เดือนกันยายน 2564
รายงาน
รวบรวมงาน
รายวิชา ว 33285 คอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยี 3
นำ เ ส น อ โ ด ย
นาย ธวัชชัย กองทุ่งมน ม.6/3 เลขที่14
ค้นคว้างานวิจัย
องค์ประกอบ
ของแชทบอท
บ
การออกแบบองคป
1. คณุ คาหรอื คุณประโยชนของแชทบ
2. บุคลกิ ของผูใช (Persona)
3. บคุ ลกิ ของแชทบอท (Botsona)
4. เจตนาหรอื เป าหมายในการสนทนา
5. งานของระบบทจ่ี ะประมวลผลอยูเ บ
6. วธิ กี ารส่ือสาร (Modalities)
7. แพลตฟอรมทใ่ี ชสาํ หรบั พัฒนาแชท
8. แพลตฟอรม หรอื ชองทางในการใหบ
9. บริการหรอื ขอมลู ทเ่ี ป็นองคความรขู
10. แผนการหรอื กลยุทธใ นการทําใหแ
11. แผนการวิเคราะหข อมลู ที่ไดจ ากก
ประกอบของแชทบอท
บอท (Value Proposition)
าของผใู ช (Intent/Conversational Tasks)
บ้อื งหลัง (Background Tasks)
ทบอท (Deployment Platform)
บริการ (Deployment Platform)
ของแชทบอท (Services)
แชทบอทเป็นที่รจู ัก (Marketing)
การใชง านแชทบอท (Analytics)
1. คุณค่าหรือคุณประโยชน์ของแชท
คือ สรางข้ึนมาเพ่ือวตั ถปุ ระสงคอะไร สรา งข้ึนเพ่อื
หาขอ มลู ของเรา เพ่ือจดจําขอมลู เพ่ือเป็นเพ่อื นคยุ
เรา
เชน
-ดวงของแตละราศขี องวันนี้ วัตถปุ ระสงคค ือ บอก
ทบอท (VALUE PROPOSITION)
อเป็นผูชวยสว นตัวของเรา เป็นผชู วยในการสบื คน
ย หรือเป็น ที่ปรึกษาในการทาํ งาน การเรียนของ
กดวงชะตาของราศแี ตละราศี
2. บุคลิกของผู้ใช้ (PERSONA)
คือคนท่ีจะมาํ ใช แชทบอททีเ่ รํากาํ ลงั จะสร้ํางข้ึนมา
บคุ ลกิ ลกั ษณะของผูใ ชข้ึนมากอน จะทาํ ใหเ รากาํ หน
ข้ึนมาควร จะใชภ าษาอยา งไร สาํ นวนอยางไร ควร
ผใู ชใ นกลุมนัน้
เชน
-ดวงของวันนี้จะมผี ลตอ คนแตละคนไมเหมือนกนั
ามี บคุ ลกิ ลกั ษณะอยางไรบา ง การท่เี ราจะกําหนด
นด ขอบเขตได วา แชทบอททีเ่ รากําลังจะสราง
รมอี งคความรู อะไรบางเพ่ือตอบความตอ งการของ
3. บุคลิกของแชทบอท (BOTSON
คือเราตอ งออกแบบแชทบอทใหมีบคุ ลิก ลกั ษณะท
บอทอาจารยท่ปี รึกษาใหกับนักเรยี นบุคลกิ ของแชท
หรือหมอื นอาจารย จะทําใหน าเช่อื ถอื มากย่ิงข้นึ
เชน
-รา เริง พดู คยุ สนกุ สนาน
NA)
ทส่ี อดคลอ งกบั ผูใช เชน เรากาํ ลงั จะะออกแบบแชทฃ
ทบอทที่เหมาะสมกบั กรณีนี้อาจจะเป็นบคุ ลกิ คลาํ ยๆ
4. เจตนาหรือเปาหมายในการสนทนาของผู้ใช
ถ้ําจะทําแชทบอทเก่ียวกบั การใหคาํ ปรึกษาเกย่ี วกับ
เร่ืองอะไรบาง เชน เร่ือง การสอบ การเรียนพิเศษ
หวั ขอเหลานี้จะเป็นหัวขอและเป าหมายทจ่ี ะตอ ง ก
ท่ีเรากําลังจะสราง กําลังจะคุยเร่ืองอะไรบาง และว
อะไร
เชน
-การทผี่ ูใชตอ งการรดู วงของตนเองและแชมบอทบ
ช้ (INTENT/CONVERSATIONAL TASKS)
บการเรียนตอ งออกแบบวา การใหค ําปรึกษานี้มี
ความรเู กีย่ วกบั คณะตางๆ ในการ เรียนตอ
กําหนดใหช ัดเจนวาผูใชทเ่ี รากาํ หนดไว และแชทบอท
วตั ถุประสงคที่ เขามาคยุ กับ แชทบอทของเราเพ่ือ
บอกในแตละวนั
5. งานของระบบทีจะประมวลผล
เบืองหลัง (Background Tas
คือ การอัพเดทข้อมูลของผู้ใช้ ซงึ เปน
การทํางาน
7. แพลตฟอร์มทีใชส้ าํ หรับพัฒนาแชทบอท
(Deployment Platform)
คือ การเลือกพืนทีในการพัฒนาแชทบอท
ลอยู่ 6. วธิ ีการสือสาร (Modalities)
sks) คือ การทีเราเลือกวิธีการสือสาร
นระบบ
ท
8. แพลตฟอร์มหรือชอ่ งทางในการให้
บริการ (Services Platform)
คือ การทีเราเลือกว่าเราจะใหบ้ รกิ ารผ่านช่อง
ทางไหน
9. บริการหรือข้อมูลทีเปนองค์ควา
แชทบอท (Services)
คือ ข้อมูลหรอื ความรูท้ ีดรราปอนใส่
แชทบอท
11. แผนการวเิ คราะห์ข้อมูลทีได้จากการใ
งานแชทบอท (Analytics)
คือ การวางแผนในการพัฒนา
ามรู้ของ
10. แผนการหรือกลยุทธ์ในการท าให้
แชทบอทเปนทีรู้จัก (Marketing)
คือ การทีเราคิดแผนการหรอื กลยุทธ์อะไร
บ้างทีจะทําใหแ้ ชทบอทเปนทีรูจ้ ัก
ใช้
DATA
MINING
DATA MINING คือ P L A T F O R M ที่ ใ ช้
DATA MINING
D A T A M I N I N G คื อ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์
ข้ อ มู ล จ า ก ข้ อ มู ล จำ น ว น ม า ก ( B I G
D A T A ) เ พื่ อ ห า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง
ข้ อ มู ล ที่ ซ่ อ น อ ยู่ โ ด ย ทำ ก า ร จำ แ น ก
ป ร ะ เ ภ ท รู ป แ บ บ เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล
ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น แ ล ะ ห า ค ว า ม
น่ า จ ะ เ ป็ น ที่ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ที่ ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ใ ช้
ป ร ะ ก อ บ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ
เ ช่ น ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ , ท า ง ธุ ร กิ จ ,
ท า ง ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ , ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์
ท ห า ร เ ป็ น ต้ น
DATA MINING
ธุ ร กิ จ ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ช่ น ดู ห นั ง O N L I N E โ ด ย วั ด จ า ก จำ น ว น ค รั้ ง ที่ รั บ ช ม ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น
ก า ร ช ม ภ า พ ย น ต์ ต า ม ก ลุ่ ม ข อ ง เ นื้ อ ห า ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ภ า พ ย น ต์ ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ นำ ข้ อ มู ล ม า
วิ เ ค ร า ะ ห์ แ บ บ K - M E A N S ก็ จ ะ แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ผู้ ช ม ต า ม ค ว า ม ส น ใ จ ไ ด้ ผ ล ลั พ ธ์ ที่ ไ ด้
ก็ อ า จ จ ะ ส ร้ า ง ร ะ บ บ นำ เ ส น อ ห รื อ R E C O M M E D A T I O N S Y S T E M เ พื่ อ ใ ห้ ลู ก ค้ า พึ ง
พ อ ใ จ สู ง สุ ด ตั ว อ ย่ า ง ง า น วิ จั ย ที่ น่ า ส น ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ร ะ บ บ R E C O M M E D A T I O N ที่ เ กี่ ย ว
กั บ เ รื่ อ ง นี้
ตั ว อ ย่ า ง ร ะ บ บ R E C O M M E N D A T I O N S Y S T E M ข อ ง
N E T F L I X , D I S N E Y + , Y O U T U B E , H B O G O ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล ข้ อ มู ล ข อ ง ผู้ ช ม ที่ มี
พ ฤ ติ ก ร ร ม ค ล้ า ย กั น
น า ย ธ วัช ชัย ก อ ง ทุ่ ง ม น ม . 6 / 3 เ ล ข ที่ 1 4
BIG DATA
Big Data คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีทั้งหมดภายในองค์กรไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลของบริษัท
ข้อมูลติดต่อของลูกค้า
ข้อมูลติดต่อของผู้ร่วมธุรกิจ
ลักษณะของผู้บริโภค
การทำรายการธุรกิจต่างๆ ในแต่ละวัน
ตัวอักษร ไฟล์เอกสาร รูปภาพ
รวมถึงข้อมูลอื่นๆ แทบทุกประเภทที่อยู่บนโลกออนไลน์
BIG DATA จะต้องมีลักษณะสำคัญ 4V ดังต่อไป
นี้ จึงจะเรียกได้ว่าเป็น BIG DATA
1. ปริมาณ (Volume)
คือ ปริมาณข้อมูลที่สามารถผลิตและจัดเก็บไว้ได้จะต้องขนาดที่
ใหญ่มากเพียงพอ ซึ่งปริมาณของข้อมูลจะเป็นข้อบ่งบอกได้ถึงคุณภาพ
และประสิทธิภาพของข้อมูลภายในนั้น และสามารถนำไปพิจารณาต่อได้ว่า
ข้อมูลที่มีอยู่เหล่านั้น ถือเป็น Big Data หรือไม่
2. ความหลากหลาย (Variety)
คือ ความหลากหลายของประเภทของข้อมูล โดยสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน
การนำข้อมูลไปวิเคราะห์ต่อยอดได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือ, รูปภาพ, ข้อมูล
เสียงที่ถูกบันทึกไว้, วีดีโอหรือไฟล์ประเภทอื่นจากหลากหลายแหล่งที่มา ก็สามารถเป็น
ส่วนหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ Big Data ได้
ซึ่งจะเป็นข้อมูลจากทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นการเงิน ฝ่ายขาย การตลาด ลูกค้าสัมพันธ์ บัญชี
รวมถึงตัวหนังสือที่อาจเป็นบทสนทนาระหว่างแผนก หรือระหว่างบริษัท ซึ่งอาจเป็น
ข้อความจาก Social Media รวมถึง URLs ที่มีข้อมูลเข้ามาอยู่ในทุกวัน
3. ความเร็ว (Velocity)
คือ ความเร็วในการประมวลผลและผลิตข้อมูลขึ้นมาเพื่อให้ทันกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่ง
Big Data คือข้อมูลที่ได้มาแบบ Real-Time และประมวลผลอยู่ตลอดเวลา แตกต่างจาก Small
Data ที่ไม่สามารถทำได้ Big Data จะมีความถี่ในการประมวลผลที่มากกว่า การบันทึกข้อมูลที่มากกว่า
และเผยแพร่ข้อมูลที่มากกว่า ข้อมูลของ Big Data ที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของข้อมูลที่มีการเพิ่มขึ้นได้
อย่างรวดเร็ว โดยไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลตัวอักษรการสนทนา
ข้อมูลการบันทึกเสียง
ข้อมูลการถ่ายภาพวีดีโอ
ข้อมูลอัตราการสั่งซื้อสินค้า
ข้อมูลโปรโมชั่นต่างๆ
ซึ่งหากมานั่งดูแล้วจะถือว่าเป็นข้อมูลที่มีอยู่มาก และมีการอัปเดทเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
4. คุณภาพของข้อมูล (Veracity)
คือ คุณภาพของข้อมูลที่สามารถนำไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไปได้อีก เป็นข้อมูลที่ยังไม่ผ่าน
การประมวลผลอยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิบซึ่งสามารถนำไปประมวลผลต่อไปได้ และเป็นข้อมูล
ที่มาจากหลากหลายแหล่งไม่ว่าจะเป็น Facebook, Youtube, Twitter ซึ่งข้อมูลจาก
แหล่งเหล่านี้ยากที่จะสามารถควบคุมคุณภาพรวมถึงการคัดกรองข้อมูล และความน่าเชื่อถือ
ของข้อมูล จึงต้องนำข้อมูลเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการทำ Data Cleansingนอกจาก 4V ที่
เป็นลักษณะสำคัญของ Big Data นี้แล้วก็ยังมีลักษณะข้ออื่นๆ ที่สามารถบ่งบอกได้ว่าเป็น
Big Data เช่นเดียวกัน ได้แก่
Scalability คือ ขนาดของข้อมูลทั้งหมดที่มีที่ต้องสามารถขยายขนาดได้อย่างรวดเร็ว
Relational คือ ความเกี่ยวข้องกันของข้อมูล ข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่จะ
สามารถทำให้การประมวลผลสามารถทำได้ดีมากยิ่งขึ้น
DATA MINING และ BIG DATAต่างกันอย่างไร?
Data Mining คือกระบวนการการวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลจำนวนมาก
(BIG DATA)เพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ซ่อนอยู่ส่วนBig Data คือ การ
เก็บข้อมูลขนาดใหญ่ทั้งสองอย่างต่างกันตรงที่data mining คือ กระบวนการ
ส่วนBig Data คือการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่
นาย ธวัชชัย กองทุ่ งมน ม. 6/3 เลขที่ 14