บทที่ 2 หลักการ
วิจารณ์ ภาพยนตร์
หัวข้อในวันนี้ 01 ความหมายของการวิจารณ์
02 หน้ าที่และความสำคัญ
03 รูปแบบการวิจารณ์
04 ตระกูลภาพยนตร์
ความหมาย
การวิจารณ์หรือ Criticism มาจากภาษากรีกว่า
Krinein หมายถึง การตัดสิน และ การทำความเข้าใจ
สรุปความหมาย
การวิเคราะห์ทำความเข้าใจความหมายที่อยู่ใน
ภาพยนตร์และแนวคิดผู้สร้างภาพยนตร์ รวมถึง
ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ใน
ภาพยนตร์
การตัดสิ นคุณค่าภาพยนตร์ว่าดีหรือไม่ดี
การวิจารณ์ เป็ นการ 2 . เป็ นการกำหนดวาระสาร
1 . เผยแพร่ผลงานของผู้สร้าง
8 . การวิจารณ์ ตัวเอง หน้ าที่และความ 3 . เป็ นสื่ อกลางระหว่างผู้
สำคัญของการ ส ร้ า ง ง า น กั บ ผู้ ช ม
7 . การวิจารณ์ ในกระบวนการสร้าง วิจารณ์ ภาพยนตร์ 4 . เป็ นการชี้แนะแนวทางแก่ผู้สร้างรวม
: การควบคุ มคุ ณภาพทางการ ถึ งการรักษาคุ ณภาพ
ส ร้ า ง ส ร ร ค์
5 . เป็ นการให้ ความรู้
6 . เป็ นการให้ ความบันเทิง
รูปแบบการวิจารณ์
1. การวิจารณ์แนวรูปแบบนิ ยม
นั กทฤษฎีรู ปแบบนิ ยมมองภาพยนตร์ว่าเป็ นศิ ลปะที่ไม่จำเป็ นต้อง
สะท้อนความเป็ นจริงในชีวิตประจำวัน ภาพยนตร์มิใช่การเสนอความ
เป็ นจริง แต่เป็ นการนำเสนอและถ่ ายทอดตัวละครในรู ปของสื่ อ
ภ า พ ย น ต ร์
ตัวอย่างที่มักถู กอ้างถึ งคื อ ภาพของผลไม้ในชาม ตามมุมมอง ของนั ก
ทฤษฎีรู ปแบบนิ ยม ภาพของผลไม้ที่ถู กบันทึกภาพด้วยกล้องย่อมแตก
ต่างจากที่มองเห็ นในชีวิตจริง
ส่ วนประกอบที่สั มพันธ์กัน
1.1 ชุ ดของการเล่าเรื่อง 1.2 ชุ ดของสไตล์แสดงออก 1.3 ชุ ดของการเล่าเรื่อง และ
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย โ ค ร ง ส ร้ า ง หรือชุ ดทางเทคนิ ค ก็มีอาทิ ชุ ดทางเทคนิ คที่เป็ นองค์
ก า ร เ ล่ า เ รื่ อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ขนาด ภาพ มุมกล้อง ประกอบสำคั ญที่สามารถนำ
การดำเนิ นเรื่อง ตัวละคร ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ก ล้ อ ง ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์
ความขั ดแย้ง ฉาก การลำดับภาพ แสง สี ภาพยนตร์ตามแนวทางรู ป
เหตุการณ์ สถานที่ เสี ยง และ ดนตรีประกอบ แบบนิ ยม
แก่นเรื่อง และโครงเรื่อง
ประเด็นด้านการเล่าเรื่องหรือการเป็นเรื่องเล่าที่สมควรให้ความสนใจ
1. เรื่องราวในภาพยนตร์ 2. โครงเรื่องของ 3. ใครเป็ นผู้เล่าเรื่อง หรือการ
เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ภาพยนตร์เรื่องนั้ นเป็ น เล่าเรื่องนั้ น เล่าผ่านมุมมองของ
อ ย่ า ง ไ ร ใคร ตัวละครเอกเป็ นใคร
มีเป้ าหมายอะไร
4. อะไรเป็ นความขั ด 5. ตามกรอบของโครงสร้าง 6. การกำหนดจุดหั กเห และ
แ ย้ ง ห ลั ก ใ น เ รื่ อ ง 3 องก์ โครงสร้างการดำเนิ น จุดไคลแม็กซ์ เป็ นอย่างไร
เ รื่ อ ง มี ลั ก ษ ณ ะ อ ย่ า ง ไ ร อะไรคื อ แก่นเรื่อง
ประเด็นด้านการเล่าเรื่องหรือการเป็นเรื่องเล่าที่สมควรให้ความสนใจ
7 ฉากเหตุการณ์ หลักของ 8. ส่ วนประเด็นทางเทคนิ ค ก็คื อมุ่ง 9. การเคลื่อนไหวกล้อง เช่น
เรื่องอยู่ที่ไหน ยุคสมัยใด ศึ กษาเทคนิ คต่างๆ ในภาพยนตร์ เรื่อง การดอลลี่ การเครน หรือ การ
นั้ นๆ โดยแยกออกเป็ นขนาดภาพ ไกล ใช้สเตด แคม
มาก ไกล ปานกลาง ใกล้ ใกล้มากมุม
กล้อง (มุมสูง มุมต่ำ) 12. สี ของวัตถุ ฉาก สถานที่
หรือ สี ของแสง
10. มุมมองของกล้อง เช่น 11. การจัดองค์ ประกอบภาพ
มุ ม ม อ ง แ บ บ ซั บ เ จ็ ค ที ฟ และการใช้พื้ นที่ในกรอบภาพ
แสง (ในแง่ของทิศทาง และ
ความสว่าง มืด)
ประเด็นด้านการเล่าเรื่องหรือการเป็นเรื่องเล่าที่สมควรให้ความสนใจ
13. เสี ยง (เสี ยงดนตรีประกอบเสี ยง 14. สถานที่ (ลักษณะของสถานที่ เช่น เปิ ด
เพลง เสี ยงประกอบ ความเงียบ โล่ง คั บแคบ แออัด)
15. การลำดับภาพ (รู ปแบบหรือวิธีการ 16. สไตล์ (สไตล์เหมือนจริง สไตล์เหนื อ
ตัดต่อ และการเชื่อมต่อภาพ จริง) เทคนิ คอื่นๆ อาทิ ภาพ ช้าภาพเร็ว
อนิ เมชั่น
2. การวิจารณ์ ภาพยนตร์แนวประพั นธกร
เป็ นการวิจารณ์ ที่ให้ ความสำคั ญกับวิธีการนำเสนอ รู ปแบบนิ ยม ว่านำเสนอ
อย่างไร (HOW) มากกว่าเนื้ อหาหรือสิ่ งที่นำเสนอ
มุ่งให้ ความสนใจ ไปที่ 2 ส่ วนในภาพยนตร์ ส่ วนแรกคื อแก่นเรื่อง หรือ
อาจจะเป็ นประเด็น เรื่องที่ผู้กำกับภาพยนตร์หยิบยกมานำเสนอ อีกส่ วนก็
คื อเทคนิ ค และ สไตล์ ของภาพยนตร์
ทฤษฎีประพั นธกรมาจากความคิ ดที่ว่า ผู้กำกับภาพยนตร์เป็ นเจ้าของ
ภาพยนตร์เรื่องนั้ นอย่างสมบูรณ์ และอย่างเบ็ดเสร็จ
ซาร์ริส ได้วางหลักสำคั ญ 3 ประการของทฤษฎีประพั นธกร ได้แก่
1. องค์ ประกอบทางเทคนิ คของผู้กำกับในฐานะที่เป็ นหลักหรือ กฎเกณฑ์
แห่ งคุ ณค่ า
2. บุคลิกภาพอันปรากฏให้ เห็ นอย่างโดดเด่นในฐานะที่เป็ น หลักหรือกฎ
เกณฑ์แห่ งคุ ณค่ า
3. หลักสำคั ญอันเป็ นเป้ าหมายสูงสุด ก็คื อ การมุ่งความสนใจ ไปยังความ
ห ม า ย ที่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ภ า ย ใ น ง า น
3. การวิจารณ์ ภาพยนตร์แนวเปรียบเทียบตระกูล
หลักวรรณคดีวิจารณ์ มีบทหนึ่ งชื่อทฤษฎีว่าด้วยประเภทของวรรณคดี ในบทนั้ นมีการอ้างทัศนะของ
วิทท์เกนสไตน์ ที่เกี่ยวกับประเภทวรรณคดี โดยมีใจความตอนหนึ่ งว่า
ลองพิ จารณาดูสิ่ งที่เราเรียกว่า “กีฬา” เป็ นตัวอย่าง... ลองไปดูสิ ว่ามีลักษณะร่วมจริงๆ หรือไม่ แล้วก็จะ
พบว่าที่ปรากฏอยู่ในกีฬาทุกชนิ ดไม่มีแต่ลักษณะคล้ายคลึงกับความสั มพั นธ์ที่รวมกันเข้ าเป็ นชุ ด ๆ
คำที่น่ าจะใช้บรรยายลักษณะคล้ายคลึงกันเหล่านี้ เห็ นจะได้แก่คำว่า “ลักษณะละม้ายในสายสกุล” เพราะ
คนในตระกูลเดียวกันจะมีลักษณะคล้ายคลึงกันทั้งแบบรับช่วง ข้ ามช่วงและร่วมชั้นเชื้อสาย ในด้านรู ปร่างเค้ า
หน้ า สี ตา ท่าทาง ฟื้ นอารมณ์ ข้ าพเจ้าเห็ นพอจะพูดได้ว่า “กีฬา” ก็รวมเข้ าได้ตระกูลเหมือนคนเช่นกัน (วิทท์
เกนสไตน์ ,อ้างถึ งใน GRAHAM HOUGH,2532:89)
ต ร ะ กู ล ภ า พ ย น ต ร์
การจำแนกภาพยนตร์ออกเป็ นตระกูล พิ จารณาที่ลักษณะที่
คล้ายกัน หรือองค์ ประกอบที่คล้ายกันในภาพยนตร์
อาเธอร์ อาสา เบอร์เกอร์ (ARTHUR ASA BERGER)
ได้นำเสนอองค์ ประกอบที่สำคั ญ 10 องค์ ประกอบที่
เรียกว่าสูตรหรือองค์ ประกอบของแบบแผน (FORMULAIC
ELEMENTS) ทั้ง 10 องค์ ประกอบ
องค์ ประกอบของแบบแผน องค์ ประกอบบางส่ วนที่มีส่ วนคล้าย
ภ า พ ย น ต ร์
1. เวลา (TIME)
2. สถานที่ (LOCATION) 1. เวลา ปลายศตวรรษที่ 19
3. วีรบุรุ ษ (HERO)
4. ตัวประกอบ (SECONDARY CHARACTERS) 2. สถานที่ ดินแดนตะวันตก ของสหรัฐอเมริกา
5. ผู้ร้าย (VILLAINS)
6. โครงเรื่อง (PLOT) 3. วีรบุรุ ษ นายอำเภอ, ทหารม้า, มือปื น
7. แก่นเรื่อง (THEME)
8. เครื่องแต่งกาย (COSTUME) 4. ตัวประกอบ ชาวบ้าน
9. อาวุธ (WEAPONARY)
10. ยานพาหนะ (LOCOMOTION) 5. ผู้ร้าย พวกนอกกฎหมาย, ผู้มีอิทธิพล, มือปื น
6. โครงเรื่อง จัดระเบียบใหม่
7. แก่นเรื่อง ค ว า ม ยุ ติ ธ ร ร ม
8. เครื่องแต่งกาย หมวกคาวบอย
9. อาวุธ ปื นลูกโม่
10. พาหนะ ปื นลูกโม่ ม้า, รถม้า
ตระกูลภาพยนตร์อเมริกัน และตระกูลภาพยนตร์ไทย
ในหนั งสื อ HANDBOOK OF AMERICAN FILM GENRES
(GEHRING, 1988) ได้จำแนกตระกูลภาพยนตร์ออกเป็ น 12 ตระกูล
ได้แก่ ภาพยนตร์ ผจญภัย (ADVENTURE) ภาพยนตร์ศิ ลปะ (ART
FILM) ภาพยนตร์ชีวประวัติ (BIOGRAPHICAL) ภาพยนตร์ตลก
(COMEDY) ฟิ ล์มนั วร์ (FILM NOIR) แก๊งสเตอร์ (GANGSTER)
ภาพยนตร์สยองขวัญ (HORROR) ภาพยนตร์ เมโลดรามา
(MELODRAMA) ภาพยนตร์เพลง (MUSICAL) ภาพยนตร์นิ ยาย
วิทยาศาสตร์ (SCIENCE FICTION) ภาพยนตร์สงคราม (WAR
FILM) และ ภาพยนตร์บุกเบิกตะวันตก (WESTERN)
หนั งสือMovies and Meaning
ระบุว่าตระกูลภาพยนตร์ที่มีชื่อเสี ยงและมีความสำคั ญในประวัติศาสตร์
ภาพยนตร์ และสั งคมอเมริกันมี 5 ตระกูล ได้แก่ ภาพยนตร์บุกเบิก
ตะวันตก ภาพยนตร์แก๊งสเตอร์ ภาพยนตร์เพลง ภาพยนตร์นิ ยาย
วิทยาศาสตร์ และฟิ ล์มนั วร์
โดยในส่ วนของตระกูลภาพยนตร์ไทยนั้ นมีบางตระกูลที่คล้ายกับ
ตระกูลภาพยนตร์อเมริกัน เช่น ภาพยนตร์ตลก และภาพยนตร์สยอง
ขวัญ แต่ก็มีบางตระกูลย่อยหรือบางตระกูลที่มีลักษณะเฉพาะ ตระกูล
ภาพยนตร์ที่มีลักษณะเฉพาะดังกล่าวก็เช่น ภาพยนตร์ตลกผี และ
ภาพยนตร์ตลกพระ เป็ นต้น
หนั งสือMovies and Meaning
ภาพยนตร์ตลกผีเป็ นภาพยนตร์ตลกที่ตัวละครเอกหรือกลุ่มตัวละครเอกหรือตัวละคร
ขั ดแย้งเป็ นผี เรื่องราวอาจมีการหลอกหลอน แต่บรรยากาศไม่จริงจัง ตัวอย่างเช่น หอ
แต๋วแตก (2550) หอแต๋วแตก แหก กระเจิง (2552) บ้านผีเปิ บ (2551) และ บ้านผีปอบ
2008 (2551) เป็ นต้น
ในบริบทภาพยนตร์ไทยมักเรียกรวมๆ ว่าภาพยนตร์ผีแต่ในการเรียกรวมๆ นั้ น พบว่า
ภาพยนตร์เรื่องหนึ่ งอาจเป็ นภาพยนตร์สยองขวัญ แต่อีกเรื่องอาจเป็ นภาพยนตร์ตลกผี
ส่ วนตลกพระ คื อภาพยนตร์ที่มีตัวละครเอกเป็ นพระ โดยตัวละครเอกอาจเผชิญหน้ ากับ
ตัวละครขั ดแย้งที่เป็ นผีหรือคน อาทิ หลวงพี่ เท่ง (2548) โกยเถอะโยม (2549) และ
หลวงพี่ กับผีขนุน (2552)
แนวทางการ
วิจารณ์
01 ศึ กษาพั ฒนาการของแต่ละตระกูล
02 ศึ กษาองค์ ประกอบของแต่ละตระกูล
03 ศึ กษาการเชื่อมโยงของงานทั้งใน
สื่ อเดียวกันและต่างสื่ อ
04 วิเคราะห์ สั ญลักษณ์ และรหั สในการ
ส ร้ า ง ต ร ะ กู ล
แนวทางการ
วิจารณ์
05 ศึ กษาพั ฒนาการของตระกูลย่อย (SUB-
GENRE) และการพั ฒนาตระกูลใหม่
06 ศึ กษาเปรียบเทียบตระกูลในแต่ละ
วัฒนธรรม เช่น ไทยกับอเมริกัน เป็ นต้น
07 ศึ กษาตระกูลในแต่ละประเทศ
08 ศึ กษาผู้ผลิต และตระกูล
แนวทางการ
วิจารณ์
09 ศึ กษาเปรียบเทียบตระกูลของงานที่
ใ น แ บ บ แ ผ น กั บ ง า น เ ก ร ด ปี
10 ศึ กษาตระกูลทั้งในการผลิต และความ
หมายเชิงสั งคมและวัฒนธรรม
11 ศึ กษาผู้ชม แ ล ะ ค ว า ม ค า ด ห วั ง จ า ก
ต ร ะ กู ล
12 ศึ กษาอุตสาหกรรมการผลิตตระกูล
การวิจารณ์ ภาพยนตร์แนวเปรียบเทียบตระกูล
ก็คื อการวิจารณ์ ที่ทำงานตามกรอบความคิ ดที่ว่า
ภาพยนตร์เรื่องหนึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งหรือมีส่ วน
พาดพิ งกับภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง
ภาพยนตร์ที่อยู่ในตระกูลเดียวกัน เมื่อทำการศึ กษา
วิเคราะห์ วิจารณ์ ภาพยนตร์สั กเรื่อง จึงจำเป็ นต้องมี
การอ้างอิง พาดพิ ง และ/หรือเปรียบเทียบกับ
ภาพยนตร์ตระกูลเดียวกันเรื่องอื่นๆ เมื่อต้องการ
วิจารณ์ ภาพยนตร์บุกเบิกตะวันตกก็ต้องวิจารณ์ โดย
มีการอ้างถึ ง อ้างอิง พาดพิ ง หรือเปรียบเทียบ
ภาพยนตร์เรื่องนั้ นกับภาพยนตร์บุกเบิกตะวันตก
เรื่องๆ และเมื่อต้องการวิจารณ์ ภาพยนตร์สยอง
ขวัญ หรือ ฟิ ล์มนั วร์ ก็ต้องวิจารณ์ ในลักษณะ
เ ดี ย ว กั น
มิติแรก ศึ กษาวิเคราะห์ ตระกูลในแง่ประวัติศาสตร์
และการพั ฒนาของตระกูลให้ ความสนใจต่อองค์
ประกอบต่างๆ ของตระกูล เช่น เรื่อง ตัวละคร ฉาก
เหตุการณ์ เป็ นต้น
มิติที่สอง ศึ กษาวิเคราะห์ ตระกูลในฐานะที่เป็ น
ผลิตผลทางสั งคมและวัฒนธรรมหรืออาจจะเรียกได้
ว่าเป็ นการศึ กษาบทบาทหน้ าที่ทางสั งคมของ
ภาพยนตร์ตระกูลหนึ่ ง (RYALL, 2003: 103) ในมิติที่
สองนี้ ตระกูลภาพยนตร์ถู กพิ จารณาว่าเป็ นเครือข่ าย
ทางอุ ดมการณ์ (ITERRAY-ICAL NETWORK) ที่
เกี่ยวข้ องกับการรับรู้ทางการเมือง และมีส่ วนกำหนด
ความคิ ด และทัศนคติที่มีต่อปมหรือประเด็นขั ดแย้ง
ทางสั งคมและวัฒนธรรม
ยกตัวอย่างภาพยนตร์หนึ่ งเรื่องคื อ AMERICAN
SNIPER ผู้เขี ยนได้เขี ยนบทวิจารณ์ ตอนหนึ่ งว่า
“สิ่ งที่นั กดูหนั งน่ าจะอยากรู้ คื อ AMERICAN
SNIPER มีความแตกต่างจากหนั งสงครามที่มี
สมรภูมิอยู่ในเมืองเรื่องอื่นหรือไม่ และแตกต่าง
จากหนั งเกี่ยวกับพลซุ่มยิงหรือเกี่ยวกับหน่ วยซีล
เรื่องอื่นหรือไม่ ผมเชื่อว่าหลายคนคาดหวังที่จะได้
เห็ นความแตกต่าง ผมเองก็คาดหวัง เนื่ องจาก
มองว่าถ้ าไม่มีความแตกต่างก็คงไม่ได้รับรางวัล
หรือได้เข้ าชิงรางวัลหรือได้รับการเลือกให้ เป็ น
หนั งยอดเยี่ ยมแห่ งปี และผมยังเชื่อว่าความแตก
ต่างที่หนั งมีนั่ นเอง ที่ทำให้ หนั งมีความโดดเด่น
น่ าสนใจ และกลายเป็ นหนั งดีที่ได้รับการคั ดเลือก
และพิ จารณาให้ เป็ นหนั งยอดเยี่ ยมแห่ งปี อย่างที่ได้
นำเสนอไปข้ างบน
เมื่อลองเปรียบเทียบกับหนั งสงครามที่สู้ รบกันกลาง
เมืองอย่าง BLACK HAWK DOWN เรื่องนั้ นเน้ นการ
บรรยายภาพการสู้ รบ ใช้เทคนิ ค และงานฝี มือการ
ถ่ ายทำชั้นเลิศ แต่หนั งไม่ได้เจาะลึกถึ งจิตใจของตัว
ละคร รวมถึ งไม่ได้แสดงคำถามหรือจุดยืนทางการ
เมืองหรือศี ลธรรม เมื่อลองเทียบกับหนั งเกี่ยวกับ
หน่ วยซีลอย่าง LONE SURVIVOR ผมก็มองคล้ายกัน
กับ BLACK HAWK DOWN คื อเน้ นบรรยายฉากการยิง
ต่อสู้ และงานฝี มือการถ่ ายทำ และเมื่อย้อนกลับไป
ไกลถึ งเมื่อ 13 ปี ที่แล้ว โดยนึ กเทียบกับการดวลกัน
ของสองนั กซุ่มยิงใน ENEMY AT THE GATES เรื่อง
นั้ นอาจคล้ายกันในแง่การปะทะของสองยอดฝี มือแต่
ในแง่ของความรู้สึ กทางศี ลธรรม ก็ยังไม่เน้ นหรืออาจ
ไ ม่ มี
อาจกล่าวได้ว่า AMERICAN SNIPER เป็ นผลรวม
ของจุดเด่นที่มีในหนั งที่อ้างถึ งทั้ง 3 เรื่อง ได้แก่
เทคนิ คการถ่ ายทำ และงานฝี มือในการบรรยายภาพ
การสู้ รบในเมืองกับการสร้างเรื่องราวเกี่ยวกับการ
ต่อสู้ กันของสองนั กแม่นปื นผู้เป็ นพลซุ่มยิง แต่ที่
แตกต่างก็คื อ AMERICAN SNIPER นำเสนอ
ประเด็นทางรวมถึ งเพิ่ มเติมศี ลธรรม และเจาะลึก
ความรู้สึ กนึ กคิ ดของตัวละคร บรรยากาศแนวหนั ง
เกี่ยวกับทหารผ่านศึ ก อย่างเช่นในขณะที่กำลังเล็ง
ปื นและเหนี่ ยวไกนั้ น ตัวละครเอกคื อ คริส ไคส์
(แสดงโดย แบรดลีย์ คู เปอร์) ได้พบว่านอกจาก
กองกำลังติดอาวุธที่เป็ นเป้ าหมายแล้ว เหยื่อกระสุน
ที่มาจากความแม่นยำขั้ นเทพของเขายังมีเด็กและผู้
หญิ งรวมอยู่ด้วย
Q@A