The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการวัดและประเมินผล วิชาคณิตศาสตร์ ค14101

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bam_diizza, 2022-06-03 03:23:29

แผนการวัดและประเมินผล วิชาคณิตศาสตร์ ค14101

แผนการวัดและประเมินผล วิชาคณิตศาสตร์ ค14101

6) ตรวจใบงานท่ี 3.6 เรอ่ื ง โจทยป์ ัญหาการคณู
7) ตรวจใบงานท่ี 3.7 เร่ือง การสรา้ งโจทยป์ ัญหาการคณู

2.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านในห้องเรียน
- อื่น ๆ

2.3 การวัดและประเมินผลเม่ือส้ินสดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลังเรียน

3. กิจกรรมการเรยี นรู้ (20 ช่ัวโมง)

ชอื่ หน่วย กจิ กรรม ชิน้ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ชั่วโมง
- ใบงาน
การคูณจานวนทม่ี ีหนง่ึ หลักกบั - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 2
- แบบฝึกหดั 3
จานวนท่มี ากกวา่ ส่หี ลัก
3
การคูณจานวนทีม่ ีสองหลกั กบั - ใบงาน 3
จานวนที่มีสามหลกั - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ 3
- แบบฝึกหดั 4

- ใบงาน

การคูณจานวนท่มี ีหลายหลกั - กิจกรรมฝึกทักษะ

การคูณ - แบบฝึกหัด

การประมาณผลลัพธข์ องการ - ใบงาน
คณู - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ
- แบบฝกึ หัด

การหาตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค - ใบงาน
สญั ลกั ษณ์แสดงการคณู - กิจกรรมฝึกทกั ษะ
- แบบฝึกหดั

- ใบงาน

โจทยป์ ัญหาการคูณ - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ

- แบบฝึกหัด

การสรา้ งโจทยป์ ัญหาการคูณ - ใบงาน 2
- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 20
- แบบฝึกหดั

รวมเวลาเรียน

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 เร่อื ง การหาร

รายวชิ า คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 14 ชว่ั โมง ผูส้ อน นางสาวพชั ญา ผดั หน้า

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้
1.1 ความเขา้ ใจทีค่ งทน

นกั เรียนเขา้ ใจว่า

การหารท่มี ตี วั หารหลายหลกั ทาได้หลายวธิ ี โดยเริ่มต้นจากหลกั ทางซา้ ยมือไปขวา
ทลี ะหลัก ถ้าการหารลงตัวคือ มเี ศษเป็นศูนย์ การหารไมล่ งตวั คอื มีเศษต้องน้อยกว่าตัวหารเสมอ

ตัวไมท่ ราบคา่ เป็นสญั ลักษณ์ที่ใช้แทนจานวนที่ยงั ไมท่ ราบค่า อาจจะใช้รปู เช่น
หรอื ตัวอกั ษร เชน่ ก ค ง A x เป็นสญั ลักษณ์แสดงตวั ไมท่ ราบคา่ เราสามารถนาความรู้ เรื่อง
การหาคา่ ตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารใช้เปน็ พื้นฐานในการเรยี นขนั้ สูงตอ่ ไป

การหาค่าประมาณผลลัพธก์ ารหารอาจใช้การนาตัวตั้งมาหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวน
เต็มหลักต่าง ๆ แลว้ จงึ หารหรืออาจใช้วธิ หี าจานวนใกล้เคียงตัวตัง้ ทีต่ ัวหารสามารถหารลงตวั ได้ง่าย ๆ

1.2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวนผลท่ีเกิดขึน้ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้
ตัวชีว้ ัด

ค 1.1 ป.4/7 ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารจากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง
สมเหตุสมผล

ค 1.1 ป.4/9 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก 2
จานวน ที่มผี ลคณู ไมเ่ กนิ 6 หลกั และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารทีต่ ัวต้ังไม่เกนิ
6 หลัก ตวั หารไม่เกนิ 2 หลกั

ค 1.1 ป.4/11 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา 2 ข้นั ตอน ของจานวนนับทมี่ ากกวา่ 100,000
และ 0

ค 1.1 ป.4/12 สร้างโจทย์ปญั หา 2 ขน้ั ตอน ของจานวนนับและ 0 พรอ้ มทั้งหาคาตอบ

1.3 สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การหารจานวนมีวธิ กี ารท่หี ลากหลายและใช้ทักษะและกระบวนการทาง
คณติ ศาสตรใ์ นการหาคาตอบ การหาตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณต์ ้องใช้ความสมั พันธ์
ของการคูณและการหาร และการประมาณผลลพั ธข์ องการหารชว่ ยตรวจสอบความถูกตอ้ งของ
คาตอบ และการแกโ้ จทย์ปัญหาการหาร ต้องวิเคราะหโ์ จทย์ปัญหาและแสดงวิธีทาเพือ่ หา
คาตอบรวมทัง้ ต้องตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบ

1.4 สาระการเรียนรู้
1. การประมาณผลลพั ธ์ของการหาร
2. การหาร
3. การแก้โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หา พรัอมทั้งหาคาตอบ

1.5 สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะการแปลความ

2) ทักษะการเชอ่ื มโยง

3) ทักษะการใหเ้ หตผุ ล

4) ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา

5) ทักษะการนาความรไู้ ปใช้

2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

1.6 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มวี นิ ยั

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. มงุ่ มั่นในการทางาน

2. หลกั ฐานการเรยี นรู้
2.1 ช้นิ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานที่ 4.1 เรอ่ื ง การหารท่ตี ัวหารมหี น่ึงหลัก
2) ตรวจใบงานท่ี 4.2 เรือ่ ง การหารที่ตัวหารมีสองหลกั
3) ตรวจใบงานที่ 4.3 เร่อื ง การหารท่ตี ัวหารมสี ามหลัก
4) ตรวจใบงานที่ 4.4 เรอ่ื ง การประมาณผลลัพธ์ของการหาร
5) ตรวจใบงานท่ี 4.5 เรอ่ื ง การหาตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการหาร
6) ตรวจใบงานที่ 4.6 เรื่อง โจทยป์ ญั หาการหาร

7) ตรวจใบงานท่ี 4.7 เร่ือง การสรา้ งโจทย์ปญั หาการหาร

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤติกรรมการปฏิบตั ิงานในห้องเรียน
- อนื่ ๆ

2.3 การวัดและประเมินผลเมอ่ื สิ้นสดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลังเรยี น

3. กิจกรรมการเรยี นรู้ (14 ช่ัวโมง)

ชอ่ื หน่วย กจิ กรรม ชน้ิ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรยี นรู้ ชว่ั โมง
- ใบงาน
การหารทตี่ วั หารมีหนึ่งหลกั - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 2
- แบบฝกึ หัด
การหารท่ีตวั หารมสี องหลกั - ใบงาน 2
- กิจกรรมฝึกทกั ษะ
การหาร การหารทตี่ วั หารมีสามหลกั - แบบฝึกหัด 2
- ใบงาน
การประมาณผลลพั ธ์ของการ - กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 2
หาร - แบบฝึกหัด
- ใบงาน 3
การหาตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ
สัญลักษณ์แสดงการหาร - แบบฝกึ หัด 2
- ใบงาน
โจทย์ปญั หาการหาร - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ
- แบบฝึกหัด
- ใบงาน
- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ
- แบบฝึกหัด

การสรา้ งโจทยป์ ัญหาการหาร - ใบงาน 1
- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 14
- แบบฝึกหดั

รวมเวลาเรียน

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เรอ่ื ง แบบรูปของจานวน

รายวิชา คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 5 ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวพัชญา ผัดหนา้

1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ความเขา้ ใจทค่ี งทน

นักเรยี นเข้าใจวา่

เหตุการณต์ ่าง ๆ ท่เี กิดขึ้นจะเป็นแบบรูปทางคณติ ศาสตร์หรือแบบรปู แบบอ่นื ๆ จะต้อง
สงั เกตแบบรปู ในชุดแรกกอ่ น แลว้ จึงหาแนวโนม้ ว่าจะเปน็ สง่ิ ใด

1.2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟงั กช์ นั ลาดับและอนุกรม

และนาไปใช้
ตวั ชี้วัด

ค 1.2 (มีการจดั การเรียนการสอนเพือ่ เป็นพ้ืนฐาน แต่ไมว่ ดั ผล)
1.3 สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
แบบรูปของจานวนที่มีความสัมพันธ์แบบเพิ่มข้ึนและลดลงท่ีเกิดจากการคูณและ

การหารด้วยจานวนเดียวกันเป็นชุดของจานวนท่ีมีความสัมพันธ์กัน สามารถบอกจานวนต่อไป
หรือจานวนทหี่ ายไปได้

1.4 สาระการเรียนรู้
1. การประมาณผลลัพธ์ของการหารแบบรูปของจานวนที่เกิดจากการคูณ การหารด้วย

จานวนเดียวกนั

1.5 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะกระบวนการคิดแกป้ ัญหา

2) ทักษะการนาความรไู้ ปใช้

2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

1.6 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

2. หลักฐานการเรยี นรู้
2.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 5.1 เรอ่ื ง แบบรปู ของจานวนทีเ่ กดิ จากการคณู ดว้ ยจานวนเดยี วกัน
2) ตรวจใบงานที่ 5.2 เร่ือง แบบรปู ของจานวนที่เกิดจากการหารด้วยจานวนเดียวกนั

2.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานในห้องเรยี น
- อ่ืน ๆ

2.3 การวัดและประเมนิ ผลเมอ่ื สนิ้ สดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลงั เรยี น

3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (6 ชว่ั โมง)

ชอื่ หน่วย กจิ กรรม ชิน้ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรยี นรู้ ชัว่ โมง

แบบรูปของจานวนท่ีเกดิ จาก - ใบงาน 2

การคณู ดว้ ยจานวนเดียวกนั - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ 3
5
แบบรูปของจานวน - แบบฝกึ หัด
แบบรปู ของจานวนทเี่ กิดจากการ - ใบงาน

หารด้วยจานวนเดียวกนั - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ

- แบบฝึกหดั

รวมเวลาเรยี น

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 เรอื่ ง รูปเรขาคณิต

รายวชิ า คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 10 ช่ัวโมง ผูส้ อน นางสาวพชั ญา ผดั หน้า

1. เป้าหมายการเรยี นรู้
1.1 ความเข้าใจที่คงทน
นกั เรียนเขา้ ใจว่า
นักเรยี นเขา้ ใจว่า
จดุ เส้นตรง สว่ นของเสน้ ตรง ระนาบ รงั สี เป็นรูปเรขาคณติ
มุมเกดิ จากรังสสี องเสน้ ทีม่ ีจุดปลายเปน็ จุดเดยี วกัน จดุ ปลายทเ่ี ป็นจดุ เดียวกนั น้ี เรยี กวา่

จดุ ยอดมมุ รงั สีแต่ละเสน้ เรยี กว่า แขนของมุม การเขยี นชื่อมุม เขยี นโดยใช้ตวั อกั ษร 3 ตัว ตวั หนึง่ อยทู่ ่ี
จดุ ยอดมมุ ตวั หนึ่งอยู่ทีจ่ ุดบนแขนของมมุ ข้างหน่ึง และอีกตัวหนึง่ อยู่บนแขนของมุมอกี ข้างหนงึ่ การ
อ่านชอื่ มมุ ใหอ้ ่านตวั อกั ษรท้งั 3 ตวั เรยี งกัน โดยเริ่มต้นจากตวั อกั ษรทีแ่ ขนของมุมขา้ งหน่งึ ทีม่ ุมยอด
และท่ีแขนของมุมอกี ขา้ งหนง่ึ

มุมฉาก คือ มมุ ที่มขี นาดเท่ากับมมุ ของกระดาษมุมฉาก
มุมตรง คือ มมุ ทีม่ ีขนาดเทา่ กบั สองมมุ ฉาก
มุมแหลม คือ มุมที่มีขนาดเลก็ กว่ามมุ ฉาก
มมุ ปา้ น คือ มุมที่มีขนาดใหญ่กว่ามมุ ฉาก แต่เลก็ กวา่ สองมุมฉาก
มุมกลบั คอื มมุ ท่ีมีขนาดใหญก่ ว่าสองมุมฉาก
โพรแทรกเตอรเ์ ป็นเคร่อื งมอื สาหรบั วัดมมุ โพรแทรกเตอรม์ ที ้ังชนดิ คร่งึ วงกลมและชนดิ
สี่เหล่ยี มผืนผ้า หน่วยการวดั ขนาดของมุม เรยี กว่า องศา เขยี นแทนดว้ ย “ o ”
1.2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด

มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงทต่ี ้องการวัด
และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณิต
ความสัมพันธร์ ะหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาไปใช้

ตวั ชี้วัด
ค 2.1 ป.4/2 วดั และสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์
ค 2.2 ป.4/1 จาแนกชนดิ ของมุม บอกช่ือมมุ สว่ นประกอบของมมุ และเขยี นสญั ลกั ษณแ์ สดงมมุ

1.3 สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ระนาบเปน็ พืน้ ที่ผวิ แบนและเรยี บทีแ่ ผข่ ยายออกไปอย่างไมม่ ที ่สี ิน้ สดุ จดุ ใช้แสดง

ตาแหนง่ เสน้ ตรง สว่ นของเส้นตรง มลี กั ษณะตรง เส้นตรงและรังสมี คี วามยาวไม่ส้นิ สุด รงั สีสองเส้นที่
มีจุดปลายเปน็ จุดเดียวกนั ทาให้เกิดมุม มุมชนดิ ตา่ งๆ เราสามารถใช้โพรแทรกเตอรว์ ดั หาขนาดของมมุ
และสร้างมุมตามท่ีต้องการได้

1.4 สาระการเรยี นรู้
1. การวัดขนาดของมมุ โดยใช้โพรแทรกเตอร์
2. การสร้างมุมเม่ือกาหนดขนาดของมุม
3. ระนาบ จดุ เส้นตรง รังสี สว่ นของเสน้ ตรง และสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รงั สี สว่ น

ของเส้นตรง
4. มุม
o ส่วนประกอบของมุม
o การเรยี กชอื่ มมุ
o สญั ลกั ษณ์แสดงมมุ
o ชนิดของมมุ

1.5 สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น
1. ความสามารถในการคดิ
1) ทักษะการระบุ
2) ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้
2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

1.6 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินัย

2. ใฝ่เรียนรู้

3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

2. หลกั ฐานการเรียนรู้
2.1 ชนิ้ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 6.1 เรอื่ ง ระนาบ จุด เสน้ ตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง และสัญลักษณ์
2) ตรวจใบงานที่ 6.2 เรอ่ื ง มุม
3) ตรวจใบงานที่ 6.3 เรอ่ื ง การวดั มุมและการสรา้ งมุม

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤติกรรมการปฏิบัติงานในหอ้ งเรยี น
- อนื่ ๆ

2.3 การวัดและประเมินผลเมื่อสน้ิ สดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลงั เรียน

3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (10 ช่ัวโมง)

ชื่อหนว่ ย กจิ กรรม ช้ินงาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ชัว่ โมง
- ใบงาน
ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี สว่ น - กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 3
- แบบฝึกหัด
ของเส้นตรง และสัญลักษณ์ - ใบงาน 3
- กิจกรรมฝึกทกั ษะ
มุม - แบบฝึกหัด 4
รูปเรขาคณิต - ใบงาน 10
- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ
การวัดและการสรา้ งมุม - แบบฝกึ หดั

รวมเวลาเรยี น

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 7 เรือ่ ง รูปส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก

รายวิชา คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 13 ชว่ั โมง ผู้สอน นางสาวพัชญา ผดั หน้า

1. เป้าหมายการเรยี นรู้
1.1 ความเขา้ ใจที่คงทน

นักเรียนเขา้ ใจวา่
รปู สีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก เปน็ รูปสีเ่ หลีย่ มที่มมี ุมทกุ มุมเป็นมมุ ฉาก มี 2 ชนิด คือ รปู

สี่เหล่ียมจัตรุ ัสและรูปส่เี หลีย่ มผืนผ้า ความยาวรอบรูป เปน็ ความยาวทัง้ หมดของรปู ปิดนั้น ๆ ความ
ยาวรอบรูปของรูปสเ่ี หลย่ี มเป็นความยาวท้ังหมดของด้านสด่ี า้ นของรปู สีเ่ หลี่ยม การหาความยาวรอบ
รปู ของรูปสีเ่ หลยี่ มทาได้โดยการหาผลรวมของความยาวทกุ ดา้ นของรปู สี่เหลย่ี มนนั้ พื้นท่ขี องรปู
สเ่ี หล่ยี มผนื ผา้ หาไดจ้ ากความยาวของด้านกว้างคูณกบั ความยาวของด้านยาว พื้นท่ขี องรูปสี่เหลย่ี ม
จัตุรสั หาได้จากความยาวของดา้ นคูณกนั

1.2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพนื้ ฐานเกีย่ วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ้องการ

วัด และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปเรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตวั ช้ีวัด

ค 2.1 ป.4/3 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูป
สเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก

ค 2.2 ป.4/2 สร้างรูปส่เี หลย่ี มมมุ ฉากเมอ่ื กาหนดความยาวของด้าน

1.3 สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
รูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสและรูปสเ่ี หลย่ี มผืนผา้ เปน็ รูปสี่เหล่ียมมมุ ฉาก การสร้างรปู ส่ีเหลี่ยมมุม

ฉากอาจใชไ้ มฉ้ ากหรอื ไม้โพรแทรกเตอร์ช่วยในการสรา้ ง การหาพน้ื ท่ีของรูปสเี่ หลยี่ มมมุ ฉากหาได้จาก
สตู รความกว้างคณู ความยาว ส่วนความยาวรอบรูปให้นาความยาวของด้านทั้งสี่ด้านมาบวกกนั การแก้

โจทย์ปญั หาเกยี่ วกับพืน้ ทีแ่ ละความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก สามารถทาได้หลายวธิ ี แต่ควร
เลอื กวิธแี กป้ ญั หาทเ่ี หมาะสม

1.4 สาระการเรียนรู้
1. ชนิดและสมบตั ิของรปู สี่เหลย่ี มมมุ ฉาก
2. การสร้างรูปสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก
3. ความยาวรอบรูปของรูปส่เี หลี่ยมมุมฉาก
4. พ้ืนท่ีของรูปส่เี หล่ียมมุมฉาก
5. โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับความยาวรอบรปู และพน้ื ทข่ี องรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก

1.5 สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการระบุ
2) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง
3) ทักษะการนาความรู้ไปใช้
2. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

1.6 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มวี ินัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

2. หลักฐานการเรยี นรู้
2.1 ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 7.1 เรือ่ ง ชนิดและสมบัติของรปู สีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก
2) ตรวจใบงานที่ 7.2 เรอ่ื ง การสรา้ งรูปสี่เหล่ยี มมมุ ฉากเม่อื กาหนดความยาวของด้าน
3) ตรวจใบงานท่ี 7.3 เร่อื ง ความยาวรอบรปู ของรปู ส่ีเหลีย่ มมุมฉาก
4) ตรวจใบงานที่ 7.4 เร่อื ง พ้นื ทีข่ องรูปสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก
5) ตรวจใบงานที่ 7.5 เร่อื ง โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกบั ความยาวรอบรูปและพื้นทขี่ องรูป

สีเ่ หลีย่ มมุมฉาก

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

- การตรวจผลงาน ใบงาน

- พฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านในห้องเรียน

- อ่ืน ๆ

2.3 การวัดและประเมนิ ผลเมือ่ สิ้นสุดกจิ กรรมการเรียนรู้

- แบบทดสอบหลังเรยี น

3. กิจกรรมการเรยี นรู้ (13 ชวั่ โมง)

ชอ่ื หน่วย กิจกรรม ช้ินงาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ช่ัวโมง

ชนดิ และสมบตั ิของรูปส่เี หลีย่ ม - ใบงาน 2

มมุ ฉาก - กิจกรรมฝึกทักษะ 3

- แบบฝกึ หดั

การสรา้ งรูปส่ีเหลย่ี มมมุ ฉากเมือ่ - ใบงาน
กาหนดความยาวของด้าน - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ

- แบบฝกึ หัด

รปู สี่เหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรปู ของรูป - ใบงาน 2
สี่เหลยี่ มมุมฉาก - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 3
- แบบฝึกหัด 3
พื้นทีข่ องรปู สี่เหลีย่ มมมุ ฉาก - ใบงาน 13
- กิจกรรมฝึกทักษะ
โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั ความยาว - แบบฝกึ หดั
รอบรูปและพนื้ ท่ีของรูป - ใบงาน
- กจิ กรรมฝึกทกั ษะ
- แบบฝึกหดั

รวมเวลาเรียน

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 เรอ่ื ง เศษสว่ น

รายวิชา คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 10 ช่วั โมง ผสู้ อน นางสาวพชั ญา ผดั หนา้

1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ความเขา้ ใจท่ีคงทน

นกั เรียนเข้าใจวา่

• เศษสว่ น ใชแ้ สดงการเปรียบเทียบสว่ นแบง่ ที่กล่าวถึงกับสว่ นแบ่งทั้งหมดท่เี ท่า ๆ กนั ตัวเลขตวั
บนของเศษสว่ น เรียกว่า ตัวเศษ ซึง่ เปน็ จานวนสว่ นแบ่งทก่ี ลา่ วถงึ ตัวเลขตวั ล่างของเศษส่วน เรียกว่า
ตวั สว่ น ซึง่ เป็นจานวนส่วนแบง่ ท้งั หมดท่ีเทา่ ๆ กัน เส้นค่นั ระหว่างตวั เศษและตัวส่วน เรยี กว่า เส้นคั่น
เศษสว่ น

• การใช้ภาพแสดงเศษส่วน จะทาให้เราทราบว่าเศษสว่ นตา่ ง ๆ มีค่าเทา่ กันหรอื ไม่ เศษสว่ น
ท่ีมีพ้ืนทเ่ี ท่ากันจะเป็นเศษส่วนท่เี ท่ากนั

• เศษสว่ นท่ีไม่มจี านวนนบั ใดทมี่ ากกวา่ 1 หารทง้ั ตัวเศษและตัวส่วนไดล้ งตวั เรียกเศษส่วนนั้น
ว่า เศษสว่ นอยา่ งตา่

• เศษสว่ นทต่ี วั ส่วนหารตวั เศษไดล้ งตัว เศษส่วนนน้ั สามารถเขียนให้อยใู่ นรปู จานวนนบั ได้
• เศษสว่ นที่ตวั เศษนอ้ ยกวา่ ตวั ส่วนเรยี กวา่ เศษส่วนแท้ เศษสว่ นที่ตัวเศษเท่ากับหรือมากกวา่
ตัวส่วน เรียกวา่ เศษเกิน เศษส่วนทเี่ ขยี นในรูปจานวนนบั กบั เศษส่วนแทเ้ รียกวา่ จานวนคละ การเขยี น
และอา่ นจานวนคละได้ถูกตอ้ ง จะทาให้สามารถส่ือสารไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ชัดเจน การเขยี นเศษเกินในรปู
จานวนคละทาไดโ้ ดยนาตัวสว่ นไปหารตวั เศษ ผลหารทีไ่ ด้จะเป็นจานวนนับ เศษท่ีเหลอื เปน็ ตวั เศษ
โดยมตี ัวส่วนคงเดมิ การเขยี นจานวนคละในรูปเศษเกิน ทาได้โดยนาตัวสว่ นไปคณู จานวนนบั แล้ว
บวกกบั ตัวเศษโดยมีตัวสว่ นคงเดิม
• การเปรยี บเทยี บเศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเท่ากนั ให้พิจารณาตวั เศษ เศษส่วนท่ีมีตวั เศษมากกว่า
จะมคี า่ มากกว่า การเปรียบเทยี บเศษสว่ นทีม่ ตี วั ส่วนไมเ่ ท่ากัน ให้ทาตวั ส่วนให้เท่ากนั แลว้ เปรยี บเทียบ
ตวั เศษเช่นเดียวกับการเปรยี บเทียบจานวนนับ การเรียงลาดับเศษส่วน ให้เปรยี บเทียบเศษสว่ นทีละคู่ โดย
ทาเศษสว่ น ใหม้ ตี วั ส่วนเทา่ กัน แลว้ จึงนามาเรียงลาดับจากนอ้ ยไปมาก หรอื จากมากไปนอ้ ย

1.2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กิดขึน้ จากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวชวี้ ัด
ค 1.1 ป.4/3 บอก อ่านและเขียนเศษสว่ น จานวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงส่ิงต่างๆ

ตามเศษส่วน จานวนคละท่กี าหนด
ค 1.1 ป.4/4 เปรียบเทยี บเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละท่ตี ัวสว่ นตวั หนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึง่

1.3 สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ และจานวนคละสามารถเขียนและอา่ นโดยใช้ภาษาและสัญลกั ษณ์ทาง
คณิตศาสตรเ์ ศษเกนิ สามารถเขียนในรูปของจานวนคละ และจานวนคละสามารถเขยี นในรปู เศษเกิน
ได้ การหาเศษส่วนทีเ่ ทา่ กนั เศษสว่ นอย่างตา่ และเศษสว่ นทีเ่ ท่ากับจานวนนบั สามารถทาได้โดยใช้
การคณู หรือการหารจานวน และเศษสว่ นสามารถเปรียบเทียบและเรยี งลาดบั จากมากไปนอ้ ย และ
จากน้อยไปมาก
1.4 สาระการเรียนรู้

1. ความหมาย การอา่ น และการเขียนเศษส่วนแท้ เศษเกิน และจานวนคละ
2. เศษเกินและจานวนคละ
3. การหาเศษส่วนที่เทา่ กนั เศษส่วนอยา่ งตา่ และเศษสว่ นทเ่ี ท่ากับจานวนนับ
4. การเปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษสว่ นและจานวนคละทตี่ วั ส่วนตวั หนง่ึ เป็นพหุคูณของ
อีกตัวหน่งึ

1.5 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะการแปลความ

2) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง

2. ความสามารถในการแก้ปัญหา

3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
1.6 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินัย

2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน

2. หลกั ฐานการเรียนรู้
2.1 ช้ินงาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 8.1 เร่อื ง เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ จานวนคละ

2) ตรวจใบงานท่ี 8.2 เรอื่ ง เศษสว่ นและจานวนคละ
3) ตรวจใบงานท่ี 8.3 เรอื่ ง เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอยา่ งต่า และเศษส่วนทีเ่ ท่ากับ

จานวนนบั
4) ตรวจใบงานที่ 8.4 เรอ่ื ง การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั เศษสว่ นและจานวนคละบตั ร

ตัวเลข

2.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านในห้องเรียน
- อนื่ ๆ

2.3 การวัดและประเมนิ ผลเมื่อส้ินสุดกจิ กรรมการเรียนรู้
- แบบทดสอบหลงั เรยี น

3. กิจกรรมการเรียนรู้ (10 ชว่ั โมง)

ชือ่ หน่วย กิจกรรม ชิน้ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ช่วั โมง
- ใบงาน
เศษส่วนแท้ เศษสว่ น จานวน - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 2
- แบบฝกึ หดั
คละ - ใบงาน 2
- กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ
เศษส่วนและจานวนคละ - แบบฝกึ หดั 3

เศษส่วน เศษส่วนท่เี ทา่ กนั เศษสว่ นอยา่ ง - ใบงาน
ต่า และเศษสว่ นท่เี ทา่ กับ - กจิ กรรมฝึกทักษะ
จานวนนบั - แบบฝกึ หัด

การเปรียบเทียบและเรยี งลาดบั - ใบงาน 3
เศษสว่ นและจานวนคละบัตร - กจิ กรรมฝึกทักษะ 10
ตวั เลข - แบบฝึกหัด

รวมเวลาเรียน

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9 เร่ือง การบวกและการลบเศษส่วน

รายวชิ า คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 9 ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวพชั ญา ผดั หนา้

1. เปา้ หมายการเรียนรู้
1.1 ความเขา้ ใจท่คี งทน

นักเรียนเข้าใจว่า

• การบวกเศษสว่ นท่ีมตี ัวส่วนเท่ากนั ให้นาตัวเศษมาบวกกัน โดยตวั ส่วนคงเดมิ การบวก
จานวนคละ ท่มี ีตวั สว่ นของเศษส่วนเท่ากัน ทาไดโ้ ดยหาผลบวกของจานวนนบั และหาผลบวกของเศษ
ท่มี ีตัวสว่ นเท่ากันแล้วนามาบวกกัน การลบจานวนคละทีม่ ีตัวส่วนของเศษสว่ นเท่ากัน ทาได้โดยหาผลลบ
ของจานวนนบั และหาผลลบของเศษที่มีตัวสว่ นเท่ากัน แลว้ นามาลบกนั

• การบวกหรอื การลบเศษส่วนท่มี ีตวั สว่ นไม่เทา่ กัน ตอ้ งทาตัวสว่ นให้เทา่ กัน แล้วนาตวั เศษ
บวกกันหรือลบกันเหมือนการบวกหรือการลบจานวนนับ ตวั สว่ นคงเดิม

• การบวกหรอื การลบจานวนคละทม่ี ตี วั ส่วนของเศษส่วนไมเ่ ท่ากนั ทาไดโ้ ดยหาผลบวกหรือ
ผลลบของจานวนนบั และหาผลบวกหรอื ผลลบของเศษสว่ นท่มี ีตัวสว่ นไม่เท่ากันโดยทาให้ตวั ส่วน
เท่ากันแลว้ บวกกนั หรอื ลบกัน แล้วนาผลบวกหรือผลลบของจานวนนบั บวกหรือลบกบั ผลบวกหรือ
ผลลบของเศษส่วน

• กระบวนการแกโ้ จทย์ปญั หา 4 ขน้ั คอื ทาความเข้าใจโจทย์ วางแผน ลงมอื ทา และ
ตรวจสอบใช้ในการแกโ้ จทย์ปญั หาเศษสว่ นได้

1.2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลท่ีเกดิ ขึน้ จากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้

ตวั ชวี้ ัด
ค 1.1 ป.4/13 หาผลบวก ผลลบของเศษสว่ นและจานวนคละท่ีตวั ส่วนตวั หนง่ึ เปน็ พหูคณู ของ

ตัวสว่ นอีก
ค 1.1 ป.4/14 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบเศษส่วนและ

จานวนคละท่ีตัวสว่ นตวั หน่ึงเปน็ พหุคณู ของตวั ส่วนอีกตัวหนง่ึ

1.3 สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การบวกและการลบเศษส่วนและจานวนคละทตี่ ัวส่วนตวั หนึง่ เปน็ พหคุ ณู ของตัว
สว่ นอีกตัวหนงึ่ มวี ิธกี ารที่หลากหลายและใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการหาคาตอบและ
ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบ ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและ
จานวนคละ ต้องวเิ คราะหโ์ จทย์และแสดงวธิ ีทาเพื่อหาคาตอบรวมท้ังตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ
คาตอบ

1.4 สาระการเรยี นรู้
1. การบวกเศษส่วนและจานวนคละทต่ี ัวสว่ นตัวหนงึ่ เป็นพหุคูณของตวั ส่วนอกี ตัวหนึง่
2. การลบเศษส่วนและจานวนคละที่ตวั ส่วนตวั หนึ่งเป็นพหุคณู ของตวั ส่วนอีกตัวหนง่ึ
3. โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบเศษสว่ นและจานวนคละ

1.5 สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะกระบวนการคดิ แกป้ ญั หา

2) ทักษะการนาความร้ไู ปใช้

3) ทกั ษะการให้เหตุผล

4) ทกั ษะการแปลความ

2. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

1.6 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินัย

2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

2. หลกั ฐานการเรยี นรู้
2.1 ชนิ้ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 9.1 เร่ือง การบวกเศษส่วนและจานวนคละทีต่ ัวสว่ นตวั หน่งึ เป็นพหคุ ูณ
ของตวั ส่วนอีกตัวหนง่ึ
2) ตรวจใบงานท่ี 9.2 เร่ือง การลบเศษส่วนและจานวนคละทีต่ วั ส่วนตัวหน่งึ เป็นพหุคูณ
ของตัวส่วนอกี ตัวหนงึ่
3) ตรวจใบงานท่ี 9.3 เรือ่ ง โจทย์ปญั หาการบวกและการลบเศษสว่ นและจานวนคละ

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านในห้องเรียน
- อนื่ ๆ
2.3 การวัดและประเมินผลเม่อื สิ้นสดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลังเรยี น

3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (9 ชัว่ โมง)

ชอื่ หนว่ ย กจิ กรรม ชน้ิ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรยี นรู้ ชว่ั โมง

การบวกเศษส่วนและจานวนคละ - ใบงาน 3
ทีต่ วั สว่ นตัวหนึง่ เป็นพหุคูณของ - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ
ตวั สว่ นอกี ตัวหน่งึ - แบบฝกึ หดั

การบวกและการลบ การลบเศษส่วนและจานวนคละ - ใบงาน 3
เศษส่วน ที่ ตวั ส่วนตัวหน่งึ เป็นพหุคูณ - กจิ กรรมฝึกทักษะ
ของตวั ส่วนอีกตัวหนึ่ง - แบบฝึกหดั

โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบ - ใบงาน

เศษส่วนและจานวนคละ - กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 3
9
- แบบฝึกหัด

รวมเวลาเรียน

การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 เรอื่ ง ทศนิยม

รายวิชา คณติ ศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4

ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 10 ชว่ั โมง ผสู้ อน นางสาวพชั ญา ผัดหน้า

1. เป้าหมายการเรียนรู้
1.1 ความเขา้ ใจท่ีคงทน

นักเรียนเขา้ ใจวา่

การอ่านและเขียนทศนิยมหนงึ่ ตาแหนง่ ทน่ี อ้ ยกวา่ หนึ่งไดถ้ กู ตอ้ ง จะทาใหส้ ามารถสอื่ สาร
และส่ือความหมายทางคณติ ศาสตรไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ชัดเจน

ทศนยิ มทมี่ ีศนู ย์ (0) อยหู่ ลงั เลขโดด (1-9) ตัวสดุ ทา้ ยก่ีตัวกต็ ามเป็นทศนิยมที่เท่ากันกับ
ทศนยิ มที่ไม่มีศนู ย์ (0) ในตาแหนง่ ดังกล่าว

เลขโดดทอ่ี ยหู่ ลงั จุดทศนิยมในตาแหน่งทห่ี นึ่ง อยใู่ นหลักสว่ นสิบ เลขโดดทีอ่ ยู่หลงั จดุ
ทศนิยมในตาแหน่งที่สอง อยู่ในหลักสว่ นร้อย เลขโดดอยใู่ นหลกั ใด มคี ่าตามคา่ ประจาหลกั ของหลกั น้ัน

การเขียนตัวเลขแสดงทศนยิ มในรปู กระจาย เปน็ การแสดงทศนิยมในรปู การบวกคา่ ของ
เลขโดด ในแตล่ ะหลกั หลกั ใดมีจานวนเป็น 0 อาจไมแ่ สดงกไ็ ด้

การเปรยี บเทยี บทศนิยม ให้เปรยี บเทยี บคา่ ของเลขโดดทอี่ ยหู่ นา้ จดุ ทศนิยม ถ้าเทา่ กันจงึ
เปรยี บเทียบคา่ ของเลขโดดท่อี ย่หู ลงั จุดทศนยิ ม

การเรียงลาดบั ทศนยิ ม ให้เรยี งลาดับคา่ ของเลขโดดหน้าจุดทศนยิ ม ถา้ เทา่ กนั ให้เรยี งลาดบั
คา่ ของเลขโดดหลังจดุ ทศนยิ ม

1.2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้
ตวั ชี้วัด

ค 2.1 ป.4/5 อา่ นและเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตาแหน่งแสดงปริมาณของส่งิ ตา่ ง และแสดงสงิ่
ตา่ งๆตามทศนยิ มที่กาหนด

ค 2.1 ป.4/6 เปรยี บเทียบและเรียงลาดบั ทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตาแหนง่ จากสถานการณ์ต่างๆ

1.3 สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การเขยี น การอ่าน การเปรียบเทยี บและการเรยี งลาดบั ทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหนง่
พจิ ารณาจากคา่ ของเลขโดดหน้าจุดทศนยิ มและหลงั จดุ ทศนยิ ม การเขียนแสดงทศนยิ มในรปู กระจาย
ใหเ้ ขยี นตามค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และทศนิยมสามารถเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จากมากไป
นอ้ ย และจากน้อยไปมาก

1.4 สาระการเรียนรู้
1. ทศนยิ มไมเ่ กนิ สามตาแหนง่
2. หลัก คา่ ประจาหลัก และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของทศนยิ ม
3. การเขียนทศนยิ มในรปู กระจาย
4. ทศนิยมท่เี ท่ากนั
5. การเปรียบเทยี บและเรียงลาดบั ทศนิยมไม่เกนิ 3 ตาแหน่ง

1.5 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการแปลความ

2) ทกั ษะการเชื่อมโยง
3) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ

4) ทกั ษะการเรียงลาดับ
2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

1.6 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. มวี นิ ยั

2. ใฝ่เรียนรู้

3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน
2. หลักฐานการเรียนรู้

2.1 ช้นิ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานที่ 10.1 เร่อื ง ทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหน่ง
2) ตรวจใบงานท่ี 10.2 เรอื่ ง หลัก ค่าประจาหลัก และคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักของ
ทศนิยม
3) ตรวจใบงานที่ 10.3 เรอ่ื ง การเขยี นทศนิยมในรูปกระจาย

4) ตรวจใบงานท่ี 10.4 เร่อื ง ทศนยิ มทีเ่ ท่ากนั
5) ตรวจใบงานท่ี 10.5 เร่ือง การเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั ทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหน่ง

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

- การตรวจผลงาน ใบงาน

- พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในห้องเรยี น

- อนื่ ๆ

2.3 การวัดและประเมนิ ผลเม่ือสนิ้ สุดกิจกรรมการเรียนรู้

- แบบทดสอบหลงั เรยี น

3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (10 ชว่ั โมง)

ชอื่ หน่วย กิจกรรม ชิน้ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ชั่วโมง

ทศนิยมไมเ่ กินสามตาแหน่ง - ใบงาน 3

- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ 2

- แบบฝึกหัด 2

หลกั คา่ ประจาหลัก และค่าของ - ใบงาน 1

เ ล ข โ ด ด ใ น แ ต่ ล ะ ห ลั ก ข อ ง - กิจกรรมฝึกทักษะ 2
10
ทศนยิ ม - แบบฝึกหัด

ทศนิยม การเขียนทศนิยมในรปู กระจาย - ใบงาน
- กิจกรรมฝึกทักษะ

- แบบฝึกหัด

ทศนยิ มทเี่ ท่ากัน - ใบงาน

- กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ

- แบบฝึกหดั

การเปรยี บเทียบและเรียงลาดับ - ใบงาน
ทศนยิ มไมเ่ กินสามตาแหน่ง - กิจกรรมฝกึ ทักษะ
- แบบฝึกหดั

รวมเวลาเรยี น

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 เร่ือง การบวกและการลบทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตาแหน่ง

รายวิชา คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 9 ชั่วโมง ผูส้ อน นางสาวพชั ญา ผดั หนา้

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้
1.1 ความเข้าใจท่คี งทน

นกั เรยี นเข้าใจว่า

การบวกทศนิยม ทาได้โดยตง้ั จดุ ทศนิยมและเลขโดดในแตล่ ะหลกั ให้ตรงกนั แล้วบวกกนั
เหมอื นการบวกจานวนนบั

การบวกทศนยิ มท่มี ีการทด ใช้หลกั การเดยี วกันกับการบวกจานวนนบั คือ นาจานวนที่อยใู่ น
หลกั เดียวกนั มาบวกกนั ถ้าผลบวกในหลักใดเป็นสองหลักให้ทดจานวนที่ครบสบิ ไปรวมกับผลบวกของ
จานวนในหลักถดั ไปทางซ้าย

การลบทศนยิ ม ใชห้ ลกั การเช่นเดยี วกับการลบจานวนนับ คือ นาจานวนท่อี ยใู่ นหลักเดยี วกนั
มาลบกนั

การลบทศนยิ มทม่ี กี ารกระจาย ใชห้ ลกั การเดยี วกับการลบจานวนนับ คอื การนาจานวน
ท่อี ย่ใู นหลกั เดียวกนั มาลบกัน ถ้าตวั ตง้ั น้อยกว่าตัวลบ จึงมกี ารกระจายจานวน

กระบวนการแกโ้ จทยป์ ัญหา 4 ขัน้ คือ ทาความเข้าใจโจทย์ วางแผน ลงมือทา และ
ตรวจสอบใช้ในการแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบทศนยิ มได้

1.2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ

ดาเนนิ การของจานวน ผลท่ีเกิดข้นึ จากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวช้ีวัด

ค 2.1 ป.4/15 หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน 3 ตาแหน่ง
ค 2.1 ป.4/16 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ 2 ข้ันตอนของทศนยิ ม

ไม่เกิน 3 ตาแหนง่

1.3 สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
การบวกและการลบทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่ง มีวิธีการท่ีหลากหลายและใช้

ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการหาคาตอบและตรวจสอบความสมเหตุสมผลของ

คาตอบ ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่ง ต้องวิเคราะห์
โจทย์ และแสดงวธิ ที าเพือ่ หาคาตอบ รวมทงั้ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบ

1.4 สาระการเรียนรู้
1. การบวกทศนยิ มไมเ่ กนิ สามตาแหนง่
2. การลบทศนิยมไมเ่ กินสามตาแหนง่
3. โจทย์ปญั หาการบวกและการลบทศนยิ มไมเ่ กนิ สามตาแหน่ง

1.5 สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการคดิ
1) ทักษะการแปลความ
2) ทักษะการให้เหตผุ ล
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

1.6 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี ินยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน

2. หลักฐานการเรยี นรู้
2.1 ช้นิ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานที่ 11.1 เรื่อง การบวกทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหน่ง
2) ตรวจใบงานที่ 11.2 เร่อื ง การลบทศนยิ มไม่เกินสามตาแหนง่
3) ตรวจใบงานที่ 11.3 เรื่อง โจทย์ปญั หาการบวกและการลบทศนยิ มไม่เกิน 2 ข้ันตอน

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านในห้องเรียน
- อื่น ๆ

2.3 การวัดและประเมินผลเมอื่ ส้นิ สดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลงั เรียน

3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (9 ชั่วโมง)

ชอื่ หน่วย กิจกรรม ช้ินงาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ชว่ั โมง

การบวกทศนิยมไม่เกินสาม - ใบงาน 3

ตาแหน่ง - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ 3

- แบบฝกึ หดั 3
9
ก าร ลบท ศนิยมไ ม่ เกิ น สา ม - ใบงาน

ทศนิยม ตาแหน่ง - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ

- แบบฝึกหัด

โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบ - ใบงาน

ทศนิยมไมเ่ กิน 2 ข้ันตอน - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ

- แบบฝกึ หดั

รวมเวลาเรยี น

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 12 เรอ่ื ง ข้อมลู และการนาเสนอขอ้ มลู

รายวิชา คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 9 ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวพชั ญา ผัดหน้า

1. เปา้ หมายการเรียนรู้
1.1 ความเข้าใจทค่ี งทน

นักเรยี นเขา้ ใจว่า

 การสารวจ เป็นวิธีการหนงึ่ ทนี่ ามาใช้ในการรวบรวมขอ้ มลู ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ นามา
จาแนก โดยเขยี นข้อมลู ในรปู ของตาราง ข้อเท็จจริงทีไ่ ดจ้ ากการเก็บรวบรวม เรยี กว่า ข้อมูล การ
จาแนกขอ้ มูลจะทาใหไ้ ดข้ อ้ มูลทเ่ี รียงลาดับตามที่ต้องการ โดยอาจนาเสนอเป็นขอ้ ความหรือเป็น
ตาราง

 การเขยี นข้อมูลในรูปของตาราง ใช้ข้อความส้ัน ๆ และจัดเป็นหมวดหมู่ จึงชว่ ยใหอ้ ่านข้อมลู
งา่ ยและสะดวกข้นึ เราสามารถนาความรู้ เรื่อง การอ่านตาราง ไปใช้ในการอ่านข้อมูลจากตารางใน
ชีวิตประจาวนั

 การอ่านแผนภูมแิ ทง่ พิจารณาจากความยาวของรูปสเี่ หล่ยี มมุมฉากที่เขียนแทนข้อมูล การ
เขียนแผนภูมแิ ท่ง เขยี นโดยใชร้ ปู สเ่ี หลยี่ มมุมฉากแทนขอ้ มูล รูปสีเ่ หลี่ยมมุมฉากแต่ละรปู ต้องเริม่ ต้นจาก
ระดบั เดียวกัน มีความกวา้ งเท่ากัน และมรี ะยะหา่ งระหวา่ งรปู เทา่ กัน เราสามารถนาความรู้เรือ่ งนไี้ ปใช้
ในการจาแนกข้อมลู ในชวี ติ ประจาวนั ให้เปน็ ระบบและใหง้ ่ายตอ่ การศึกษาข้อมูล

1.2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรูท้ างสถิตใิ นการแกป้ ญั หา
ตัวชวี้ ัด

ค 3.1 ป.4/1 ใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมิแทง่ ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา

1.3 สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
แผนภมู แิ ทง่ แผนภมู แิ ท่งเปรียบเทยี บ และตารางสองทางเปน็ วิธกี ารนาเสนอข้อมลู

อย่างหน่ึง เพ่ือความสะดวกในการอ่านข้อมูล ส่วนการอ่านข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง
เปรยี บเทยี บ และตารางสองทางเปน็ การอ่านขอ้ มลู สามารถนาไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั

1.4 สาระการเรียนรู้
1. การอ่านแผนภูมิแท่งและแผนภมู แิ ทง่ เปรยี บเทยี บ
2. การอา่ นตารางสองทาง
3. การเขยี นแผนภูมแิ ท่งและแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทียบ

1.5 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคิด

1) ทกั ษะการแปลความ

2) ทกั ษะการให้เหตุผล

2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

1.6 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินยั

2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

2. หลักฐานการเรียนรู้
2.1 ช้ินงาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 12.1 เรอ่ื ง การอ่านแผนภมู ิแทง่ และแผนภมู แิ ทง่ เปรียบเทยี บ
2) ตรวจใบงานท่ี 12.2 เรือ่ ง การอ่านตารางสองทาง
3) ตรวจใบงานท่ี 12.3 เรื่อง การเขียนแผนภมู ิแทง่ และแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทยี บ

2.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านในหอ้ งเรยี น
- อ่ืน ๆ

2.3 การวัดและประเมินผลเมอ่ื สิน้ สุดกจิ กรรมการเรียนรู้
- แบบทดสอบหลงั เรียน

3. กิจกรรมการเรยี นรู้ (9 ชวั่ โมง)

ชือ่ หน่วย กิจกรรม ช้ินงาน/ภาระงาน จานวน
การเรยี นรู้ ชั่วโมง
- ใบงาน
การอ่านแผนภูมแิ ทง่ และ - กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 3
- แบบฝึกหดั
แผนภมู แิ ท่งเปรียบเทียบ - ใบงาน 3
- กิจกรรมฝึกทกั ษะ
ข้อมลู และการ การอ่านตารางสองทาง - แบบฝกึ หัด 3
นาเสนอขอ้ มลู - ใบงาน 9
การเขยี นแผนภมู แิ ทง่ และ - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ
แผนภูมแิ ทง่ เปรยี บเทียบ - แบบฝึกหัด

รวมเวลาเรยี น

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 13 เรื่อง เวลา

รายวชิ า คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4

ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 11 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวพัชญา ผดั หนา้

1. เป้าหมายการเรยี นรู้
1.1 ความเข้าใจทีค่ งทน

นักเรยี นเขา้ ใจว่า

• ในการบอกเวลาเปน็ นาฬิกา นาที และวนิ าที เข็มวินาทีเป็นเข็มท่ีเดินเร็วกว่าเข็มยาวและ
เขม็ ส้ัน เข็มวินาทีเดินครบ 1 รอบ เป็นเวลา 60 วินาที เข็มยาวจะเดินไปได้ 1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1
นาที และในการ เขียนบอกเวลาโดยใช้จุด ตัวเลขท่ีอยู่หน้าจุดบอกเวลาเป็นนาฬิกา ตัวเลขท่ีอยู่หลัง
จดุ บอกเวลาเป็นนาที

• การบอกระยะเวลาต้องทราบเวลาเริม่ ตน้ กิจกรรมและเวลาสิ้นสดุ กจิ กรรม วนิ าที นาที
ช่ัวโมงบอกระยะเวลาต่างกันเราสามารถนาความรู้ เรอ่ื ง การบอกระยะเวลา ไปใช้บอกระยะเวลาใน
การทากจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวันได้

• การบอกระยะเวลาเป็นวนั สัปดาห์ เดือน ปี ทาให้ทราบเวลาเรม่ิ ต้นกจิ กรรมและเวลา
สน้ิ สุดกจิ กรรม

• การอ่านตารางเวลา ช่วยให้ทราบกาหนดการ เหตกุ ารณ์ หรือกิจกรรมนัน้ ๆ ได้ เพื่อให้
เราสามารถวางแผนในการเดนิ ทางหรือนัดหมายไดต้ ามเวลาท่ีกาหนด

• หนว่ ยเวลา วินาที นาที ชั่วโมง วัน สปั ดาห์ เดอื น และปมี คี วามสมั พันธก์ นั เราสามารถนา
ความรู้ เรอื่ ง ความสมั พนั ธข์ องหนว่ ยเวลาไปใช้ในการบอกเวลาในชวี ติ ประจาวนั และใช้เป็นพื้นฐาน
ในการเรยี นขัน้ สูงต่อไป กระบวนการแก้โจทย์ปัญหา 4 ขนั้ คือ ทาความเขา้ ใจโจทย์ วางแผน ลงมอื
ทาและตรวจสอบใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกับเวลาได้

1.2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐาน
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งที่

ต้องการวัดและการนาไปใช้
ตวั ชว้ี ัด

ค 1.1 ป.4/1 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกบั เวลา

1.3 สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การบอกระยะเวลา ต้องใช้ความสัมพนั ธข์ องหนว่ ยเวลาและการดาเนนิ การของ
จานวน ตารางเวลาจะช่วยให้อ่านข้อมูลไดส้ ะดวกและชัดเจนข้ึน และนาไปแก้ปญั หาเก่ียวกบั เวลา

1.4 สาระการเรียนรู้
1. การบอกระยะเวลาเป็น วินาที นาที ชว่ั โมง วัน สัปดาห์ เดอื น และปี
2. การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยโชค้ วามสมั พันธ์ระหวา่ งหน่วยเวลา
3. การอ่านตารางเวลา
4. โจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับเวลา

1.5 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการแปลความ
2) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง
3) ทักษะการเปรียบเทียบ
4) ทกั ษะการเรยี งลาดับ
5) ทกั ษะการวิเคราะห์
6) ทกั ษะกระบวนการคิดแกป้ ัญหา
2. ความสามารถในการแก้ปญั หา
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

1.6 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

2. หลกั ฐานการเรียนรู้
2.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานท่ี 13.1 เรื่อง การบอกระยะเวลาเปน็ วนิ าที นาที ช่วั โมง วนั สปั ดาห์
เดอื น ปี
2) ตรวจใบงานท่ี 13.2 เรือ่ ง การเปรยี บเทยี บระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหวา่ ง
หน่วยเวลา

3) ตรวจใบงานท่ี 13.3 เรอื่ ง การอ่านตารางเวลาปา้ ยสนิ ค้า
4) ตรวจใบงานท่ี 13.4 เร่ือง โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกับเวลา

2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
- การตรวจผลงาน ใบงาน
- พฤตกิ รรมการปฏิบัติงานในห้องเรียน
- อนื่ ๆ

2.3 การวัดและประเมินผลเม่ือส้ินสดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
- แบบทดสอบหลงั เรยี น

3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (11 ชว่ั โมง)

ชอื่ หน่วย กิจกรรม ชนิ้ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรยี นรู้ ชว่ั โมง
- ใบงาน
การบอกระยะเวลาเปน็ วนิ าที - กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 3
- แบบฝึกหัด
นาที ชวั่ โมง วัน สปั ดาห์

เดอื น ปี

การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใช้ - ใบงาน 3
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง - กจิ กรรมฝึกทักษะ
เวลา หนว่ ยเวลา - แบบฝกึ หดั

การอา่ นตารางเวลาปา้ ยสนิ คา้ - ใบงาน 2
โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั เวลา - กิจกรรมฝึกทักษะ
- แบบฝึกหดั 3
- ใบงาน 11
- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ
- แบบฝกึ หดั

รวมเวลาเรียน

การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 14 เร่อื ง การบวก ลบ คณู หารระคน

รายวิชา คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 11 ช่วั โมง ผสู้ อน นางสาวพชั ญา ผัดหนา้

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้
1.1 ความเข้าใจที่คงทน

นักเรยี นเข้าใจวา่

• การหาผลคณู ของจานวน 100 กับจานวนทมี่ ากกวา่ สองหลกั ผลคณู ท่ไี ด้เท่ากบั 1
คณู กับจานวนนน้ั เตมิ 0 สองตัว

• การคูณจานวนสามหลักกับจานวนมากกวา่ สองหลักให้นาเลขโดดในแต่ละหลัก
ของตวั คูณไปคูณเลขโดดในแต่ละหลกั ของตวั ตั้ง แล้วนาผลคูณท่ีไดม้ าบวกกนั เราสามารถนาความรู้นี้
ไปใชเ้ ป็นพนื้ ฐานในการเรียนข้นั สูงตอ่ ไป

• การหาผลคูณของจานวนที่เปน็ พหุคณู ของ 100 กับจานวนท่มี ากกวา่ สองหลกั
อาจหาไดจ้ ากการคณู จานวนน้ันกบั ตัวเลขทีเ่ ปน็ พหุคณู แล้วเตมิ 0 เท่ากับจานวนศูนย์ของตวั ที่นามาคูณ

• กระบวนการแก้โจทย์ปญั หา 4 ขนั้ คอื ทาความเข้าใจโจทย์ วางแผน ลงมอื ทา
และตรวจสอบใชใ้ นการแก้โจทย์ปัญหาการคูณได้

• การหารทตี่ วั ตัง้ เป็นพหคุ ูณของ 100, 1,000, 10,000, ... ตัวหารเปน็ พหคุ ณู ของ
100 ใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างการคูณและการหารมาหาผลหารได้

• การหารที่ตัวตั้งมีหลายหลกั ตัวหารมีสามหลกั ทาไดโ้ ดยการหารทีละหลัก
เช่นเดียวกบั การหารทต่ี วั หารมสี องหลกั

• กระบวนการแกโ้ จทยป์ ัญหา 4 ขั้น คือ ทาความเขา้ ใจโจทย์ วางแผน ลงมอื ทา
และตรวจสอบใชใ้ นการแก้โจทย์ปัญหาการหารได้

• โจทยก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน เป็นโจทยท์ มี่ หี ลายเครื่องหมายในขอ้ เดยี วกัน
และมกี ารจดั กลมุ่ การคานวณโดยใสเ่ ครอ่ื งหมายวงเลบ็ ไว้ ให้เรียงลาดบั การคานวณ โดยหาคาตอบใน
วงเล็บก่อน

• กระบวนการแก้โจทยป์ ัญหา 4 ขั้น คอื ทาความเข้าใจโจทย์ วางแผน ลงมือทา
และตรวจสอบใชใ้ นการแกโ้ จทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หารระคนได้

1.2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั
มาตรฐาน

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ
ดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กิดขึน้ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้

ตัวช้วี ัด
ค 1.1 ป.4/10 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คณู หารระคนของจานวนนับและ 0
ค 1.1 ป.4/11 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา 2 ขนั้ ตอนของจานวนนบั ท่มี ากกว่า 100,000

และ 0
ค 1.1 ป.4/12 สรา้ งโจทย์ปญั หา 2 ขัน้ ตอน ของจานวนนับและ 0 พรอ้ มทัง้ หาคาตอบ

1.3 สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การบวก ลบ คูณ หารระคน เป็นการดาเนนิ การทม่ี ากกว่าหนงึ่ ข้นั ตอน และการ

แกป้ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน สามารถทาได้หลายวิธี ควรเลือกวิธีแก้ปัญหาท่ีเหมาะสม และ
ดาเนนิ การตามข้นั ตอนของการแกป้ ญั หา รวมถงึ การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบ

1.4 สาระการเรยี นรู้
1. การบวก ลบ คูณ หารระคน
2. การเฉลย่ี
3. โจทย์ปญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน
4. การสรา้ งโจทยป์ ัญหาการบวก ลบ คณู หารระคน

1.5 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะการแปลความ

2) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ

3) ทักษะการให้เหตุผล

4) ทักษะกระบวนการคิดแกป้ ัญหา

5) ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้

2. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
1.6 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มวี นิ ัย

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. มุง่ มนั่ ในการทางาน

2. หลกั ฐานการเรียนรู้

2.1 ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1) ตรวจใบงานที่ 14.1 เรอ่ื ง การบวก ลบ คูณ หารระคน
2) ตรวจใบงานท่ี 14.2 เรอ่ื ง การเฉลย่ี
3) ตรวจใบงานที่ 14.3 เรื่อง โจทย์ปญั หาการบวก ลบ คณู และหารระคน
4) ตรวจใบงานท่ี 14.4 เร่อื ง การสร้างโจทยป์ ัญหาการบวกลบคูณหารระคน

2.2 การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

- การตรวจผลงาน ใบงาน

- พฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านในห้องเรียน

- อื่น ๆ

2.3 การวัดและประเมนิ ผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้

- แบบทดสอบหลังเรียน

3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (11 ช่วั โมง)

ชือ่ หนว่ ย กจิ กรรม ชน้ิ งาน/ภาระงาน จานวน
การเรียนรู้ ชั่วโมง

การบวก ลบ คณู หารระคน - ใบงาน 2

- กจิ กรรมฝกึ ทักษะ 3

- แบบฝึกหดั 3

การเฉลี่ย - ใบงาน 3

- กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ

การบวก ลบ คณู - แบบฝึกหดั

หารระคน โจทย์ปญั หาการบวก ลบ คูณ - ใบงาน

และหารระคน - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ

- แบบฝกึ หัด

การสร้างโจทยป์ ญั หาการบวก - ใบงาน
ลบ คูณ หารระคน - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ

- แบบฝึกหดั

รวมเวลาเรียน 11


Click to View FlipBook Version