสขุ 2. มีกำลังคนดา้ นสขุ ภาพในชมุ ชนทม่ี ี ศักยภาพและเป็นแกนหลกั ในการดแู ล

และจดั การด้านสุขภาพของประชาชน
3. มีเครอื ข่ายการคุม้ ครองประชาชนด้าน ข้อมูลข่าวสาร ความรูส้ ขุ ภาพ
4. มชี ุมชนทเ่ี ข้มแข็ง สามารถจดั การสุขภาพด้วยตนเองได้ตามเกณฑท์ ี่กำหนด

คำแถลงนโยบายของรฐั บาล 1. ส่งเสรมิ การป้องกนั และควบคุมปจั จัยเสยี่ งตอ่ สุขภาพ โดยการพัฒนา
องคค์ วามรดู้ ้านสุขภาวะทีถ่ ูกต้องของคนทุกกลุ่มวยั และส่งเสริมให้
ชมุ ชนเปน็ ฐาน ในการสรา้ งสุขภาวะท่ดี ีในทกุ พื้นท่ี

2. พัฒนาและยกระดับความรอู้ าสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน
(อสม.) ใหเ้ ป็นหมอประจำบ้าน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ พฒั นาใหค้ นมคี วามรูใ้ นการดแู ลสขุ ภาพ มีจิตสำนกึ สขุ ภาพท่ีดี และมีการ
สงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 คัดกรอง พฤติกรรมสขุ ภาพด้วยตนเองผา่ นช่องทางการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย
และกำกบั ควบคมุ การเผยแพร่ชดุ ข้อมลู สขุ ภาพท่ีถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ

จากการที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้จัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายในระดับพื้นที่มีศักยภาพ ตอบสนองปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขได้
อย่างทันเหตุการณ์ รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP/SMEs) ให้มีคุณภาพปลอดภัยและได้มาตรฐาน ซ่ึง
ตอบสนองยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ (Promotion Prevention & Protection
Excellence) ภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดเป้าหมาย มีเครือข่ายการคุ้มครองประชาชน
และชุมชนที่เข้มแข็ง มีศักยภาพในการดูแลและจัดการด้านสุขภาพด้วยตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยอาศัย
องค์ความรู้ นวัตกรรมสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลแถลงต่อรัฐสภาในวันพฤหัสบดีที่ 25
กรกฎาคม 2562 ในประเด็น การส่งเสริมการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยการพัฒนาองค์
ความรดู้ ้านสุขภาวะท่ถี กู ตอ้ งของคนทกุ กลมุ่ วัย และสง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนเปน็ ฐาน ในการสรา้ งสขุ ภาวะทีด่ ีในทุกพ้ืนท่ี
และการพฒั นายกระดับความรู้อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้เปน็ หมอประจำบ้าน นอกจากนี้
ผลลัพธ์ที่ได้จะส่งผลต่อเป้าหมายในระยาวของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.

Page | 28

2560 – 2564) ในด้านการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนคำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ โดย
พัฒนาให้คนมีความรู้ในการดแู ลสขุ ภาพ มีจิตสำนึกสุขภาพท่ีดี และมีการคัดกรอง พฤติกรรมสุขภาพดว้ ยตนเอง
ผา่ นชอ่ งทางการเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย และกำกับควบคุมการเผยแพรช่ ดุ ข้อมลู สขุ ภาพท่ีถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ

ผลประโยชนต์ อ่ คา่ ลงทุน (Benefit Cost Ratio: B/C Ratio)
ผลประโยชนท์ างตรง

ผ้ปู ระกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ได้รบั ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ไดร้ ับจากโครงการฯ
ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ให้ถูกหลักวิชาการ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ สร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวและ
ประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในเชิงเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็งและยั่งยืนในการ
แข่งขันทั้งในตลาดในประเทศและต่างประเทศ ส่งผลใหผ้ ู้ประกอบการสามารถเพิ่มรายไดจ้ ากการขายสินค้าโดย
สามารถคดิ มูลคา่ เป็นจำนวนเงินไดม้ ากขึน้

แต่อยา่ งไรก็ตามยงั ไมม่ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์มูลคา่ ในเชงิ เศรษฐศาสตร์

ผลประโยชนท์ างอ้อม
ประชาชนและชุมชนในพื้นที่มีรายได้จากการดำเนินงานผู้ประกอบการ เช่น การจ้างงาน การจัดส่ง

วัตถดุ บิ ขายให้แก่ผู้ประกอบการ เป็นต้น
แตอ่ ย่างไรกต็ ามยังไมม่ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์มลู คา่ ในเชงิ เศรษฐศาสตร์

มลู ค่าผลประโยชน์
ไม่สามารถประเมินผลในสว่ นนไ้ี ด้

การวิเคราะห์ต้นทนุ ประสิทธิผล (Cost – Effectiveness analysis)
สำหรบั ประสทิ ธภิ าพในการควบคุมต้นทนุ การดำเนนิ การของโครงการ พบวา่ ภายใต้ภารกิจจดั ต้ังศนู ย์

แจง้ เตอื นภยั ฯ มตี น้ ทนุ ตอ่ หนว่ ยผลผลิตเพม่ิ สูงขน้ึ ทกุ ปี โดยระหว่างปี 2561-2563 มีคา่ 28,522 112,813
153,119 บาท/แหง่ ตามลำดบั สะท้อนใหถ้ งึ การบรหิ ารจัดการใหเ้ กิดผลสัมฤทธย์ิ ังไมม่ ปี ระสิทธภิ าพเท่าท่ีควร
สำหรบั ในสว่ นของการพฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชน ยงั มีแนวโนม้ ท่ีไม่ชดั เจน แต่อยา่ งไรก็ตาม ในปี 2563 มตี ้นทุนต่อ
หนว่ ยการผลติ ท่ลี ดจาก ถึงรอ้ ยละ 47.84 เทียบกับปี 2562 ซึง่ หากในปีงบประมาณถดั ไปสามารถรักษาระดับ
ต้นทุนต่อหนว่ ยไม่ให้สงู ขน้ึ จะเป็นการแสดงใหเ้ ห็นถึงความสามารถในการบริหารได้อย่างชัดเจนยิ่ง นอกจากน้ีมี
ประเดน็ ทต่ี ้องพงึ สังเกต คือ ท้ังสองกิจกรรมหลกั มีกระบวนงานย่อยที่ต้องสง่ ต่อผลผลิตในหลายสว่ น จึงอาจจำเป็น
ทต่ี อ้ งมีการวเิ คราะห์ลงรายละเอยี ดย่อยแตล่ ะสว่ นต่อไป

การจัดตัง้ ศนู ย์แจง้ เตือนภัย เฝ้าระวงั และรับเรื่องร้องเรยี นปัญหาผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพ

200,000

150,000

100,000

50,000 28,522 112,813 153,119
0 2561 2562 2563

Page | 29

พฒั นาคุณภาพผลิตภัณฑ์ SME/OTOP ดา้ น สมุนไพรเครอื่ งสำอางและอาหาร สู่ Smart Product

350,000 135,979 311,577 162,510
300,000 2561 2562 2563
250,000
200,000
150,000
100,000
50,000

0

ระดบั ความพงึ พอใจของผ้รู ับบริการทม่ี ีต่อผลประโยชนจ์ ากการใช้บรกิ าร
โครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนมีกลุ่มเป้าหมายโครงการประกอบด้วย

ผู้ประกอบการ SME/OTOP กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้าน และเครือข่ายศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ เดิมที่ได้
ดำเนินการจัดตัง้ ศูนย์แจ้งเตือนภัย หรือมีผลการดำเนนิ การด้านวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชมุ ชนในปีที่ผา่ นมา หรือ
เครือข่ายศนู ยแ์ จ้งเตือนภยั ใหมท่ ี่มีผลงานหรือคุณสมบัตเิ ทียบเทา่ ศูนย์แจง้ เตือนภัยเดมิ ซ่ึงยงั ไมป่ รากฏข้อมูลการ
ประเมินผลระดับความพึงพอใจตอ่ การดำเนนิ งาน

Page | 30

ผลกระทบของโครงการ รายละเอียด
ผลกระทบ 1. อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนและบุคลากรเจ้าหน้าท่ีศูนย์แจ้ง

❑ การประเมนิ ผลกระทบต่อ เตือนภัยฯ เฝา้ ระวงั และรบั เรอ่ื งร้องเรยี นปัญหาผลิตภณั ฑ์สุขภาพใน
ประชาชน ชุมชน ตำบล อำเภอ สามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนด้วย
การใชช้ ดุ ทดสอบอยา่ งง่ายตรวจสอบผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพที่ไมป่ ลอดภัย
❑ การประเมนิ ผลกระทบต่อ สามารถตอบปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขในชุมชนได้อย่าง
เศรษฐกจิ ทนั เหตกุ ารณ์
2. ผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ มีองคค์ วามรูท้ ่ีถูกต้องใน
❑ การประเมินผลกระทบต่อสงั คม การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ให้มคี ุณภาพและความปลอดภยั ซ่ึงจะสง่ ผลให้
สามารถยกระดับผลิตภณั ฑ์ชุมชนมีเอกลักษณโ์ ดดเดน่ ตามบริบท
ของชมุ ชน และไดร้ ับการยอมรับในวงกวา้ งมากยงิ่ ข้ึน

1. ประชาชนในพืน้ ท่ีมีความมัน่ ใจต่อความปลอดภัยของผลติ ภณั ฑ์
สุขภาพ ดา้ นอาหาร ยา เครือ่ งสำอาง ทจ่ี ดั จำหนา่ ยในชมุ ชนมากยงิ่
ย่งิ ข้นึ ส่งผลต่อการเลือกซ้ือสนิ คา้ ตา่ ง ๆ ภายในพน้ื ทีเ่ พ่ิมสูงข้ึน และ
เกดิ การจ้างงานในชุมชน สง่ ผลต่อเศรษฐกจิ ของชมุ ชนดียง่ิ ข้นึ

2. ผลติ ภัณฑ์ด้านอาหาร เคร่ืองสำอางผสมสมุนไพร ไดร้ ับการพัฒนาให้
มคี วามปลอดภัย และมคี ุณภาพไดม้ าตรฐานตรงตามความตอ้ งการ
ของตลาดและสามารถขอการรบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ สง่ ผลให้
เกิดความม่ันใจแกผ่ ู้ผลติ และผู้บรโิ ภคสนิ ค้ามากขนึ้ และเม่ือ
ผลติ ภัณฑ์มคี ณุ ภาพดจี ึงสามารถเพ่ิมช่องทางการจำหน่ายไดม้ ากขน้ึ
ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ สง่ ผลใหผ้ ู้ผลิต ผปู้ ระกอบการมี
รายไดเ้ พ่ิมขึ้น ซ่ึงถอื เปน็ การกระตุน้ เศรษฐกจิ เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน

จากการที่ อสม. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่มศี ักยภาพในแจ้งเตอื น
ภัย เฝ้าระวัง และรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในระดับ
ชุมชน ตำบล อำเภอ ส่งผลให้เครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
ชุมชนกระจายท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ มคี วามเข้มแข็งมากย่ิงขึ้น เกิด
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาต่อยอดความสำเร็จของงานคุ้มครอง
ผู้บริโภคและวิทยาศาสตร์การแพทยช์ มุ ชนในรปู แบบตา่ งๆ

Page | 31

ข้อเสนอแนะ

ควรคงสภาพภารกจิ เนื่องจากการพฒั นา อสม.วิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ุมชน และจดั ตั้งศูนยแ์ จง้ เตือนภัย
เฝ้าระวงั และรับเรื่องร้องเรยี นปญั หาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบล อำเภอ ก่อใหเ้ กดิ การขบั เคลื่อนเครือข่าย
การบูรณาการทำงานในการป้องกนั และแก้ปญั หาการคุ้มครองผบู้ ริโภคของชุมชนอย่างเป็นรปู ธรรม ดว้ ยการ
ถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ให้ทอ้ งถ่ินสามารถเขา้ ถึงได้ แตอ่ ย่างไรก็ตาม จะเหน็ ไดว้ า่
แผนงานวิทยาศาตร์การแพทย์สู่ชุมชนยงั ไม่สามารถประเมินความคมุ้ ค้าได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และมีบาง
ประเด็นที่ควรพัฒนาปรบั ปรงุ เพ่ือให้การบรหิ ารโครงการเกิดประโยชน์สูงสุด ประกอบด้วย

1. ในประเด็นข้อมลู นำเข้าสำหรับการกำหนดแนวทางและจัดทำโครงการ ยงั ไมพ่ บการรวบรวมและวิเคราะห์
ข้อมลู สถานการณ์ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพของพ้ืนท่ีอย่างชดั เจน ทง้ั ในสว่ นขอ้ มลู ผลิตภัณฑ์ชุมชนและ
ผปู้ ระกอบการในพน้ื ท่ี รวมถึงข้อมูลสถานการณ์และปัญหาสุขภาพ ซ่งึ ข้อมลู เหล่าน้ีเปน็ สว่ นสำคัญในการ
กำหนดขอบเขตและเป้าหมายท่จี ะดำเนินการทตี่ อบสนองความตอ้ งการของพื้นท่ีได้อย่างแท้จรงิ ไม่ได้เกดิ
จากเอาเองว่าชุมชนตอ้ งการอะไร เช่น องค์ความรู้ทจี่ ำเป็นต่อ อสม.ในการรบั มอื กับปัญหาสุขภาพในพื้นท่ี
การคดั เลือกผลิตภัณฑ์ชมุ ชนท่มี ีศักยภาพที่จะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ เปน็ ตน้

2. การวิเคราะห์ห่วงโซค่ ุณค่าทีจ่ ะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงต้ังแต่รายละเอียดปัจจยั นำเข้าต่าง ๆ ที่จำเปน็
การส่งมอบผลผลิตในขั้นตอนต่างๆ จนถึงการส่งมอบผลลัพธ์สู่กลุ่มเป้าหมายของโครงการที่จะขยายผลให้
เกิดการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้อย่างยั่งยืน ซึ่งประโยชน์สำคัญของการวิเคราะห์
ห่วงโซ่คุณค่า คือ ผู้รับผิดชอบโครงการใชใ้ นการเตรียมความพร้อมทรัพยากรสว่ นต่าง ๆ ทั้งอัตรากำลังและ
สมรรถนะบคุ ลากร เครอ่ื งมอื ท่ีจำเปน็ เครอื ข่ายต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับปัจจยั นำเข้าของโครงการที่วิเคราะห์
มาเบอื้ งตน้ รวมไปถึงผ้ปู ฏิบัตงิ านในทุกภาคสว่ นเขา้ ใจและเชื่อมโยงแนวทางของแผนงานในทิศทางเดียวกัน
ซึ่งในปัจจุบัน ยังไม่พบข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่สามารถแสดงรายละเอียดทรัพยากรส่วนต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน
เช่น เครื่องมืออะไร จำนวนคนเท่าไร องค์ความรู้ที่จำเป็นอะไร รวมถึงกิจกรรมในส่วนต่าง ๆ มีความ
เช่อื มโยงและสมั พนั ธก์ ันอย่างไร เชน่ ศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ การพฒั นา อสม. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชน

3. การกำหนดเป้าหมายแผนงานโครงการท่ีชัดเจนทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ให้สามารถเชื่อมโยงผลลัพธ์ใน
แต่ละช่วงอย่างมีทิศทางที่ชัดเจนว่ามีจุดหมายอยู่ที่ใด ซึ่งที่ผ่านมาโครงการมีการปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดของ
โครงการในแต่ละปี เช่น ปี 2560 กำหนดเป้าหมายชุมชนต้นแบบท่ีมีความเข้มแข็ง ปี 2561 กำหนด
เป้าหมายวัดจำนวนอำเภอทีม่ ีศนู ย์แจง้ เตือนภยั และปี 2562 วัดเป้าหมายอำเภอต้นแบบเครือขา่ ยศูนย์แจ้ง
เตือนภัย เป็นต้น ซึ่งหากพิจารณาเบื้องต้นอาจกล่าวได้ว่า มีการปรับตัวชี้วัดเพื่อพัฒนาต่อยอดในแต่ละ
ช่วงเวลา แตห่ ากมองในระยะยาวโครงการมีเป้าหมายอยูท่ ี่ใดยังไม่สามารถระบุได้อย่างชดั เจน

4. การวางระบบฐานขอ้ มลู สำคัญของโครงการท่ียังชัดเจน เนอ่ื งจากแผนงานวทิ ยาศาสตร์การแพทยส์ ู่ชมุ ชน
เป็นโครงการท่มี ีการดำเนินงานตอ่ เนื่อง จึงต้องมกี ารรวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูลทจ่ี ำเปน็ ตอ่ ขบั เคลอ่ื นการ
ดำเนินงานอยา่ งเปน็ ระบบ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ต้องมีการดำเนินงานรว่ มกบั หน่วยงานอ่ืน ๆ ทั้งในระดับพื้นที่
และส่วนกลาง เชน่ กรมสนับสนุนบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นต้น ซึง่ ข้อมูลสำคัญ
เชน่ ข้อมลู อสม. ข้อมลู การเฝา้ ระวังในพน้ื ท่ี ขอ้ มูลศนู ย์แจ้งเตอื น เปน็ ต้น

5. หากพิจารณารายละเอียดจากหลักการเหตผุ ลของโครงการท่ีมุ่งเน้นการการป้องกนั และแก้ไขปจั จัยเสย่ี งดา้ น
สขุ ภาพในระดบั ชมุ ชน ผา่ นการนำองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ไปเสรมิ สรา้ งใหช้ มุ ชนมอี งค์ความรู้
และศักยภาพในการเฝา้ ระวงั สุขภาวะในพนื้ ท่ีได้ดว้ ยตนเอง แต่พบว่า การกำหนดตวั ช้ีวดั โครงการเปน็ การวดั
ที่ผลผลติ ท่สี ่งมอบตามแผนกิจกรรมของโครงการเปน็ หลกั (Output) เชน่ จำนวนหลักสตู ร จำนวน อสม ท่ี
ไดร้ ับการพฒั นายกระดับ อำเภอศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ เปน็ ตน้ ยังไมม่ ีตวั ช้วี ดั ท่บี ่งชใ้ี ห้เหน็ ถงึ ผลลัพธ์
(Outcome) ทพี่ ้นื ที่สามารถเฝ้าระวังทางดา้ นสุขภาพได้อย่างย่งั ยืนแทจ้ ริง

Page | 32

6. การประเมนิ ผลกระทบของโครงการ จะเหน็ ได้วา่ รูปแบบโครงการเป็นการส่งมอบองค์ความร้แู ละเทคโนโลยี
ให้แกช่ มุ ชน ซึง่ ตวั ชี้วดั ของโครงการจะเปน็ ในมติ ิของการวัดผลลพั ธท์ กี่ รมดำเนินการ แตไ่ ม่ไดส้ ะท้อนใหเ้ ห็น
ถงึ มมุ ของชมุ ชนหรือกลุ่มเป้าหมายของโครงการในสว่ นอ่นื ๆ ว่าจากผลลพั ธท์ กี่ รมส่งมอบไดน้ ำไปสู่การแกไ้ ข
ปญั หาชุมชนอยา่ งย่ังยนื หรือไม่ และนำไปต่อยอดอะไรบ้าง ซง่ึ การประเมนิ ผลในสว่ นนี้จะเป็นประโยชน์อยา่ ง
ย่งิ ในการหาโอกาสเพื่อพฒั นา หรือการปรับแนวทางโครงการใหส้ ามารถตอบโจทย์ความต้องการของพื้นทไ่ี ด้
อยา่ งแทจ้ ริง

7. ในรปู แบบการประเมนิ ความคุ้มคา่ ของโครงการทม่ี ุ่นเน้นการแก้ไขปัญหาทางด้านสังคมและสขุ ภาพในระดบั
พ้ืนท่ี เช่นโครงการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชมุ ชน การประเมนิ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ (การเงนิ ) มิตเิ ดยี วอาจไม่
เหมาะสมเทา่ ทค่ี วร ต้องประเมินในมติ ิอ่ืน ๆ ประกอบดว้ ย เชน่ สถานการณ์ระดบั ปญั หาในพนื้ ท่ี ความพงึ
พอใจและความคดิ เหน็ ของผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี สว่ นต่าง ๆ ความเตม็ ใจจ่ายต่อผลลัพธ์ที่ไดข้ องผู้เก่ยี วข้องสว่ น
ตา่ ง ๆ (Wiliness to pay) ซ่ึงการประเมินผลตามแนวทางเหล่าน้ใี หม้ ีประสทิ ธภิ าพ ต้องมกี ารออกแบบและ
กำหนดแนวทางต้ังแต่ข้นั ตอนการจัดทำโครงการ

Page | 33

ภำคผนวก

Page | 34

หน่วยงาน..................................................
ปีงบประมาณ............................................

แบบฟอรม์ การประเมินความคุม้ ค่าแผนงานโครงการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ส่วนท่ี 1: ภาพรวมแผนงาน

1. ช่ือแผนงานโครงการ

2. ความสอดคลอ้ งกลยุทธก์ รม
อธิบายโดยสงั เขป

3. สนองตอบยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง (โปรดเลอื กความสอดคลอ้ งและระบรุ ายละเอยี ดยทุ ธศาสตรพ์ รอ้ มบรรยายความ

สอดคลอ้ ง) อธิบายโดยสงั เขป
ความสอดคลอ้ งของภารกิจกบั ยุทธศาสตรช์ าติ

(เลอื กได้มากกวา่ 1 ข้อ)

❑ รฐั ธรรมนูญ
❑ คาแถลงนโยบายของรฐั บาล
❑ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
❑ ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง
❑ ความตอ้ งการของประชาชน
❑ ปัญหาของสงั คม
❑ การเตอื นภยั ของนักวชิ าการ
❑ กฎหมายอ่นื ๆ (พรบ. หรอื พรฎ.)

4. กิจกรรมหลกั กิจกรรมหลกั ปริมาณงาน

1.
2.

5. ระยะเวลาการดาเนินการ จานวน ปี
ช่วงเวลาดาเนิ นการ งบประมาณ

6. แผนงบประมาณ (งบประมาณยอ้ นหลงั 5 ปี )
ปี งบประมาณ

Page | 35

ส่วนที่ 2: ผลลพั ธค์ วามสาเรจ็

1. ตวั ชี้วดั แผนงานโครงการ (รายงานตวั ชว้ี ดั ตลอดระยะเวลาโครงการหรอื ยอ้ นหลงั 5 ปี)

ปี ตวั ชี้วดั เป้าหมาย ความสาเรจ็

2. รายละเอยี ดผลการดาเนินงานโดยสงั เขป

3. ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนินการ

4. คณุ ภาพการใหบ้ ริการ ระดบั ความพึงพอใจ
4.1. ความพงึ พอใจผรู้ บั บริการผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย
ปี งบประมาณ

ผรู้ บั บรกิ ารกลมุ่ เป้าหมาย
…………………………
…………………………

4.2. ประเดน็ ความคาดหวงั /ต้องการท่ีสาคญั

Page | 36

ส่วนท่ี 3: การวิเคราะห์ประสิทธิผลและค่าใช้จา่ ย

1. ผลประโยชน์ (ระบกุ ลมุ่ เป้าหมายของโครงการ และลกั ษณะของผลประโยชน์ พรอ้ มรายละเอยี ดการคานวน

ผลประโยชนท์ ช่ี ดั เจน)

1.1 ผลประโยชน์ทางตรงที่คิดมลู ค่าเป็นเงินได้ (ผลประโยชน์ทางตรง หมายถงึ ผลตอบแทนทเ่ี กดิ จากโครงการ

โดยตรงและสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของโครงการ)

ลกั ษณะของผลประโยชน์ มูลคา่ (บาท)

ผรู้ บั บริการกลมุ่ เป้าหมาย

…………………………………
…………………………………

1.2 ผลประโยชน์ทางอ้อมที่คิดมูลค่าเป็นเงินได้ (ผลประโยชน์ทางอ้อม หมายถงึ มูลค่าเพมิ่ หรอื ผลท่เี กิดจาก

ผลกระทบในขนั้ ตอนต่อๆ ไป เช่น การพฒั นาผลติ ภณั ฑส์ มุนไพรในชุมชน นอกจากส่งผลต่อผปู้ ระกอบการใน

ชุมชนโดยตรงแลว้ ยงั ส่งผลต่อเกษตรกรผเู้ พาะปลกู สมุนไพรดว้ ย)

ลกั ษณะของผลประโยชน์ มูลค่า (บาท)

ผรู้ บั บริการกลมุ่ เป้าหมาย

…………………………………
…………………………………

กลมุ่ สงั คม

…………………………………
…………………………………

Page | 37

1.3 ผลประโยชน์ท่ีคิดมลู คา่ เป็นเงินไม่ได้ (ถา้ มี ใหอ้ ธบิ ายเชงิ พรรณนา)
ลกั ษณะของผลประโยชน์

ผรู้ บั บริการกลมุ่ เป้าหมาย

…………………………………
……………………………….

กล่มุ สงั คม

…………………………………
…………………………………

2. ค่าใช้จา่ ย (ระบุรายละเอยี ดค่าใชจ้ า่ ยตามแหลง่ งบประมาณทไ่ี ดร้ บั ) มลู คา่ (บาท)
2.1 ค่าใชจ้ า่ ยจากงบประมาณแผน่ ดิน มลู ค่า (บาท)
ระบุรายละเอียดคา่ ใช้จา่ ย
Page | 38
งบดาเนิ นการ

งบลงทนุ

งบรายจา่ ยอ่ืน

งบอดุ หนุน

งบบคุ ลากร

2.2 คา่ ใช้จ่ายจากเงินนอกงบประมาณ ระบุรายละเอียดคา่ ใช้จา่ ย
งบดาเนิ นการ

งบลงทนุ

งบรายจ่ายอื่น

งบอดุ หนุน

งบบุคลากร

2.3 คา่ ใชจ้ า่ ยทางอ้อมที่ผอู้ ่ืนสนับสนุน ระบุรายละเอียดคา่ ใช้จา่ ย มูลคา่ (บาท)
งบดาเนิ นการ

งบลงทนุ

งบรายจ่ายอ่ืน

งบอดุ หนุน

งบบคุ ลากร

2.4 ทรพั ยากรสาคญั ที่ใช้ในการดาเนินการ (อธบิ ายเชงิ พรรณนา)

ประเภท รายละเอียดทรพั ยากร

ด้านกระบวนการ ระบบมาตรฐานต่าง ๆ

ด้านบคุ ลากร จานวนบุคลากรทใ่ี ช้ และทกั ษะ ความเชย่ี วชาญทจ่ี าเป็น

ด้านสินทรพั ยท์ รพั ยากร ครภุ ณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ อาคารสถานท่ี ระบบไอที องคค์ วามรทู้ ่ี
จาเป็นต่าง ๆ

ดา้ นอ่ืน ๆ เช่น เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ภายนอก

Page | 39

ส่วนที่ 4: สรปุ ผลการประเมินความค้มุ ค่าในการปฏิบตั ิภารกิจ

ประสิทธิภาพ รายงานผล
❑ ปรมิ าณผลผลติ ทท่ี าไดจ้ รงิ เปรยี บเทยี บกบั แผน

❑ คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนดตามคมู่ อื การ
ประกนั คณุ ภาพและควบคุมคณุ ภาพ

❑ สดั สว่ นคา่ ใชจ้ า่ ยจรงิ ตอ่ คา่ ใชจ้ า่ ยตามแผน

❑ สดั ส่วนผลผลติ ตอ่ ทรพั ยากร โปรดคานวณขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปี ใน 2 มติ ิ คอื
ผลติ ภาพแรงงาน = ผลผลติ / จานวนบคุ ลากร
ประสิทธิผล ผลติ ภาพทุน = ผลผลติ / จานวนทรพั ยากรทส่ี าคญั
❑ Benefit – Cost Ratio
รายงานผล
ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั /คา่ ใชจ้ า่ ยรวม

❑ Cost – Effectiveness ค่าใชจ้ ่ายรวม/ผลผลติ

❑ ระดบั ความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารทม่ี ตี ่อ รายงานผล
ผลประโยชน์จากการใชบ้ รกิ าร
ผลกระทบ

❑ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ ประชาชน

❑ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ

❑ การประเมนิ ผลกระทบต่อสงั คม

❑ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ การเมอื ง

❑ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

Page | 40

ข้อเสนอแนะ ความคิดเหน็
(ใหเ้ ลอื กแนวทางลาดบั ทส่ี าคญั ทส่ี ุดท่ี (ใหแ้ สดงเหตผุ ลทเ่ี ลอื กแนวทางดงั กลา่ ว)
มตี อ่ ผลผลติ ทป่ี ระเมนิ ความคมุ้ คา่ น้)ี

❑ ขยายภารกจิ
❑ ปรบั ปรงุ ภารกจิ
❑ คงสภาพภารกจิ
❑ ถา่ ยโอนภารกจิ
❑ อน่ื ๆ

Page | 41

เอกสำรอ้ำงองิ

2562. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และฉบับแก้ไข
เพิ่มเติม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา: http://www.ops.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=4175 . 30
เมษายน 2562

รายงานการติดตามและประเมินผล ความคุ้มค่าโครงการก่อสรางถนนสำหรับน้ำล้นผ่าน (Wet Crossing)
ประจำปพี .ศ.2553, 2554(หลังดำเนนิ การ )

ฝ่ายตรวจติดตามและประเมินผลแผนงานโครงการ กองแผนและงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ขอนแกน่ สงิ หาคม 2555

คู่มือการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจภาครัฐ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2553) สำนักงานคณะกรรมการ
พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ สำนกั นายกรฐั มนตรี

Page | 42

Page | 43


Click to View FlipBook Version