The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nattakan Eye, 2021-10-01 04:01:22

รายงานการดำเนินงานประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 29

รายงานผลการดาเนินงาน
การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

ครัง้ ท่ี 29

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564





สารบญั หน้า
4
คานา 5
บทนา 7

วัตถปุ ระสงค์ 8
รปู แบบของการประชมุ วชิ าการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 26
หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั 29
ระยะเวลาและสถานท่ีจัดประชมุ วิชาการ 34
หัวขอ้ บรรยายและรายชื่อวทิ ยากรในการบรรยาย/เสวนาทางวิชาการ 37
รางวัลการนาเสนอผลงานทางวชิ าการ 39
สรุปแบบสอบถามสารวจความพงึ พอใจการจดั งาน 40
57
เอกสารประกอบการบรรยาย

ถอดบทเรยี นการจัดประชุมวิชาการวทิ ยาศาสตร์การแพทยค์ ร้ังที่ 29
ภาคผนวก

ผลงานทางวชิ าการทไ่ี ด้รบั รางวลั
ภาพกจิ กรรม

บทนา

ดว้ ยกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ มีนโยบายให้มีการจัดประชุมวิชาการอย่างต่อเน่ืองทุกปี จึงกาหนดจัดให้มี
การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 29 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แบบออนไลน์ เนื่องจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) จึงได้มีการปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดงาน
และการนาเสนอผลงานผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ ท้ัง Facebook Live และระบบ ZOOM เพ่ือเปิดโอกาสให้
นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ที่อยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกกระทรวง
สาธารณสุข ได้เผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ แลกเปล่ยี นความรู้ ประสบการณ์ และขอ้ มูลข่าวสาร เพ่ือนาไปประยุกตใ์ ชใ้ น
การปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้มีการพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ให้สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางย่ิงข้ึน ปัจจุบันองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้า และ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงมีผลกระทบท้ังทางตรงและทางอ้อมต่อสุขภาพของประชาชน งานวิทยาศาสตร์
การแพทยจ์ ึงจาเป็นตอ้ งมีการพัฒนา เพ่อื ให้ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงท่เี กิดข้ึนและก้าวให้ทันการเปล่ียนแปลงในระดับ
สากล ทั้งในเรื่องความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของ
ประเทศ โดยไดม้ กี ารพฒั นางานวิชาการดา้ นหอ้ งปฏิบัติการใหม้ คี วามก้าวหน้าทันกบั เทคโนโลยีอยา่ งต่อเนื่อง

ดังน้ัน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และมูลนิธิกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงร่วมกันจัดประชุมวิชาการ
วิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 29 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แบบออนไลน์ ระหว่างวันท่ี 25-27 สิงหาคม 2564
ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จังหวัดนนทบุรี สาหรับการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ครั้งนี้
สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
เป็นองค์ประธานเปิดการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่ 29 แบบออนไลน์ ภายใต้หัวข้อ
“วิทยาศาสตร์การแพทย์วิถีใหม่ เพ่ือสุขภาพและเศรษฐกิจไทย” เพื่อเป็นเวทีให้นักวิชาการด้านการแพทย์
และสาธารณสุข เครือข่ายสุขภาพด้านต่างประเทศ และเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนที่ ตลอดจนผู้ประกอบการ
ที่เกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้มีโอกาสนาเสนอผลงาน แลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ ตลอดจน
รับทราบความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อจะได้ร่วมกันสร้างสรรค์งาน
วชิ าการให้มคี วามก้าวหนา้ และเปน็ ประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนต่อไป

6

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือเผยแพร่ผลงานวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขให้แพร่หลาย และสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ไดอ้ ย่างกว้างขวางย่งิ ข้ึน

2. เพื่อเป็นเวทีใหน้ กั วชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตร์การแพทยแ์ ละสาธารณสุข และทกุ เครอื ข่ายท่เี ก่ียวข้อง ทงั้ ในประเทศ
และต่างประเทศ ได้นาเสนอผลงานวิชาการ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และข้อคิดเห็น เพ่ือพัฒนางานให้มี
ประสทิ ธภิ าพย่ิงๆ ขึ้นไป

รูปแบบของการประชุมวชิ าการวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

การประชมุ แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น คือ

1. การอภิปราย เสวนา จากวทิ ยากรผ้ทู รงคุณวุฒิ แบบออนไลน์
2. การประกวดรางวัล DMSc Award และการบรรยายโดยผูร้ บั รางวลั ชนะเลศิ
3. การบรรยายโดยผไู้ ด้รับรางวัลนกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ดีเดน่ และนกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์รนุ่ ใหม่
4. การนาเสนอผลงานทางวชิ าการแบบบรรยายและโปสเตอร์ แบบออนไลน์ โดยแบ่งเปน็ 4 สาขา รวม 188 เรื่อง คอื

หอ้ งที่ 1 สาขา Current Research and Innovation on Diseases มีผู้นาเสนอผลงานรวม 43 เรื่อง
แบบบรรยาย จานวน 8 เรื่อง แบบโปสเตอร์ จานวน 35 เร่ือง

ห้องที่ 2 สาขา Medical Sciences for Better Consumer’s Health มีผู้นาเสนอผลงานรวม 82 เรือ่ ง
แบบบรรยาย จานวน 12 เรอื่ ง แบบโปสเตอร์ จานวน 70 เร่ือง

หอ้ งที่ 3 สาขา วทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ ุมชนเพ่ือการพัฒนาพ้นื ที่อย่างย่ังยืน มีผู้นาเสนอผลงานรวม 42 เรื่อง
แบบบรรยาย จานวน 7 เรอื่ ง แบบโปสเตอร์ จานวน 35 เรื่อง

หอ้ งที่ 4 สาขา Medical Sciences Symposium มีผนู้ าเสนอผลงานแบบบรรยาย จานวน 21 เรอื่ ง
แบบบรรยาย จานวน 7 เร่ือง แบบโปสเตอร์ จานวน 14 เร่ือง

5. หนว่ ยกติ การศึกษาต่อเนือ่ งทางเภสชั ศาสตร์ (CPE) รวม 13.5 หนว่ ยกติ เภสัชกรเข้าร่วมประชมุ ทง้ั ส้นิ 135 คน
6. คะแนนการศึกษาต่อเน่ืองทางเทคนคิ การแพทย์ (CMTE) รวม 13.5 คะแนน เทคนิคการแพทย์ เขา้ รว่ ม

ประชมุ ทัง้ สิ้น 914 คน
7. ดาเนินการจดั ประชมุ ทั้ง 3 วัน ณ สถานทจ่ี ัดประชมุ และถ่ายทอดสดผา่ น Facebook Live และระบบ

Webinar และ ZOOM

หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบหลัก 7

กองแผนงานและวชิ าการ และสานักวิชาการวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

หวั ข้อบรรยายและรายช่ือวทิ ยากรในการบรรยาย/เสวนาทางวิชาการ

วันท่ี 25 สิงหาคม 2564

เวลา 14.30-16.30 น. ณ หอ้ งประชมุ 110 อาคาร 100 ปี
Keynote Speech เรื่อง “นวัตกรรม เทคโนโลยี และปัญญาประดิษฐ์ทางการแพทย์ ในการตอบโตโ้ ควิด 19

และโรคอุบตั ใิ หม่”
โดย ศาสตราจารยด์ ร.สุชัชวรี ์ สวุ รรณสวัสด์ิ

อธิการบดสี ถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั

8

วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2564

Panel Discussion เรอื่ ง “สายพันธ์ุมนุษย์ และโรค”
ณ ห้องประชุม 110 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย

- Human genetics and infectious diseases
ศาสตราจารยน์ ายแพทย์ประสิทธ์ิ ผลิตผลการพิมพ์
รกั ษาการรองผู้อานวยการ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ
- Diagnosis of the undiagnosed diseases
ศาสตราจารยน์ ายแพทยว์ รศักดิ์ โชตเิ ลอศักดิ์
รองคณบดีฝ่ายวิจัยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- การผลักดนั เทคโนโลยจี ีโนมสาหรบั ผปู้ ่วยมะเรง็ เขา้ สูร่ ะบบสขุ ภาพของประเทศ
ศาสตราจารยน์ ายแพทย์มานพ พทิ ักษภ์ ากร
หวั หนา้ ศนู ยว์ จิ ัยเปน็ เลศิ ดา้ นการแพทย์แมน่ ยา คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล
- Large-scale study of genetic contribution to diseases
นายแพทย์จักรกฤษณ์ เออ้ื สุนทรวฒั นา
อาจารย์ภาควชิ าเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
ผดู้ าเนนิ การอภิปราย นายแพทยส์ รุ คั เมธ มหาศริ ิมงคล กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

9

วนั ที่ 25 สิงหาคม 2564

เวลา 10.00-11.00 น. ณ หอ้ งประชุม 110 อาคาร 100 ปี การสาธารณสขุ ไทย
ปาฐกถาเกียรติยศ ศาสตราจารย์นายแพทย์เฉลมิ พรมมาส
องคป์ าฐก นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์เกียรติยศ

โดย ศาสตราจารย์นายแพทย์ยง ภู่วรวรรณ หัวหนา้ ศนู ย์เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านไวรสั วิทยาคลินกิ
ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

เร่ือง “COVID-19: บทบาทของวิทยาศาสตรใ์ นการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพ สังคม และเศรษฐกจิ ไทย”
(COVID-19: Role of science for solving health, social and economic in Thailand)

10

การบรรยายโดยผรู้ บั รางวลั DMSC Award ชนะเลิศ

วันที่ 25 สงิ หาคม 2564

เวลา 11.00-12.30 น. ณ ห้องประชมุ 110 อาคาร 100 ปี การสาธารณสขุ ไทย

ประเภทงานวจิ ัยและพฒั นาทางวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

เรื่อง “แอปตาเซน็ เซอรส์ าหรับวเิ คราะหอ์ ลั บมู นิ ในปสั สาวะเพอ่ื ประกอบการคดั กรองโรคไตเรื้อรงั ”
โดย ดร.เดือนเพญ็ จาปรงุ

ศนู ย์นาโนเทคโนโลยแี ห่งชาติ สานกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ

11

ประเภทหนงั สือ/ตาราทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

เร่ือง “ภาพรงั สีวินิจฉยั ชั้นสงู ของระบบหวั ใจและหลอดเลือด (Advanced diagnostic cardiovascular imaging)”

โดย รองศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญิง นฤมล เชาว์สุวรรณกิจ

ภาควชิ ารงั สวี ิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

หนังสือ เรื่อง ภาพรังสีวินิจฉัยชั้นสูงของระบบหัวใจและ
หลอดเลือด (Advanced diagnostic cardiovascular imaging)
โดยผู้ได้รับพระราชทานรางวัลเป็นผู้นิพนธ์ท้ังเล่มร่วมกับทา
หน้าที่เป็นบรรณาธิการ ซ่ึงหนังสือเล่มนี้มีเน้ือหาจานวน 591
หน้า แบ่งเป็น 28 บท โดยผู้นิพนธ์มักจะได้รับคาถามในหลาย
แง่มุมจากแพทย์ นักรังสีเทคนิคและนักศึกษาแพทย์เป็นประจา
ทั้งในด้านการเลือกการตรวจที่เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย การ
ปรับปรุงเทคนิคในการตรวจเพื่อให้ได้ภาพท่ีมีคุณภาพดี รวมไป
ถึงการวินิจฉัยแยกโรค ซ่ึงเป็นแรงบันดาลใจให้จัดทาหนังสือเล่ม
นี้ขึ้นมา โดยได้รวบรวมองค์ความรู้แบบบูรณาการทางด้านภาพ
วินิจฉัยชั้นสูงของระบบหัวใจและหลอดเลือดจากประสบการณ์
การปฏิบัติงานและงานวิจัยท่ีได้ทุ่มเทปฏิบัติงานมาโดยตลอด
ร่วมกับปัญหาท่ีได้ประสบ เน่ืองจากผู้นิพนธ์เป็นผู้บุกเบิกและ
เปน็ รงั สีแพทยเ์ ฉพาะทางซง่ึ ปฏิบัตงิ านด้านภาพวนิ ิจฉัยชนั้ สงู ของ
ระบบหัวใจและหลอดเลือดในโรงพยาบาลศรีนครินทร์และศูนย์
หวั ใจสิรกิ ิติ์ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

หนังสือเล่มน้ีนับได้ว่าเป็นหนังสือทางด้านภาพวินิจฉัยชั้นสูงของระบบหัวใจและหลอดเลือดแบบ บูรณาการเล่ม
แรกของประเทศไทย โดยมีจุดประสงคเ์ พือ่ เป็นแหลง่ ข้อมูลเพอ่ื ใช้อา้ งอิงเก่ียวกบั ภาพวินิจฉยั ช้ันสูงของระบบหวั ใจ
และหลอดเลือดที่ครอบคลุมเน้ือหาที่สาคัญในหลายแง่มุม ซึ่งในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้
อย่างมาก เนื้อหาได้กล่าวถึง การตรวจหัวใจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (cardiac computed tomography)
การตรวจหลอดเลือดแดงหัวใจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ( coronary computed tomography
angiography) และการตรวจหัวใจด้วยเอ็มอาร์ไอ (cardiac magnetic resonance imaging หรือ
cardiac MRI) ซ่ึงถือว่าเป็นภาพวินิจฉัยช้ันสูงของระบบหัวใจและหลอดเลือด (advanced diagnostic
cardiovascular imanging)

12

โดยจุดเด่นของผลงานหนังสือที่แตกต่างจากหนังสือ/ตาราท่ัวไป หรือ หนังสือ/ตาราที่มีอยู่เดิม ดังนี้
• เป็นหนังสือที่ได้มีการประมวลองค์ความรู้ในด้านภาพรังสีวินิจฉัยช้ันสูงของระบบหัวใจและหลอดเลือดโดย
ครอบคลุมความรู้พื้นฐาน ความรู้เชิงประยุกต์ทางคลินิกและมีความเชื่อมโยงในเน้ือหาแต่ละบทอย่างดีเนื่องจาก
นพิ นธ์โดยผ้นู ิพนธท์ ่านเดยี วกนั ทัง้ เล่ม
• นอกจากเนื้อหาทางทฤษฎแี ล้วผู้นิพนธย์ ังได้มี
การวิเคราะห์และสอดแทรกประสบการณ์และ
ผลงานวิจัยท่ีได้ตีพิมพ์ท้ังในและต่างประเทศ
ของผู้นิพนธ์และคณะ ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็น
ถึงความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการโดย
ผู้อ่านสามารถนาไปประยุกต์ใช้ปฏิบัติได้จริง
และอ้างองิ ได้ อกี ทงั้ ยังเปน็ การกระตนุ้ ให้ผู้อา่ น
เกดิ ความคิดและคน้ ควา้ อยา่ งตอ่ เน่ืองอีกด้วย
• มีภาพการตรวจหัวใจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และการตรวจหัวใจด้วยเอ็มอาร์ไอกว่า 600 ภาพ ซ่ึงเป็นภาพท่ี
ไดม้ าจากการตรวจผ้ปู ่วยโรงพยาบาลศรีนครินทร์และศูนยห์ ัวใจสิริกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่นท้ังสิ้น ภาพถ่ายเคร่ืองมือท่ีใช้ในการตรวจเป็นภาพถ่ายใหม่ท่ีถ่ายจากเคร่ืองมือที่ใช้เป็น
ประจาในเวชปฏิบัติ รวมท้ังแผนภาพและภาพวาดท่ีใช้ประกอบคาบรรยายต่าง ๆ ก็เป็นภาพที่จัดทาใหม่ทั้งหมด
จากผู้นิพนธท์ ั้งสนิ้
• การวินิจฉัยโรคหัวใจบางโรคจาเป็นต้องอาศัยภาพเคล่ือนไหว เช่น การประเมินการบีบตัวของกล้ามเน้ือหัวใจใน
ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ดังน้ัน หนังสือเล่มนจ้ี ึงได้มี QR code ประกอบภาพบางภาพ โดยเมอื่ นากล้อง
ถ่ายภาพจากโทรศัพท์มือถือสแกนท่ี QR code จะเป็นการเปิดลิงก์ไปยังภาพวิดิทัศน์ (video) โดยอัตโนมัติ
ซึ่งผู้นิพนธ์คาดว่าจะตอบสนองต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของผู้อ่านมากกว่าแผ่นซีดี ซึ่งภาพวิดิทัศน์ประกอบนี้
จะทาใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจเนอ้ื หามากขึน้ และเกิดประโยชนส์ งู สดุ ในการอา่ น

13

ประเภทการพฒั นาบรกิ าร หรอื การพฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

เรื่อง “การพฒั นาการรับรองความสามารถผจู้ ัดโปรแกรมทดสอบความชานาญหอ้ งปฏิบัติการทดสอบทาง
การแพทย์ สกู่ ารยอมรับในระดบั สากลกับองคก์ ารระหวา่ งประเทศว่าด้วยการรับรองห้องปฏิบัตกิ าร”

โดย นางจันทรตั น์ วรสรรพวิทย์
กรมวิทยาศาสตรบ์ ริการ กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม

14

การบรรยายโดยผู้รบั รางวัล นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยด์ ีเดน่
และนกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์รุ่นใหม่

วันที่ 25 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุม 110 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย

นักวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ดเี ดน่

เร่อื ง “เสน้ ทางนวัตกรรมชดุ ทดสอบ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์”
โดย นางสาวปนดั ดา เทพอัคศร สถาบนั ชวี วทิ ยาศาสตรท์ างการแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์รนุ่ ใหม่

เร่อื ง “การวิเคราะห์สารมลพษิ ทีต่ กคา้ งยาวนานตามอนุสัญญาสตอกโฮลม์ ”
โดย นายวรี วุฒิ วิทยานันท์ สานกั คุณภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

15

วันที่ 26 สิงหาคม 2564
สาขา Current Research and Innovation on Diseases

ณ ห้องประชุม 205 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย
เรือ่ ง “Challenging of Covid-19: Laboratory management during pandemic era in Thailand”
โดย นายแพทย์ดร.อาชวินทร์ โรจนวิวัฒน์

ผู้อานวยการสถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตร์สาธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

เรือ่ ง “DMSc SARS-CoV-2 Laboratory Network : Establishment and Monitoring”
โดย ดร.ภทั รวรี ์ สรอ้ ยสังวาลย์

ผู้อานวยการสานกั มาตรฐานหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

16

เรอ่ื ง “Pooling Information from laboratory network (The Value of Value-added of
External Data)”

โดย น.สพ.ชัยวัฒน์ พูลศรกี าญจน์
หวั หนา้ ศนู ยป์ ระสานงานการตรวจวิเคราะหแ์ ละเฝา้ ระวังโรคทางห้องปฏบิ ตั ิการ/
DIO สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

17

วนั ท่ี 26 สงิ หาคม 2564
สาขา Medical Sciences for Better Consumer’s Health

ณ หอ้ งประชุม 314 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย
เรอื่ ง “กญั ชา-กญั ชง” จากนโยบายสู่การใชป้ ระโยชน์
- “กญั ชา-กัญชง” นโยบายระดับประเทศ สถานการณป์ จั จบุ ัน และทิศทางในอนาคต
โดย นพ.กติ ติ โลส่ วุ รรณรกั ษ์ ผู้อานวยการสถาบันกัญชาทางการแพทย์

- กัญชา-กญั ชง” บทบาทผูผ้ ลิตสูก่ ารใช้ประโยชน์อยา่ งปลอดภยั
โดย ดร.ภญ.ผกากรอง ขวัญข้าว

หัวหนา้ ศนู ย์หลักฐานเชงิ ประจักษด์ ้านการแพทย์แผนไทยและสมนุ ไพร
โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร

18

- บทบาทการกากับดแู ลผลิตภัณฑ์ “กญั ชา-กัญชง” เพือ่ คุ้มครองผูบ้ ริโภค
โดย ภก.วราวุธ เสรมิ สินสริ ิ ผูอ้ านวยการกองผลติ ภณั ฑส์ มุนไพร
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

- บทบาทกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยใ์ นการสนบั สนุน “กญั ชา-กญั ชง” สู่การใช้ประโยชน์
โดย นพ.พิเชฐ บญั ญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ผ้ดู าเนินการอภปิ ราย ภญ.ศริ วิ รรณ ชัยสมบรู ณ์พันธ์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

19

วนั ท่ี 26 สิงหาคม 2564

สาขา วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนเพอื่ การพฒั นาพื้นทอ่ี ยา่ งย่งั ยืน

ณ หอ้ ง 811 อาคาร 100 ปี การสาธารณสขุ ไทย

เรือ่ ง “ความสาเรจ็ ในการบูรณาการนโยบายและการพฒั นา อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนสู่ อสม.
ดเี ดน่ ระดบั ชาติ”
โดย ภก.ดร.คชาพล นมิ่ เดช เภสัชกรชานาญการ
กล่มุ งานค้มุ ครองผบู้ ริโภคและเภสัชสาธารณสุข สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
ร่วมกับศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์
ธานี เริ่มขับเคล่ือนงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
แบบบูรณาการ ตั้งแต่ปี 2562 โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อ 1) พัฒนาศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับ
เร่ืองร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้
ได้มาตรฐาน 2) เสริมสร้างศักยภาพ อสม. สาขา
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ และ 3) ดาเนินงานคุ้มครองบริโภคในชุมชนแบบภาคีเครือข่ายท้ังเชิงรุก
และเชิงรับ อันจะนาไปสู่เป้าหมายท่ีสาคัญ คือ เกิดการประสานเช่ือมโยงการทางานทุกระดับประชาชนมี
ความรอบรู้ และชมุ ชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภณั ฑ์สุขภาพ ระยะแรกผู้บรหิ ารกาหนดพน้ื ที่นา
ร่อง 6 อาเภอ จาก 19 อาเภอ คดั เลือกตามภมู ศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ อาเภอเมอื ง ไชยา บ้านตาขนุ ดอนสกั บ้านนา
สาร และเกาะสมุย เพือ่ ช่วยจงั หวัดพัฒนาอาเภอขา้ งเคียงในปีตอ่ ไป ในปี 2563 ศูนย์แจง้ เตอื นภัยฯ บา้ นใน
อาเภอดอนสัก และศูนย์แจง้ เตือนภยั บา้ นยางอุง อาเภอบา้ นนาสาร ได้รับการคัดเลือกใหเ้ ป็นศูนยแ์ จ้งเตอื น
ภัยระดับเข้มแข็ง ในปี 2564 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุราษฎร์ธานีมุ่งขยายผล การบูรณาการนโยบาย
โดยกาหนดเป็นตัวชี้วดั ระดบั จงั หวัด ให้อาเภอทุกแหง่ จัดต้งั ศนู ยแ์ จง้ เตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องรอ้ งเรยี น
ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน อสม.เทวี โชติมณี และอสม.กานต์รวี ศิริทอง ได้รับการคัดเลือกให้
เป็นอสม.ดีเด่นแห่งชาติ สาขาการคุ้มครองผบู้ ริโภคในปี 2561 และในปี 2563 ตามลาดับ เนื่องจากอสม.มี
ความเสียสละ มุ่งมั่นในการทางานอย่างต่อเน่ือง มีจุดแข็งในเร่ืองใช้ศักยภาพการแก้ไขปัญหาในชุมชนโดย
การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการคุ้มครองผู้บริโภคชุมชน ปัจจัยแห่ง
ความสาเร็จของอสม.ที่สาคัญ คือ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (พ่ีเล้ียง) ของศูนย์แจ้งเตือน
ภยั เฝ้าระวังและรบั เรื่องรอ้ งเรยี นปัญหาผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพในชุมชน

20

เร่อื ง “ศนู ยแ์ จ้งเตือนภัยฯ กลไกการขับเคล่ือนงานคุ้มครองผบู้ ริโภคและวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนสู่
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ระดบั อาเภอ”

โดย นายศิรชิ ัย สายอ่อน สาธารณสขุ อาเภอประจกั ษ์ศิลปาคม
สานักงานสาธารณสขุ อาเภอประจกั ษ์ศลิ ปาคม จังหวดั อุดรธานี

เร่อื ง “หนทางสู่ความสาเร็จในการพฒั นาเคร่ืองสาอางสมุนไพร OTOP/SME ของชุมชนสู่สนิ ค้าบนเครื่องบนิ ”
โดย นางยวุ ดี อมรเวชยกุล ผลิตภณั ฑโ์ ฮมเมด จังหวัดมหาสารคาม

OLISA HUG SA HOMEMADE ก่อต้ังเม่ือปี 2561 จากท่ีเคยทาผลิตภัณฑ์ให้คนในครอบครัวใช้
ผนวกกับความต้ังใจช่วยเหลือเกษตรกรด้วยการนาข้าวอินทรีย์ 5 สายพันธ์จากกลุ่มเกษตกรชาวนา
ในภาคอิสานและภาคกลาง สกัดเป็นน้ามันราข้าว 100% จากต้นข้าวเกษตกร สู่ความละมุนของผิวพรรณ
มากด้วยคุณค่า สารโอรีซานอล (Orzanol) ซ่ึงเป็นสารท่ีพบได้ในน้ามันราข้าวเท่าน้ัน และอุดมไปด้วยสาร
ตา้ นอนุมลู อสิ ระ ลดการเสื่อมสภาพของเซลล์ ป้องกันเซลลผ์ ิว จากการถกู ทาลายด้วยแสงแดดและมลภาวะ
ในปัจจุบัน ยับย้ังการทางานของเอนไซม์ไทโรซีเนส ทาให้ผิวกระจ่างใสข้ึน เพิ่มการหล่ังเอ็นดอร์ฟิน มีกล่ิน
หอมชว่ ยคลายความเครยี ด ทุกผลิตภัณฑ์ของโอลิสาซงึ่ มีสว่ นผสมหลกั จากนา้ มนั ราข้าว

21

จึงม่ันใจในความปลอดภัย อ่อนโยน เหมาะกับทุกสภาพผิว แม้ผิวบอบบางแพ้ง่าย แนวทางการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ เร่ิมจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโอทอปอาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เพ่ือพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ทุกด้าน จนนาไปสู่การประกวดคัดสรรผลิตภัณฑ์ และเป็นก้าวแรกของโอลิสาสบู่เหลวธรรมชาติ
น้ามันราข้าว คว้ารางวัล PSO ผลิตภัณฑ์โอทอปเด่นจังหวัดมหาสารคาม ปี 2562 ประเภทสมุนไพรไม่ใช่
อาหาร (ลาดับที่ 1)นาไปสู่โอกาสสาคัญแบบก้าวกระโดด โดยได้รับโอกาสในการจาหน่ายสินค้าประจาปี
(OTOP Midyear)ท่ีอิมแพ็คเมืองทองธานี ในครั้งน้ันผลิตภัณฑ์โอลิสารับการคัดสรรจากคณะกรรมการ
โครงการโอทอปขึ้นเคร่ืองบิน (การบินไทย) ฉบับที่ 10 นับเป็นความภาคภูมิใจของชาวจังหวัดมหาสารคาม
และกลมุ่ ฮักสาโฮมเมด

ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้รบั การคัดสรรจาหนา่ ย มดี งั น้ี

1.โอลิสาสบู่เหลวธรรมชาตนิ า้ มนั ราขา้ ว

2.โอลิสาบอด้โี ลชน่ั

3.สบู่นา้ มนั มะพรา้ ว

อยากเป็นสินค้าโอทอปขึ้นเคร่ืองบินต้องมี
อะไรบ้าง (ประเภทสมุนไพรไมใ่ ช่อาหาร)

1.เลขจดแจง้ เครอื่ งสาอาง จากกระทรวงสาธารณะสุข

2.ผา่ นการตรวจมาตรฐาน มผช จากกระทรวงอุสาหกรรม

3.เป็นสนิ ค้าโอทอป ระดบั 3-5 ดาว จากกรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย

4.เป็นสนิ คา้ ที่พัฒนาตอ่ ยอดได้ และมีมาตรฐานคงท่ี

ฮักสาโฮมเมด ได้รับความช่วยเหลือด้านคุณภาพ จากศูนย์
วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่7 จังหวัดขอนแก่น ในการตรวจ
วิเคราะห์หาสารสาคัญ เอกลักษณ์ โลหะหนัก ซ่ึงผลการ
ตรวจผ่าน ตรงนส้ี รา้ งความม่ันใจให้ผู้บรโิ ภค โครงการโอทอ
ปขึ้นเครื่องบิน และเป็นการการันตีคุณภาพเคร่ืองสาอาง
สมุนไพรไทยสู่สากล อนาคตอันใกล้น้ี อยากเห็นการบูรณา
ก า ร ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ล ะ นั ก วิ ท ย า ศ า ต ร์ ท า ง
การแพทย์ ร่วมมือกัน ในการทาให้สมุนไพรไทยน่าสนใจ
จากงานวิจัย เพื่อเป็นการสร้างความน่าเช่อื ถือ พิสูจน์ได้ ถึงผลลัพธใ์ นเคร่ืองสาอางสมุนไพรในระดับสากล
ทีล่ ้วนต้องใชค้ วามรูเ้ ชงิ วิทยาศาสตร์เปน็ สาคัญ

22

นอกการพัฒนาเชิงคุณภาพแล้ว บรรจุภัณฑ์เป็นอีกหน่ึงความสาคัญในการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภค
ผู้ประกอบการควรได้รับคาแนะนาการจัดการข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ ให้ถูกต้องตามกฎของสาธารณสุข ใน
ส่วนนี้ผปู้ ระกอบการจะได้นาไปปรับปรงุ ให้ถูกต้อง เหมาะสมตอ่ ไป (สาหรบั ผู้ประกอบการโอทอปนอ้ งใหม)่
เรือ่ ง “ความสาเรจ็ ในการพฒั นา OTOP/SME ด้านอาหารของชุมชน”
โดย นายศุภลกั ษณ์ บัวโรย วิสาหกิจชุมชนบา้ นสบายใจ จังหวดั สมุทรสงคราม

ผดู้ าเนนิ การอภิปราย นายจิระเดช นาสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

23

วันที่ 26 สงิ หาคม 2563
สาขา Medical Sciences Symposium

ณ ห้อง 815 อาคาร 100 ปี การสาธารณสขุ ไทย
เรื่อง “Regional Public Health Laboratory (RPHL) Network and its Roles

iStrengtheninNational Laboratory System”
โดย Noppavan Janejai, M.Pharm. Director, Division of International Cooperation,

Department of Medical Sciences

เร่ือง “Detecting, Responding to and Preventing Emerging Infections: A collaboration
of the US Centers for Disease Control and Prevention and the Thai Ministry of
Public Health that Spans Four Decades”

โดย Dr. James D. Heffelfinger, MD.MPH Country Director – CDC Thailand

24

The presentation describes the collaboration of US CDC with the Thai MOPH over the
past 41 years and then discuss:

 the vision, mission and objectives CDC with respect to Thailand and how these have
changed over the decades
 the achievements and some of the most important investigations of the Thai FETP
 the sentinel work that US CDC has done with the Thai MOPH and other partners on
control and prevention of HIV, highlighting some of the most important studies and
findings
 the International Emerging Infections Program, the Global Disease Detection site in
Thailand and the work they have done on detecting, responding to and preventing
a variety of emerging infections, including SARS, melioidosis, antimicrobial resistant
organisms, non-communicable diseases, etc.
 the Global Health Security Agenda in Thailand and some of the investigations,
successes and challenges of this work
 the COVID-19 response

เร่อื ง “Can Pandemic be Predicted? : Lessons Learned from COVID-19”
โดย Dr. Dennis Carroll, Ph.D. Chair, Leadership Board, Global Virome Project.
Former Director, Emerging Threats Division, Global Health Bureau, United States Agency
for International Development Agency (USAID).

25

รางวลั การนาเสนอผลงานทางวชิ าการ

สาขา Current Research and Innovation on Diseases
การนาเสนอผลงานแบบบรรยาย
รางวลั ชนะเลศิ
เรื่อง “การพฒั นาชดุ อีไลซาเพือ่ ตรวจวดั ไซโตไคน์ Interferon gamma ในพลาสมาท่ีถูกกระต้นุ สาหรบั การคดั กรอง
ผตู้ ดิ เช้อื วัณโรค”
เสนอโดย นางสาวลภัสรดา ภทั รปรียากุล สถาบันชวี วทิ ยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
รางวัลรองชนะเลิศ
เรื่อง “บาราคอลเหน่ียวนาให้เกดิ การหยดุ ของวัฏจักรเซลลท์ ่ีระยะ G2/M โดยการเพิ่มระดบั ของ p27 และลดระดบั ของ
cyclin D และ CDK4”
โดย นางสาวพรพรรณ ววิ ธิ นาภรณ์ สถาบันการแพทย์จกั รนี ฤบดนิ ทร์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี
มหาวิทยาลยั มหิดล
การนาเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
รางวลั ชนะเลิศ
เร่อื ง “การศึกษาการสรา้ ง Gamma Interferon จากการกระตุ้น T cells ดว้ ยรีคอมบิแนนท์โปรตนี ESAT-6/CFP-10
fusion ในผ้ปู ว่ ยวณั โรค”
โดย นางสาวสกลุ รตั น์ สนุ ทรฉัตราวฒั น์ สถาบนั ชวี วทิ ยาศาสตรท์ างการแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
รางวัลรองชนะเลิศ
เร่ือง “ระดับแอนติบอดีชนิด IgM และ IgG ต่อเช้ือ SARS-CoV-2 ในผู้ปว่ ยโรคโควิด-19”
โดย นายภาณุพนั ธ์ ปัญญาใจ สถาบนั ชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

26

สาขา Medical Sciences for Better Consumer’s Health
การนาเสนอผลงานแบบบรรยาย
รางวลั ชนะเลิศ
เรือ่ ง “การพฒั นาชุดทดสอบกัญชา”
โดย นายชัยพัฒน์ ธติ ะจารี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1 เชียงใหม่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
รางวัลรองชนะเลิศ
เร่ือง “การวิเคราะหส์ ารเคมปี ้องกันกาจดั ศัตรูพชื ตกค้างในธญั พืชและถ่ัวเมล็ดแห้งโดย GC-MS/MS”
โดย นายธรณิศวร์ ไชยมงคล สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

การนาเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
รางวลั ชนะเลศิ
เรอื่ ง “วธิ ตี รวจวิเคราะหเ์ อน็ -ไนโตรโซไดเมทลิ เอมีน ในยารานทิ ิดีนดว้ ยเทคนิคลิควดิ โครมาโทกราฟี”
โดย นางสาวรุ่งทพิ ย์ เจอื ืตี๋ สานักยาและวตั ถเุ สพติด กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
รางวัลรองชนะเลิศ
เรื่อง “ความไวต่อยาตา้ นจลุ ชีพของเช้ือ Escherichia coli ที่แยกไดจ้ ากแหล่งน้าส่ิงแวดล้อม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี”
โดย นางสาวกติ ต์สิ มุ น คงเสนห่ ์ ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 11 สรุ าษฎรธ์ านี กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

สาขา วิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ มุ ชนเพ่ือการพฒั นาพ้ืนที่อยา่ งยั่งยนื
การนาเสนอผลงานแบบบรรยาย
รางวลั ชนะเลิศ
เรือ่ ง “การพฒั นางานบริการตรวจวเิ คราะหก์ ญั ชาทางการแพทยแ์ บบบูรณาการเครือขา่ ย เพือ่ สร้างเสรมิ เศรษฐกจิ
ในเขตสุขภาพท่ี 8”
โดย นายภทั รพล อุดมลาภ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 8 อุดรธานี กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์
รางวัลรองชนะเลิศ
เร่ือง “การระบุชนิดเห็ดก้อนฝุ่นพิษโดยวธิ ดี เี อ็นเอบาร์โค้ด”
โดย นายสิทธิพร ปานเมน่ สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรส์ าธารณสขุ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

การนาเสนอผลงานแบบโปสเตอร์
รางวัลชนะเลศิ
เร่อื ง “ความชุกของสเตยี รอยด์ในยาแผนโบราณและยาชดุ สู่การแกป้ ัญหาการจาหน่ายยาสเตยี รอยด์ โดย พชต.เขา
ไพร”
โดย นางอารรี ัตน์ พกั ตรจ์ ันทร์ โรงพยาบาลรัษฎา จังหวดั ตรงั
รางวัลรองชนะเลิศ
เร่ือง “สถานการณ์เครื่องเอกซเรยท์ างการแพทย์ในเขตสุขภาพที่ 3 ส่กู ารจดแจ้งครอบครองตามกฎหมาย”
โดย นายพริ าม พานทอง ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 3 นครสวรรค์ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์

สาขา Medical Sciences Symposium การนาเสนอผลงานแบบบรรยาย 27

การนาเสนอผลงานแบบบรรยาย
รางวัลชนะเลิศ
เรือ่ ง “การทดสอบความชานาญวิธี Real-time RT-PCR สาหรบั การตรวจเชือ้ SARS-CoV-2 รอบท่ี 1 ปี 2563”
โดย นายดนตร์ ชา่ งสม สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
รางวัลรองชนะเลิศ
เร่ือง “การพัฒนาและทดสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบสารฟิโพรนลิ และเมตาโบไลต์ตกค้างในไข่และผลิตภัณฑ์”
โดย นายวีรวฒุ ิ วิทยานันท์ สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
การนาเสนอผลงานแบบโปสเตอร์

รางวลั ชนะเลศิ

เร่ือง “ผลของยา Dapagliflozin ตอ่ autophagy signaling ของไตและการบาดเจ็บของตับอ่อน ในหนูท่มี ีภาวะอ้วน

จากการได้/รับอาหาร ไขมันสูง”

โดย นายกฤช ใจค้มุ เกา่ ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

รางวัลรองชนะเลิศ

เร่อื ง “การลดเวลากระบวนการรบั รองหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางการแพทย์ด้วย e-accreditation ในประเทศไทย”

โดย นางสาวนัฐกาญจน์ ละเอียดดี สานกั มาตรฐานห้องปฎิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

สรุปแบบสอบถามสารวจความพงึ พอใจการจดั งาน 28

การประชมุ วิชาการวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ครง้ั ที่ 29 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แบบออนไลน์

“วทิ ยาศาสตร์การแพทย์วถิ ใี หม่ เพ่ือสุขภาพและเศรษฐกจิ ไทย”

สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผเู้ ข้าร่วมประชุม

1. เพศ
ผตู้ อบแบบสารวจความพึงพอใจการจัดงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังที่ 29 ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2564 แบบออนไลน์ ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม พ.ศ. 2564 จาแนกตามเพศ พบว่าเป็นเพศ
ชาย มจี านวน 165 คน และส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญิง จานวน 638 คน ดงั แสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละจาแนกตามเพศของผู้ตอบแบบสารวจ

เพศ จานวน (คน) รอ้ ยละ

ชาย 165 20.6

หญงิ 638 79.4

รวม 803 คน 100 เปอร์เซ็นต์

2. อายุ
ผู้ตอบแบบสารวจความพึงพอใจการจัดงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี 29 จาแนก

ตามอายุ พบว่าส่วนใหญ่มอี ายรุ ะหว่าง 26-35 ปี จานวน 367 คน อายรุ ะหว่าง 36-45 ปี จานวน 237 คน และ อายุ

ระหว่าง 46-55 ปี จานวน 101 คน ตา่ กว่า 25 ปี จานวน 63 คน และอายุ 56 ปขี ึน้ ไป จานวน 35 คน ดังแสดงในตารางที่ 2
ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละจาแนกตามชว่ งอายุของผูต้ อบแบบสารวจ

ชว่ งอายุ จานวน (คน) รอ้ ยละ 29
อายตุ ่ากวา่ 25 ปี 63 7.8
อายุระหว่าง 26-35 ปี 367 45.7
อายรุ ะหวา่ ง 36-45 ปี 237 29.5
อายรุ ะหวา่ ง 46-55 ปี 101 12.6
อายุ 56 ปีขึน้ ไป 35 4.4
100 เปอรเ์ ซ็นต์
รวม 803 คน

3. การศึกษา
ผู้ตอบแบบสารวจความพึงพอใจการจัดงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังท่ี 29 จาแนก

ตามการศึกษา พบว่าส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี จานวน 601 คน การศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จานวน
จานวน 198 คน และ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาเอก จานวน 4 คน ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละจาแนกตามระดับการศึกษาของผ้ตู อบแบบสารวจ

ระดบั การศกึ ษา จานวน (คน) ร้อยละ
ปรญิ ญาตรี 601 74.9
198 24.6
สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 4 0.5
อน่ื ๆ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์
รวม 803 คน

4. อาชีพ
ผู้ตอบแบบสารวจความพึงพอใจการจัดงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี 29 จาแนก

ตามอาชีพพบว่าส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ/พนักงาน/เจ้าหน้าที่ จานวน 481 คน พนักงานของบริษัทเอกชน จานวน
181 คน ดังแสดงในตารางท่ี 4

30

ตารางที่ 4 จานวนและรอ้ ยละจาแนกตามระดับการศกึ ษาของผู้ตอบแบบสารวจ

4.36%6.22%
7%

22.54% 59.90%

ข้าราชการ/พนกั งาน/เจ้าหนา้ ที่ พนักงานบริษัทเอกชน สถาบนั การศึกษา ธุรกจิ สว่ นตวั อนื่ ๆ

อาชพี จานวน (คน) รอ้ ยละ
ข้าราชการ/พนักงาน/เจา้ หนา้ ที่ 481 59.90
181 22.54
พนักงานของบรษิ ทั เอกชน 56
สถาบันการศึกษา 35 7
ธรุ กจิ สว่ นตวั 50 4.36
อน่ื ๆ 6.22
รวม 803 คน 100 เปอร์เซน็ ต์

5. ทา่ นทราบการจดั กิจกรรมจากชอ่ งทางใด
ผ้ตู อบแบบสารวจความพึงพอใจการจัดงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ คร้ังท่ี 29 สว่ นใหญ่

ทราบการจัดกิจกรรมจากเว็ปไซค์/Facebook/Line จานวน 603 คน หนังสือราชการ จานวน 59 คน ป้าย
ประชาสมั พันธ์ จานวน 53 คน และ เพือ่ น จานวน 51 คน ดงั แสดงในตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละจาแนกตามชอ่ งทางในการรับทราบการจัดกจิ กรรมของผ้ตู อบแบบสารวจ

ทราบการจดั กจิ กรรมจาก จานวน (คน) รอ้ ยละ
ปา้ ยประชาสมั พนั ธ์ 53 6.6
หนงั สอื ราชการ 59 7.3
603 75.1
เวป็ ไซต์/Facebook/Line 51 6.4
เพ่อื น 37 4.6
อืน่ ๆ

31

สว่ นที่ 2 : ระดับความพงึ พอใจ / ความรคู้ วามเขา้ ใจ / การนาไปใช้ ต่อการเขา้ ร่วมประชุม
จากการสารวจความพึงพอใจการจัดงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งท่ี 29 ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2564 แบบออนไลน์ ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม พ.ศ. 2564 เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็นผล
ปรากฏ ดังนี้

2.1 รูปแบบการจัดการ
2.1 ตารางที่ 6 สรุปความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการสาหรับผู้เข้าร่วมงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์
การแพทย์ คร้งั ที่ 29

แบบสอบถามมี 3 ระดับ ดังนี้
3 = พอใจมาก
2 = พอใจปานกลาง
1 = พอใจน้อย

รปู แบบการจดั การ/การนาเสนอผลงาน คะแนนเฉลีย่ บุคลากรกรม บุคคลภายนอก
วิทยาศาสตร์ 2.75
1. ขั้นตอนการลงทะเบียนและการสง่ ผล 2.76 การแพทย์ 2.49
งานเข้ารว่ มประชุม 2.58
2.76
2. การเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์การจัดงาน
2.64

3. คณุ ภาพของระบบภาพ และเสียง 2.67 2.69 2.64
ระบบออนไลน์ 2.76 2.76 2.75

4. คุณภาพและความนา่ สนใจในการ 2.76 2.79 2.72
นาเสนอผลงานผา่ นการบรรยายทาง
วชิ าการในภาพรวมทกุ สาขา

5. คณุ ภาพและความนา่ สนใจในการ
นาเสนอผลงานผ่านโปสเตอร์ภาพรวม
ของทกุ สาขา

32

2.9
2.8
2.7
2.6
2.5
2.4
2.3

คะแนนเฉลย่ี บคุ ลากรกรมวทิ ย์ บคุ คลภายนอก

700 612 494 552 593 590
284
600 25 240 173 175
500 11 4 4
400

300 188

200

100 3

0

มาก ปานกลาง นอ้ ย

สว่ นที่ 3 ปัญหาและข้อเสนอแนะ
3.1 สงิ่ ท่ีควรปรับปรุงและข้อเสนอแนะในการจัดประชุมวิชาการ ฯ คร้ังต่อไป

60.00% 50.90%
50.00%
40.00% 27.40% 23.10%
30.00%
20.00% 11.70% 10.90% 10.30% 8% 6.80%
10.00%

0.00%

33

ความต้องการฟังการบรรยายวิชาการในการประชุมคร้ังต่อไป : นวัตกรรม/งานวิจัย ใหม่ ๆ, การบรรยายจาก
พันธมิตรของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, Biopharmaceutical, การจดสิทธิบัตร, พัฒนาการการรักษาโรค,
สมนุ ไพร, การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค, การด้ือยาตา้ นจลุ ชพี , Biopharmaceutical,COVID-19

3.2 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
1.ปรับปรุง Internet เสยี งดงั เบาไมส่ มา่ เสมอ มภี าพกระตกุ บางจงั หวะที่สาคญั /ปรับปรงุ ระบบภาพและเสียง ในครั้ง
ต่อไปเพอ่ื ความสมบรู ณ์แบบมากขนึ้
2.ทางผู้จัดได้พยายามปรับปรุงระบบภาพและเสียงตามที่ได้ comment ไปในวันแรก ถือว่าช่วยแก้ปัญหาความ
ขดั ข้องทเ่ี กิดขึ้นได,้ ทาใหใ้ นวนั ท่ี 2 และ 3 ระบบภาพและเสียงดีขน้ึ ขอชืน่ ชม
3.หัวข้อการบรรยายน่าสนใจ และเป็นประโยชน์มาก น่าเสียดายท่ีต้องทางานไปด้วยฟังไปด้วย ทาให้ฟังการ
บรรยายได้ไม่เต็มที่
4.อยากให้จัดชว่ งเวลาทไี่ ม่ใช่เวลาราชการหรอื ชว่ งเวลาพัก บางครัง้ หัวขอ้ นา่ สนใจเเต่ไม่มเี วลาเขา้ ฟงั
5.ขอขอบคุณทีจ่ ัดการประชุมดีๆแบบนขี้ น้ึ มา/อยากให้มกี ารจัดประชมุ ดๆี แบบน้ีเกิดข้นึ อีกเรื่อยๆ
6.ขอให้จดั ทกุ ปีเพ่ือให้อพั เดตความรดู้ ้านวิชาการไปเร่ือย ๆ
7.อบรมออนไลน์ ไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ยดมี าก
8.จัดทาเอกสารรูปเลม่ สาระสาคญั ของแต่ละหวั ข้อทจ่ี าเปน็ ในการปฏบิ ัติงาน

เอกสารประกอบการบรรยาย

34

สรุปความพึงพอใจตอ่ ระบบเกบ็ หน่วยกติ การศึกษาตอ่ เนื่องทางเภสัชศาสตรแ์ บบออนไลน์

จากการส่งลิงก์แบบสอบถามให้เภสัชกรทางอีเมลจานวน 135 คน ได้รับตอบกลับ 89 คน คิดเป็นร้อยละ 66
แบบสอบถามประกอบด้วย 5 สเกล (1 หมายถึง ไม่พึงพอใจ 5 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด) เภสัชกรส่วนใหญ่มี
ความเห็นว่าระบบเก็บหน่วยกิตการศึกษาต่อเน่ืองทางเภสัชศาสตรแ์ บบออนไลน์มีความสะดวก แต่ข้อสอบค่อนข้าง
ยาก เน่อื งจากไมม่ เี อกสารประกอบการประชุม อีกทั้งชว่ งเวลาการเปิดให้ทาข้อสอบนอ้ ยไป รายละเอียดดงั ตาราง

ขอ้ คาถาม คะแนนเฉลี่ย
1. การประชาสัมพันธร์ ายละเอียดการเกบ็ หนว่ ยกิต 4.3
2. ความสะดวกในการลงทะเบยี น 4.6
3. ชว่ งเวลาที่เปดิ ให้ลงทะเบียน 4.5
4. ระดบั ความยากงา่ ยของขอ้ สอบ 3.1
5. ความเหมาะสมของเนือ้ หาต่อวิชาชีพเภสชั กร 3.7
6. ช่วงเวลาทเ่ี ปดิ ใหท้ าขอ้ สอบ (4 ชั่วโมง) 4.1

นอกจากนี้ พบปัญหาระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารของหน่วยงานภาครัฐไม่สามารถรับ
อีเมลตอบรับอัตโนมัติจากการลงทะเบียนได้ แต่สามารถรับอีเมลตอบรับอัตโนมัติจากการทาข้อสอบได้ ท้ังที่ได้
ทดสอบระบบก่อนใช้งานอย่างละเอียด ซึ่งระบบทางานได้ตามที่ควรจะเป็น ไม่พบข้อผิดพลาดใดๆ โดยเจ้าหน้าท่ี
สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัลได้พยายามช่วยแก้ไขปัญหา แต่ไม่สาเร็จ ผู้ดูแลระบบจึงดาเนินการแก้ไขโดยส่งอีเมล
ตอบกลบั การลงทะเบยี นเองในเวลาประมาณ 11.00 น. และแจ้งเภสชั กรให้ใช้อเี มลอนื่ แทน เช่น gmail, hotmail

ข้อเสนอแนะ ควรมีเอกสารประกอบการประชุม ควรปรับข้อสอบให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของ
การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง และควรเพิ่มเวลาทาขอ้ สอบให้มากขึน้ เช่น เท่ยี งคืนของวันเดยี วกัน

35

สรุประบบเก็บหน่วยกิตการศกึ ษาตอ่ เนื่องทางเทคนคิ การแพทยแ์ บบออนไลน์

จานวนผู้ลงทะเบียนเพ่ือเก็บหน่วยกิตการศึกษาต่อเน่ืองทางสภาเทคนิคการแพทย์แบบออนไลน์ ผ่านการ
Scan Qr Code และตอบแบบสอบถามความพึงพอใจจานวนทัง้ สิ้น 5,071 รายการ ได้คะแนนทง้ั ส้นิ รวม 914 คน

300 252

250 146 162 142 124
200

150 45 43

100

50

0

จานวนผูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ

หมายเหตุ : หนว่ ยกิตการศึกษาต่อเน่ืองสาหรับเทคนคิ การแพทย์
- วนั ท่ี 25 สิงหาคม 2564 = 5.5 คะแนน
- วันที่ 26 สงิ หาคม 2564 = 6.0 คะแนน
- วันท่ี 27 สิงหาคม 2564 = 2.0 คะแนน
รวม 3 วนั = 13.5 คะแนน

36

ถอดบทเรียนการจดั ประชุมวิชาการวทิ ยาศาสตร์การแพทยค์ รงั้ ที่ 29

1.การจัดประชุมวิชาการวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์แบบออนไลน์ 100%
จานวนผเู้ ข้าร่วมประชุมผ่านระบบออนไลน์

จากข้อมูลแสดงใหเ้ หน็ ว่ามผี เู้ ขา้ ร่วมการประชมุ ฯจานวนมาก เน่ืองจากไม่ตอ้ งลงทะเบียนล่วงหนา้ ไมจ่ ากัด
จานวนผู้เข้าร่วมงาน และไม่เสียค่าลงทะเบียน ซ่ึงหากจัดการประชุมฯในสถานท่ีจริงจะไม่สามารถรองรับผู้เข้าร่วม
ประชุมได้จานวนมากขนาดนี้ ถือเป็นโอกาสในการประชาสัมพันธ์งานประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์แก่
เครือข่ายต่างๆ ทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม จานวนผู้เข้าร่วมประชุมไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงการได้รับองค์ความรู้
อย่างเต็มที่ เนอื่ งจากไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าผู้เข้าร่วมประชุมผ่านทางระบบออนไลน์ อยู่ร่วมประชุมตลอดท้ังวัน
จริงหรือไม่ รวมท้ังมีผู้เข้าร่วมงานบางส่วนไม่สามารถเข้าร่วมการประชุมผ่านระบบออนไลน์ได้เนื่องจากมีภาระงาน
อืน่ แทรกแซง

ข้อเสนอแนะ จัดการประชุมแบบไฮบริด (HYBIRD) โดยมีการจัดงาน ณ สถานที่จริงและผสมผสานการนา
แพลตฟอร์มดิจทิ ัล มาถ่ายทอดสูอ่ อนไลน์ เพ่ือตอบสนองได้ทัง้ ผูต้ ้องการเข้าร่วมงาน ณ สถานทีแ่ ละต้องการเข้าร่วม
ชมผา่ นระบบออนไลน์

2. การสง่ ผลงานบทคดั ย่อในรปู แบบ JOT Form

ระบบส่งบทคัดย่อออนไลน์สาหรับการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ีพัฒนาขึ้นจากโปรแกรม

JotForm ได้นาไปใช้ในการประชุมวิชาการฯ ปี พ.ศ. 2563 และ 2564 พบว่าช่วยให้บทคัดย่อท่ีได้รับน้ันมีรูปแบบ

เดียวกันมากข้ึน และสามารถจากัดจานวนตัวอักษรได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การใช้แบบฟอร์มออนไลน์ยัง

เกิดประโยชน์อื่นอกี หลายประการ เช่น ช่วยลดภาระงานด้านการบริหารจัดการ โดยผูเ้ กย่ี วขอ้ งสามารถเข้าถึงข้อมูล

บทคัดย่อทาง Google Sheets แบบ real time และสามารถดาวน์โหลดข้อมูลไปบริหารจัดการต่อได้ โดยไม่ต้อง

พิมพ์ข้อมูลใหม่ จึงช่วยลดขั้นตอนการทางานและลดข้อผิดพลาดจากการพิมพ์ข้อมูล นอกจากนี้ ผู้ส่งผลงานไม่ต้อง

กงั วลเรื่องการจัดรูปแบบเอกสาร คณะอนุกรรมการวิชาการฯ สามารถพิจารณาความถูกต้องด้านวิชาการเพียงอย่าง

เดียวโดยไม่ตอ้ งปรบั รปู แบบบทคดั ยอ่ ควบคกู่ ันไป 37

อย่างไรก็ดี ระบบน้ีกาหนดให้ใส่ช่ือนักวิจัยเพียง 5 ท่าน ซ่ึงมิใช่ข้อจากัดของระบบฯ แต่เป็นข้อจากัดด้าน
งบประมาณการจัดทาหนังสือบทคัดยอ่ โดยบทคัดยอ่ 1 เรื่องสามารถใช้เนื้อท่ีไม่เกิน 1 หน้า หากใส่ชือ่ ผูว้ ิจัยจานวน
มาก อาจสง่ ผลใหใ้ ช้เน้อื ที่เกนิ 1 หนา้ หรอื มีเนอ้ื ท่สี าหรบั เน้อื หาบทคัดยอ่ น้อยลง

ข้อเสนอแนะ ใช้โปรแกรม JotForm ในการส่งบทคัดย่อออนไลน์สาหรับการจัดประชุมฯ ครั้งต่อไป และ
พฒั นาระบบให้สามารถใสช่ อ่ื นักวจิ ัยได้ทั้งหมด

3. การนาเสนอผลงานทางวชิ าการในรูปแบบออนไลน์ ทั้งแบบบรรยายและโปสเตอร์
เน่ืองจากปีน้ีเป็นการประชุมวิชาการฯครั้งแรกท่ีให้ผู้นาเสนอผลงานผ่านระบบออนไลน์ 100% จึงมีความ

ขัดข้องเก่ียวกับผู้นาเสนอบางประการเช่น การขออนุญาตเผยแพร่การนาเสนอผ่านการถ่ายทอดสดผ่านระบบ
ZOOM หรือ FB LIVE โดยมีผู้นาเสนอบางส่วนไม่ยินยอมให้มีการเผยแพร่ การจัดทาเอกสารประกอบการนาเสนอ
เป็นตน้

ข้อเสนอแนะ จัดทาแบบฟอร์มสาหรับขออนุญาตเผยแพร่ถ่ายทอดการนาเสนอผ่านระบบออนไลน์รวมถึง
เงื่อนไขต่างๆให้ครบถว้ น เช่น ต้องเปิดกล้องและไมค์ขณะนาเสนอตลอดเวลา ผ้ไู มย่ ินยอมนาเสนอผลงานผ่านระบบ
ออนไลน์จะไม่ได้รับการตพี มิ พ์บทคัดยอ่ /ใบประกาศนยี บัตร เปน็ ตน้

4.ความพร้อมของสถานทใ่ี นการจดั การประชุมวชิ าการฯ ณ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ จังหวัดนนทบุรี
การจดั ประชุมวชิ าการฯแบบออนไลน์ 100% โดยใชส้ ถานท่ี ณ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ จังหวัดนนทบุรี โดย

พบปญั หาความไม่พรอ้ มของอุปกรณท์ ี่รองรับ ระบบไฟ สัญญาณอนิ เตอร์เนท รวมถึงวันท่ีสองของการจดั ประชมุ ต้อง
ใช้ห้องย่อยเพ่อื ถ่ายทอดออนไลนจ์ านวนท้งั ส้ิน 9 หอ้ ง จงึ ทาใหบ้ างห้องไมม่ ผี ูเ้ ชี่ยวชาญดา้ น IT ประจาอยู่ในหอ้ งย่อย

ข้อเสนอแนะ ควรจัดงานถ่ายทอดสดจากสถานที่ๆพร้อมรองรับการประชุม เช่น โรงแรม มากกว่าจัดที่
กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ เพ่อื ลดปัญหาความไม่พรอ้ มของอุปกรณ์ และบคุ ลากรผู้เช่ยี วชาญเฉพาะด้าน

5.ระบบอินเตอรเ์ น็ต เกดิ การไมเ่ สถียร ความแรงสปีดไม่คงที่ ทาให้มีผลกระทบกับระบบ ZOOM จึงทาใหม้ ีการ
หลุดระหว่างการประชมุ

วิเคราะห์สาเหตุแล้วเกิดจากเครือข่ายสัญญาณอินเตอร์เน็ตเกิดการเช่ือมต่อมากเกินไป (Overload) การใช้
สัญญาณอนิ เตอรเ์ น็ตมีระยะและกาลงั สง่ ทไ่ี มเ่ พียงพอ และสภาพอากาศ ฝนฟา้ คะนอง รวมถึงความไม่เชยี่ วชาญของ
ผูร้ ับจา้ งในการใช้ระบบออนไลน์

ข้อเสนอแนะ ในการจัดทา TOR การประชุมวิชาการฯในครั้งต่อไป ให้ระบุรายละเอียดเก่ียวกับการใช้งาน
ระบบออนไลน์ใหม้ คี วามละเอียดมากขึน้ รวมทง้ั ใหม้ ีผูเ้ ชยี่ วชาญด้านสารสนเทศในส่วนของบริษัทผู้รบั จ้างดว้ ย

38

ภาคผนวก

ผลงานทางวชิ าการท่ีไดร้ ับรางวัล
รวมทั้งส้นิ 16 เร่อื ง

41

42

43

44

45

43

47

48

49

50


Click to View FlipBook Version