The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 3 วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siripa_26, 2022-12-30 03:20:50

เล่มที่ 3 วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา

เล่มที่ 3 วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา

๓เล่มท่ี

วิเคราะหว์ จิ ารณค์ ณุ คา่ ดา้ นเนือ้ หาและตวั ละคร

นางสาวสริ ภิ า แสงสมัคร
ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชานาญการ

โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลา
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษายะลา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ

การอ่าน คือกระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความคิดเห็น
ที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญอย่างยิ่ง เป็นเครื่องมือในการแสวงหา
ความรู้ พัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากการอ่านจะเป็น
เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ก่อให้เกิดทักษะต่าง ๆ แล้วยงั กอ่ ให้เกดิ ความบันเทิง สนุกสนานเพลิดเพลิน
อีกทั้งได้แนวคิดจากการอ่าน การอ่านจึงเป็นหัวใจของการศึกษาทุกระดับ และการอ่านท่ีดีมีประสิทธิภาพ
จะต้องสามารถวิเคราะห์วิจารณ์สิ่งที่ได้รับจากการอ่านซึ่งเป็นลักษณะของความคิดที่อ่านแล้วมีประโยชน์
สามารถนำสง่ิ ที่ไดร้ ับจากการอ่านมาพนิ จิ พจิ ารณาเพื่อประยุกตใ์ ช้ได้

แบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ การอ่าน
วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี ผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแบบเรียนของนักเรียน ตามเนื้อหาสาระ
การอ่านวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี ตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี เรื่องขุนช้างขุนแผน
ตอนขุนช้างถวายฎีกา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
ในการสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นเปน็ ผ้ใู ฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น สามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้จากการอ่านมากยงิ่ ข้ึน

สริ ภิ า แสงสมัคร
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะชำนาญการ
โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา



สารบญั

เรอ่ื ง หน้า

คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………...…… ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………… ข
คำชี้แจงสำหรับคร.ู ...........…………………………………………………………………….............................. ค
คำชแี้ จงสำหรบั นักเรียน............……………………………………………………………………………………… ง
สาระ/มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรยี นร.ู้ .…………………………………………….… จ
แบบทดสอบก่อนเรียน............................................................................................................ .... 1
ใบความรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง การวเิ คราะห์คณุ ค่าดา้ นเนื้อหา................................................................... 5
8
แบบฝกึ ทกั ษะที่ ๑-4 .......…………………………………………………….………………….………....... 13
ใบความรทู้ ี่ ๒ เรือ่ งการวจิ ารณล์ กั ษณะตวั ละคร....................................................................... 15
18
แบบฝึกทกั ษะท่ี 5-6 ………………………………………………….…………………..….…………....….. 22
แบบทดสอบหลงั เรียน................................................................................................................. 23
บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………………………………. 24
ภาคผนวก...................................................................................................................... ............ 25
35
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรยี น...............................................................................
เฉลย/แนวคำตอบแบบฝกึ ที่ ๑ – 6……………………………………………………………..……......
เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ ที่ ๑ – 6................................................................................



คำช้แี จงสำหรบั ครู

แบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เล่มที่ 3 เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหา
และตัวละคร เล่มนี้ ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ ใบความรู้ และ
แบบฝึกทักษะ เพื่อให้เกิดประโยชน์สำหรับนักเรียนมากยิ่งขึ้น ครูควรศึกษาและทำความเข้าใจคำชี้แจง
ในการใช้แบบฝกึ ทักษะอยา่ งละเอียด และปฏบิ ัติตามขัน้ ตอน ดงั น้ี

๑. ทำความเขา้ ใจ ศกึ ษาแบบฝึกทกั ษะให้เขา้ ใจตลอดทง้ั เลม่
๒. เตรยี มแบบฝกึ ทักษะ ชุดเฉลยให้พรอ้ มและเพยี งพอตามจำนวนนักเรียน
๓. เตรียมสื่อ อุปกรณ์ หนังสือเรียน เอกสารใบความรู้เพิ่มเติม เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลให้นักเรียน
ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ
๔. หลังจากทำแบบฝึกทักษะในแต่ละครั้ง นักเรียนควรมีส่วนร่วม เช่น อภิปรายร่วมกัน
ตรวจผลงาน สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง และควรแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนทราบความก้าวหน้า
ในการเรียนทกุ คร้ัง
๕. บนั ทึกผลการทำแบบฝึกทกั ษะทุกคร้งั เพือ่ สังเกตพัฒนาการเรียนรขู้ องนักเรียน
6. อำนวยความสะดวก ให้คำปรกึ ษา แนะนำในการทำกิจกรรมแก่นักเรียน



คำช้ีแจงสำหรบั นกั เรียน

แบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย เล่มที่ 3 เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาและตัวละคร ที่นักเรียนจะได้ศึกษาต่อไปนี้
เปน็ แบบฝึกทีน่ ักเรยี นสามารถศกึ ษาไดด้ ว้ ยตนเองโดยปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำดงั ต่อไปนี้

๑. นักเรยี นอ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรูก้ ่อนลงมือศึกษาแบบฝึกทักษะในแต่ละกิจกรรม
๒. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพื่อตรวจสอบดูว่านักเรียนมพี นื้ ฐานความรู้ ความเข้าใจ
มากนอ้ ยเพยี งใด
๓. นักเรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองตามความสามารถ มีใบความรู้ มีแบบฝึกทักษะให้นักเรียน
ศึกษาและปฏบิ ตั ิ
๔. นกั เรยี นควรทำความเข้าใจก่อนว่า แบบฝึกเทักษะไม่ใช่การทำแบบทดสอบ แต่เปน็ การให้
นักเรยี น เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ
๕. นักเรียนควรมีสมาธิและความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ในขณะศึกษาใบความรู้ และทำแบบฝึกทักษะ
ไม่ควรเปดิ ดูเฉลยคำตอบกอ่ น จนกว่านักเรียนจะทำแบบฝึกทักษะในแตล่ ะกจิ กรรมเสรจ็ จึงเปิดดเู ฉลยได้
๖. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ หากทำไม่ได้ ให้ศึกษาใบความรู้ใหม่ ไม่เข้าใจ
ให้ย้อนกลับไปอ่านเนื้อหาแบบฝึกทักษะใหม่อีกครั้ง หรือขอคำแนะนำจากครูผู้สอน และตอบคำถาม
นกั เรียนสามารถตรวจดเู ฉลยคำตอบไดท้ นั ที หลงั จากท่ีนกั เรียนทำแบบฝึกทักษะแตล่ ะกิจกรรมเสร็จแลว้
๗. เมื่อศึกษาแบบฝึกทักษะเสร็จแล้ว ให้ทำแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจคำตอบจากเฉลย
แลว้ นำผลคะแนนท่ีไดไ้ ปเปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรียน
๘. รับฟงั การบอกคะแนนคำชมเชย และคำแนะนำเพิม่ เตมิ จากครู
๙. ในการเข้ารว่ มกิจกรรมทกุ ครัง้ นักเรียนควรให้ความร่วมมอื ตง้ั ใจในการทำกิจกรรม
และตรงตอ่ เวลาเสมอ



สาระ/มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัด/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐานการเรียนรู้ ท 5.1
เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรม
ไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวช้ีวดั
ม.๔-๖/6 วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์เบอ้ื งตน้
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. วเิ คราะห์วจิ ารณ์คุณคา่ ด้านเนื้อหาได้
2. วิเคราะห์วิจารณ์ตัวละครได้



แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

คำชี้แจง นักเรียนอา่ นข้อคำถาม และคำตอบใหล้ ะเอียด แลว้ ทำเครอื่ งหมายกากบาท ()
ทับอักษร ก, ข, ค หรือ ง ลงในกระดาษคำตอบทีต่ รงกับตวั เลือกที่นกั เรียนเหน็ ว่าถูกต้อง
ทส่ี ุด เพียงข้อเดยี ว (๑๐ คะแนน)

............................................................................................................................. .........................................

1. ขอ้ ใดไม่ใช่การวเิ คราะห์คณุ ค่าดา้ นเนอ้ื หา
ก. เรอ่ื งน้มี ีการใช้ลกั ษณะการแต่งถูกตอ้ งตามฉันทลกั ษณ์ของกลอนสุภาพ
ข. ตวั ละครในเรื่องแสดงพฤตกิ รรมออกมาทัง้ ดา้ นดีและไม่ดี
ค. เรื่องนใี้ ช้ภาษาทสี่ ละสลวยมีความงามทางวรรณศิลป์
ง. ผู้แต่งมีวธิ กี ารวางโครงเรือ่ งเป็นไปตามลำดับปฏิทิน

2. ขอ้ ใดไมเ่ กยี่ วขอ้ งกับการพจิ ารณาคณุ คา่ ด้านเน้ือหาในวรรณคดี
ก. การพิจารณาประวัติผแู้ ต่ง
ข. การพจิ ารณาวิธีการวางโครงเรือ่ ง
ค. เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ปี รากฏในวรรณคดี
ง. การวเิ คราะห์รูปแบบของคำประพันธ์

3. ข้อใดกล่าวถงึ เร่ืองขนุ ช้างขนุ แผนตอนขนุ ช้างถวายฎกี าไม่ถูกต้อง
ก. เร่ืองนี้มีการวางโครงเร่อื งตามลำดับปฏิทนิ
ข. มีการเปดิ เรอ่ื งโดยตัวละคร
ค. ตอนนเี้ ป็นการคลายปมปญั หาของเรื่องราว
ง. โคลงเร่ืองของเรอื่ งน้คี ือการถูกบังคบั นำมาสู่ความผดิ หวัง

4. พจิ ารณาข้อความต่อไปนว้ี า่ เปน็ การวเิ คราะห์ในประเด็นใด
“เรอื่ งบา้ นเกิดจัดเป็นเรื่องสนั้ ชนิดแสดงแนวคดิ เนื่องจากผู้เขยี นแสดงทัศนะ แนวคิดแกผ่ ู้อา่ น

และเข้าใจความจรงิ ของชีวิตของผู้เขยี นโดยสะทอ้ นและถ่ายทอดโดยไม่ได้บอกตรง ๆ แต่ผู้อา่ นสามารถสรุป
ได้เอง เมือ่ อ่านจบผอู้ า่ นจะเกิดความรสู้ ึกฉุดใจคิด ตัวละคร เหตกุ ารณ์ ฉากและบรรยากาศเปน็ สง่ิ ที่
สง่ เสริมใหแ้ นวคดิ ของเร่ืองนน้ั เดน่ ชัดมากขน้ึ ”

ก. รปู แบบ
ข. ตัวละคร
ค. บรรยากาศ
ง. บทสนทนา



5. ข้อเปน็ ลกั ษณะของการวิเคราะหต์ วั ละคร
ก. นางวันทองเปน็ หญิงชาวบ้านที่ไม่กล้าตดั สนิ ใจมากนัก
ข. เรอื่ งนีม้ ีตวั ละครทสี่ ำคัญของเรื่อง 5 คน
ค. ในมมุ หน่ึงของพระพนั วษาพระองคน์ ับวา่ เปน็ คนมีเหตุผล
ง. ขนุ ชา้ งเป็นผทู้ ที่ ำทกุ อย่างเพ่ือใหไ้ ด้มาในสง่ิ ทต่ี ้องการ

วันนนั้ แพ้กเู ม่ือดำน้ำ ก็กริ้วซ้ำจะฆ่าให้เปน็ ผี

แสนแค้นดว้ ยมารดายงั ปรานี ใหไ้ ปขอชวี ีขุนชา้ งไว้

6. จากคำประพนั ธบ์ ทนข้ี ้อใดสามารถสะท้อนให้เห็นลักษณะนิสัยของตัวละครใด

ก. ขนุ ชา้ ง-พระไวย
ข. ขนุ แผน-ขนุ ช้าง
ค. พระไวย-นางวันทอง

ง. พระพันวษา-นางวนั ทอง

7. พจิ ารณาคำกลา่ วของบุคคลตอ่ ไปน้ี ข้อใดเป็นการถ่ายทอดลักษณะของการอ่านวจิ ารณว์ รรณคดี
ก. ธดิ ากลา่ ววา่ “จากเรื่องกวีได้เสนอตวั ละคร และพฤติกรรมของตวั ละครหลายแบบตา่ งกัน

พฤติกรรมของตวั ละครเหลา่ นั้น ได้สะท้อนให้เห็นถึงวิธกี ารดำเนนิ ชีวิตของชาวไทยในอดีต และให้แง่คดิ
อนั เป็นคติแก่ผู้อ่าน”

ข. นารกี ล่าวว่า “ความนา่ สนใจของเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผนอยู่ที่การเสนอชีวติ ของชาวบ้าน ตวั ละครเอก
แมเ้ ป็นขุนนางแต่ก็มไิ ด้ใช้ชีวิตอยใู่ นราชสำ นกั จงึ มผี กู้ ล่าวว่าขนุ ช้างขุนแผนเปน็ วรรณคดีท่ีบันทกึ วิถชี วี ติ
ประเพณี พธิ ีกรรมและความคิดของสงั คมสมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้นไว้อยา่ งชัดเจน”

ค. อนงค์กลา่ วว่า “กระบวนกลอนมรี สคมคายดดู ด่ืมใจไมร่ ู้เบื่อใช้ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมแก่ลลี า
ของเร่ือง เสภาเรื่องน้ียังเปน็ กระจกสอ่ งวถิ ีชีวิตของผู้คนในสังคมสมยั ตน้ กรงุ รตั นโกสินทร์ตั้งแต่เกิดจนตาย”

ง. นงเยาวก์ ล่าววา่ “วรรณคดสี โมสรในรชั กาลท่ี 6 ตัดสินใหเ้ สภาเรอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผนเปน็ ยอดแหง่
กลอนสุภาพ เพราะเสภาเร่ืองนี้มีลักษณะดีเด่นหลายประการ”

จะตดั เอาศีรษะของแมไ่ ป ทง้ิ แต่ตัวไว้อยนู่ ่ี

แมอ่ ย่าเจรจาใหช้ า้ ที จวนแจง้ แสงศรจี ะรีบไป

8. ข้อใดไมส่ อดคล้องกับคำประพันธข์ ้างตน้

ก. การเตอื นสติ

ข. การใช้อารมณ์

ค. ไม่รับฟงั เหตผุ ล

ง. ความต้องการใหไ้ ด้ตามจดุ ประสงค์



9. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ลักษณะนิสัยของพระพันวษาตา่ งจากขอ้ อ่นื

ก. มงึ นถี่ ่อยยง่ิ กว่าถ่อยอีท้ายเมือง จะเอาเร่ืองไม่ไดส้ กั สิ่งสรรพ์
ละโมบมากตัณหาตาเป็นมัน สกั ร้อยพนั ให้มึงไมถ่ ึงใจ

ข. คราน้ันพระองคผ์ ทู้ รงเดช ปิน่ ปกั นคเรศเรืองศรี
เหน็ สามราเข้ามาอัญชลี พระปรานีเหมอื นลูกในอุทร

ค. อย่กู บั อ้ายชา้ งไมอ่ ยู่ได้ เกิดรังเกยี จเกลียดใจดว้ ยชงั หัว

ดยู ักใหม่ย้ายเก่าเฝ้าเปลยี่ นตัว ตกว่าช่ัวแล้วมงึ ไม่ใยดี

ง. มึงเหมอื นววั เคยขาม้าเคยข่ี ถึงบอกกูวา่ ดหี าเช่ือไม่
อา้ ยชา้ งมันก็ฟ้องเปน็ สองใน วา่ อ้ายไวยลกั แม่ใหบ้ ิดา

10. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. เรือ่ งราวตอนขนุ ชา้ งถวายฎกี า นับเปน็ ตอนทส่ี ำคญั ที่สุดของเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน กล่าวคอื เปน็ ตอน

ทีป่ ญั หาความวนุ่ วายท่ีเกดิ จากการแย่งชิงนางวนั ทองได้ส้ินสดุ ลง
ข. สมเด็จพระพันวษามรี ับสง่ั ให้นางวันทองตดั สนิ ใจให้เด็ดขาดว่าจะเลอื กอยู่กับขุนชา้ ง ขุนแผน

หรือจะอยู่กับลูก
ค. นางวันทองเกรงวา่ หากกราบทูลผดิ ไปจากทสี่ มเด็จพระพันวษาทรงคาดคิดแล้วก็จะพิโรธได้

จงึ ขอกราบทูลไปตามความรู้สึกจริง ๆ
ง. ช้างขนุ แผนเป็นวรรณคดีเอกในสมยั สโุ ขทัยท่รี จู้ ักกนั มากท่ีสุด เปน็ เร่อื งราวชาวบ้านที่ถ่ายทอด

เรื่องราวน่าสนใจ



กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

ช่ือ-นามสกุล.....................................................................ช้นั ............. เลขที่ ..............

คำชแี้ จง จงเลอื กตวั อักษร ก, ข, ค, หรอื ง และทำเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ได้คะแนน
ในชอ่ งทถี่ กู ทส่ี ดุ (๑๐ คะแนน)

ขอ้ ก ข ค ง

2
3
4
5
6
7
8
9
10



ใบความรู้ท่ี 1
เร่ือง การวิเคราะห์คุณคา่ ดา้ นเน้ือหา

การวิเคราะหค์ ุณค่าด้านเนอ้ื หา

คุณค่าด้านเนื้อหา หมายถึง เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีและวรรณกรรม เนื้อหา
จึงประกอบด้วยบทบรรยาย บทสนทนาของตัวละครและฉาก การพจิ ารณาคุณคา่ ด้านเนื้อหาจงึ มุ่งไปที่
การพิจารณาองคป์ ระกอบเน้ือหาเหลา่ น้ันวา่ มีคุณค่าหรือเป็นประโยชนต์ อ่ ผู้อา่ นอย่างไร

การพจิ ารณาคุณคา่ ด้านเนอื้ หา มีแนวทางในการพจิ ารณาดงั ต่อไปน้ี

1. รูปแบบ

ในการศึกษาวรรณคดีนักเรียนควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบของ วรรณคดีว่าจะพิจารณา
วรรณคดเี รื่องนนั้ ในลกั ษณะใด ซึง่ รปู แบบของวรรณคดีแบง่ ออกเป็นร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง

๑.๑) ร้อยแก้ว คือคำประพันธ์ที่ไม่จำกัดถ้อยคำและประโยคไม่มีกฎเกณฑ์ทางฉันทลักษณ์เป็น
รูปแบบต่าง ๆ ตายตัว การพิจารณาความหมายในคำประพันธ์ประเภทร้อยแก้วขึ้นอยู่กับจุดประสงค์และ
เนื้อหาของเรื่องถ้ากวีมีจุดมุ่งหมายที่จะบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ให้ความรู้ทั่ว ๆ ไปจะมีการใช้ภาษา
ตรงไปตรงมา เรียบง่าย ชัดเจน และหากกวีแตง่ เร่ืองท่มี เี น้อื หาลุม่ ลึก แสดงความลกึ ซ้งึ แยบคาย
เชน่ เร่ืองเก่ยี วกับพระพทุ ธศาสนา ปรัชญา หรือเรื่องที่เกิดจากจินตนาการ วรรณกรรมร้อยแก้วชิ้นที่
เลือกใช้ถอ้ ยคำได้เหมาะสมเน้ือความ แตง่ ได้กระชับรดั กุม สละสลวยสอื่ ความหมายได้ชัดเจนวางเหตุการณ์
ในเรอ่ื งอย่างแนบเนียนวรรณกรรมร้อยแกว้ ช้ินนั้นจะมคี วามไพเราะงดงามและสะเทือนอารมณ์ผู้อ่านได้เป็น
อย่างดี

๑.๒) รอ้ ยกรอง คอื คำประพันธท์ นี่ ำคำมาประกอบกันข้ึนให้มลี ักษณะรปู แบบตามที่กำหนดไว้และ
มีกฎเกณฑ์ข้อบังคับต่าง ๆ วรรณคดีสมาคมได้มีการบัญญัติคำว่าร้อยกรองเป็นคำรวมเรียกโคลง ฉันท์
กาพย์ กลอน และร่าย คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองจะเน้นจังหวะของเสียงซึ่งเกิดจากการกำหนดจำนวน
พยางค์เป็นวรรค บาทและบท การผูกคำสัมผัสคล้องจอง อย่างมีแบบแผน ลักษณะการบังคับตำแหน่ง
วรรณยุกต์ เชน่ โคลง เป็นต้น และการเพิ่มสัมผัสคล้องจองในวรรคขึ้นอยู่กับลีลาชั้นเชิงของกวีแต่ละคน
วรรณคดีเรื่องหนง่ึ ๆ อาจใช้คำประพันธ์ ชนดิ เดยี วเป็นหลกั เช่น เสภาเรอื่ งขนุ ชา้ งขุนแผน เร่อื งอิเหนา



แต่งเป็นกลอนสุภาพ วรรณคดีบางเรื่องแต่งด้วยคำประพันธต์ ่างชนิดกัน เช่น เรื่องพระลอ เรื่องตะเลงพ่าย
แตง่ เปน็ โคลงและร่ายเรียกว่าลิลิต เร่อื งมทั นะพาธาแต่งเป็นฉันทแ์ ละกาพย์เรยี กวา่ คำฉันท์ กาพย์เห่เรือแต่ง
เป็นโคลง และกาพย์เพื่อให้ฝีพายได้ขับเห่ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคกวีได้เลือกรปู แบบกาพย์ยานี
ซึ่งเหมาะกับเนื้อเรื่องที่พรรณนาธรรมชาติร่วมกับอารมณ์ความรู้สึกของกวีที่แสดงความรักความอาลัย
ถึงคนรกั ดังความว่า

โคลง อัสดง
รอนรอนสรุ ยิ โอ้ ค่ำแล้ว
เพยี งแม่
เรือ่ ยเรื่อยลับเมรลุ ง คลบั คล้ายเรียมเหลียว
รอนรอนจติ จำนงนุชพี่
เร่อื ยเรื่อยเรียมคอยแกว้ ทพิ ากรจะตกตำ่
กาพย์ คำนงึ หน้าเจ้าตาตรู

เรื่อยเรอ่ื ยมารอนรอน
สนธยาจะใกล้ค่ำ

การอา่ นคำประพันธ์เปน็ จงั หวะทำนองตามลักษณะคำประพันธแ์ ตล่ ะชนิดจะช่วยให้ ผู้อ่านสามารถ
รับร้อู ารมณ์ของกวที แ่ี ทรกไวใ้ นบทรอ้ ยกรองอยา่ งมีประสิทธิภาพการอ่านอย่างเข้าใจซาบซงึ้ ยอ่ มช่วยให้
ผอู้ ่านและผู้ฟงั เขา้ ถงึ รสถ้อยคำ รสความ รสคลอ้ งจอง และรสภาพ อย่างสมจรงิ เกดิ ความรสู้ ึกประทับใจ
ในวรรณคดีไทย

2. องค์ประกอบของเรื่อง พจิ ารณาได้ดงั นี้

๒.๑) สาระ พิจารณาว่าสาระที่ผู้แต่งต้องการสื่อมายังผู้อ่านเป็นเรื่องอะไร เช่น ให้ความรู้
ขอ้ เท็จจรงิ ข้อคิดเห็น หรอื แสดงความร้สู ึกนึกคิดออกมา ควรจบั สาระสำคญั หรือแก่นของเรอื่ งให้ได้ว่าผู้แต่ง
ต้องการสือ่ อะไร แก่นเรื่องมีลักษณะแปลกใหม่น่าสนใจเพียงใด เช่น เรื่องสามก๊กมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
การปกครองบา้ นเมอื งและการชิงอำนาจกันดว้ ยอุบายการเมือง และการสงคราม เป็นตน้

๒.๒) โครงเรื่อง พิจารณาวิธีการเรียงลำดับความคิดหรือเหตุการณ์ในเรื่องว่าเปิดเรื่องอย่างไร
ดังเช่น โครงเรื่องของเสภาเรือ่ งขุนชา้ งขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา คือ ผู้หญิงที่ต้องเลือกไปอยู่กับผู้ชาย
คนใดคนหนึ่งซึ่งคนหนึ่งตนก็รักมากอีกคนหนึ่งก็ดีต่อตนมาก กวีมีวิธีวางโครงเรื่องได้ดีหรือไม่ การลำดับ
ความไปตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ มีวิธีการวางลำดบั เหตกุ ารณ์ น่าสนใจอย่างไร และมีการสร้างปมขัดแยง้
อะไรท่ีนำไปส่จู ดุ สูงสุดของเรือ่ ง เปน็ ต้น



๒.๓) ฉากและบรรยากาศ หมายถึง เวลา สถานที่ และบรรยากาศในเรือ่ งทำให้เห็นภาพชัดเจนขนึ้
และเขา้ ใจเน้อื หาของวรรณกรรมไดม้ ากขนึ้ ด้วย ในการวิเคราะหว์ ิจารณ์ฉากมีขอ้ ควรพจิ ารณา ดงั น้ี

- ฉากสอดคลอ้ งกับเหตกุ ารณ์ในเร่อื งอยา่ งไร
- ฉากมีผลต่ออารมณ์ผอู้ ่านหรอื ไม่ เพียงใด ผ้เู ขยี นใช้กลวธิ ีถ่ายทอดอยา่ งไร
- ฉากมีความเหมาะสม ตรงกับความเป็นจริงตามสภาพสถานที่ หรือลักษณะทางภูมิศาสตร์
หรือไม่
หลักการพิจารณาการพรรณนาหรือบรรยายฉากของเรื่องโดยบรรยากาศนั้นสร้าง
โดยการบรรยายฉากซึ่งเกิดจากการสร้างเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเรื่อง กวีต้องให้รายละเอียดเกี่ยวกับ
สถานที่และสภาพแวดล้อมเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตาม เช่น เร่ืองสามก๊กมีฉากของเร่ืองอยู่ใน
ประเทศจีนในสมัยพระเจ้าเห้ียนเต้ เสภาเร่ืองขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกามีฉากการตัดสิน
พระทยั ของสมเด็จพระพันวษากเ็ กิดขึน้ สมยั การปกครองตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยแ์ ละบรรยากาศ
น่าเกรงขาม เปน็ ต้น

๒.๔) ตัวละคร พิจารณาลักษณะนิสัยของตัวละครเป็นส่วนสำคัญของเรื่อง โดยต้องพิจารณาว่ามี
บคุ ลิกภาพอย่างไรและมีบทบาทอย่างไร พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกมาดีหรือไม่ เชน่ ความไมร่ จู้ ักกาลเทศะของ
ขนุ ช้างในคราวท่ีดำน้ำเขา้ ไปถวายฎีกาถึงเรือพระท่ีนง่ั เปน็ ต้น

๒.๕) กลวิธีการแต่ง พิจารณาวิธีการเลือกใช้ถ้อยคำและการนำเสนอว่ากวีนำเสนออย่างไร เช่น
เสนออย่างตรงไปตรงมา เสนอโดยให้ตีความจากสัญลักษณ์หรือความเปรียบ เสนอโดยใช้ภาพพจน์ให้เกิด
จินตภาพ ควรพิจารณาว่าวธิ กี ารต่าง ๆ เหลา่ นี้ ชวนใหน้ า่ สนใจ นา่ ติดตาม และน่าประทบั ใจไดอ้ ย่างไร

(ภาสกร เกดิ อ่อน และคณะ. ม.ป.ป. : 6-8)



แบบฝกึ ทักษะท่ี 1

คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นทำเครื่องหมายถูก (✓) หน้าข้อทีเ่ ห็นว่าถูกตอ้ ง และทำเคร่ืองหมายกากบาท ()
หน้าขอ้ ความที่ไม่ถูกต้อง (10 คะแนน)

................ ๑. การพิจารณาความหมายในคำประพันธป์ ระเภทรอ้ ยแก้วขึ้นอยู่กับ
จดุ ประสงคแ์ ละเน้อื หาของเร่ือง

................ 2. โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย คอื ร้อยแกรอง

................ 3. การเพิ่มสัมผสั คล้องจองภายในวรรคเป็นฉนั ทลักษณ์บงั คับของร้อยกรอง

................ 4. การพจิ ารณาคุณคา่ ดา้ นเน้อื หามีแนวทางในการพจิ ารณาในเรอ่ื งรูปแบบและ
ภาษาที่ใชใ้ นเรอื่ ง

................ 5. การอ่านคำประพนั ธ์เปน็ จังหวะ ทำนองตามลกั ษณะคำประพันธ์จะชว่ ยรับรู้
อารมณข์ องกวีซงึ่ เปน็ สว่ นหนึง่ ในการพิจารณาคณุ ค่าด้านเนือ้ หา

................ 6. ฉากและบรรยากาศเปน็ การพิจารณาคุณคา่ ด้านเน้ือหาเกยี่ วกบั
องค์ประกอบของเรอื่ ง

................ 7. ในการพิจารณษคุณค่าด้านเนือ้ หาควรจับประเด็นสำคัญและสาระสำคญั
ของเร่ือง

................ 8. การเปดิ เรอื่ งการปดิ เร่ือง วางลำดบั เหตุการณ์ ลกั ษณนิสยั ของตวั ละคร
คือการวางโครงเรือ่ ง

................ 9. ในการวิเคราะหค์ ุณคา่ ดา้ นเน้อื หาทเ่ี กี่ยวกบั ตวั ละครต้องพิจารณา
ในเร่ืองบคุ ลกิ ภาพ บทบาทในเรื่อง

................ ๑0. แมจ้ ะเป็นการพิจารณาคณุ คา่ ด้านเน้ือหาแตก่ ต็ ้องวเิ คราะหก์ ลวิธีการแต่ง



แบบฝกึ ทักษะที่ 2

คำชีแ้ จง วิเคราะห์วิจารณ์คุณคา่ ด้านเนื้อหาจากเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอนขุนชา้ งถวายฎีกา
ในประเดน็ ต่อไปน้ี โดยยกตวั อย่างบทประพนั ธ์ในเร่อื งประกอบ (10 คะแนน)

1. พิจารณาบทประพันธต์ อ่ ไปน้แี ลว้ วเิ คราะหว์ ิจารณค์ ณุ ค่าดา้ นเน้ือหาที่เกี่ยวกับรปู แบบคำประพันธ์
(5 คะแนน)

จะกลา่ วถึงเจา้ จอมหม่อมขุนช้าง นอนครางหลับกรนอยูป่ ่นเปอื้ น

อัศจรรยฝ์ ันแปรแชเชอื น ว่าข้เี ร้ือนข้นึ ตวั ทว่ั ทั้งน้ี

หาหมอมารักษายาเขา้ ปรอท มนั กินปอดกนิ ไตออกไหลล่นั

ทั้งไส้นอ้ ยไสใ้ หญ่แลไสต้ นั ฟงั ฟางก็หักจากปากตวั

ตอบ ............................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

2. วิเคราะห์วจิ ารณ์คุณคา่ ดา้ นเน้อื หาจากเร่ืองขนุ ช้างขุนแผน ตอนขุนชา้ งถวายฎกี าในเรื่องรปู แบบและ
โดยยกตวั อย่างบทประพนั ธใ์ นเร่อื งประกอบ (5 คะแนน)

ตอบ ..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
.......................................................................................................................................................... .......
......................................................................................................................... ........................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................

๑๐

แบบฝึกทกั ษะที่ 3

คำช้ีแจง พิจารณาประเดน็ การวเิ คราะห์วจิ ารณ์คุณคา่ ด้านเนือ้ หาทเ่ี ก่ียวกับองคป์ ระกอบของ
เรือ่ งในประเดน็ ต่อไปนี้ (10 คะแนน)

1. วเิ คราะห์วจิ ารณค์ ุณคา่ ดา้ นเน้ือหาในเรื่อง “สาระ” ของเรอ่ื งขนุ ช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
(5 คะแนน)

ตอบ ............................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

2. วิเคราะห์วจิ ารณค์ ุณคา่ ด้านเน้ือหาเกี่ยวกับ “โครงเรือ่ ง” ของเรื่องขุนชา้ งขุนแผน ตอนขนุ ช้าง
ถวายฎกี า (5 คะแนน)

ตอบ ..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

๑๑

แบบฝกึ ทกั ษะที่ 4

คำช้แี จง พจิ ารณาคำประพันธต์ อ่ ไปนแ้ี ลว้ วเิ คราะห์วจิ ารณ์คณุ ค่าดา้ นเน้ือหาในเรื่อง “ฉากและ
บรรยากาศ” ของเร่อื งขนุ ชา้ งขุนแผน ตอน ขุนชา้ งถวายฎกี า (10 คะแนน)

1. ขา้ ไทนอนหลับลงทับกนั สะเดาะห์กลอนถอนลนั่ ถึงช้นั สาม
กระจกฉากหลากสลับวบั แวมวาม อร่ามแสงโคมแก้วแววจับตา
มา่ นมูลีม่ ีฉากประจำก้นั อฒั จนั ทรเ์ คร่ืองแก้วกห็ นกั หนา
ชมพลางยา่ งเยือ้ งชำเลืองมา เปดิ มงุ้ เหน็ หน้าแมว่ ันทอง

ตอบ ............................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

2. ฟ้าขาวดาวเดน่ ดวงสว่าง จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดเมฆสิ้น
จึงเซน่ เหลา้ ข้าวปลาใหพ้ รายกนิ เสกขมน้ิ ว่านยาเขา้ ทาตวั

ตอบ ............................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

3. ข้าไทได้ฟงั ขนุ ชา้ งใช้ ต่างเที่ยวคน้ ด้นไปจะเอาหน้า
ท้งั หอ้ งนอกห้องในไม่พบพา ท่ัวเคหาแล้วไปคน้ จนแผน่ ดิน
เห็นประตูรว้ั บ้านบานเปดิ กวา้ ง ผู้คนนอนสลา้ งไมต่ ืน่ ส้ิน
เสาแรกแตกตน้ เป็นมลทิน กินใจกลับมาหาขนุ ช้าง

ตอบ ..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................. ...............................
................................................................................................. ................................................................

๑๒

4. พอเรอื พระทน่ี ง่ั ประทบั ท่ี ขนุ ช้างกร็ ่ีลงตนี ทา่
ลอยคอชหู นงั สือดือ้ เขา้ มา ผุดโผลโ่ งหนา้ ยึดแคมเรอื
เข้าตรงบโทนอ้นตน้ กัญญา เพ่ือนโขกลงกะลาวา่ ผเี สอื้
มหาดเลก็ อยู่งานพัดพลดั ตกเรือ รอ้ งว่าเสือตัวใหญ่วา่ ยนำ้ มา

ตอบ ..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
.......................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................................... ..................

5. พระสตู รรดู กร่างกระจา่ งองค์ ขุนนางกราบลงเป็นขนัด

ท้งั หน้าหลงั เบียดเสยี ดเยยี ดยัด หมอบอัดถัดกนั เป็นหล่ันไป

ตอบ ..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

๑๓

ใบความรูท้ ่ี 2
เรือ่ งการวิเคราะห์วจิ ารณ์ลักษณะตัวละคร

ตัวละคร คือผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์ในเรื่อง หรือเป็นผู้แสดง พฤติกรรมต่าง ๆ ในเรื่อง ตัวละครนี้
นบั เป็นองคป์ ระกอบสำคัญสว่ นหน่งึ เพราะถ้าไม่มตี วั ละครแลว้ เร่ืองราวต่าง ๆ ในงานประพันธ์ก็จะเกิดข้ึน
ไม่ได้ ตัวละคร มี 2 ประเภท คือ ตัวละครเอก คือตัวละครซึ่งมีบทบาทสำคัญในการดำเนินเรื่องโดยตลอด
หรือเป็นศูนย์กลางของเรื่อง และ ตัวละครประกอบหรือตัวละครย่อย คือตัวละครซึ่งมีบทบาทในฐานะ
เป็นส่วนประกอบของการดำเนินเรื่องเท่านั้น แต่ก็ต้องมีส่วนช่วยเสริมเนื้อเรื่องและตัวละครสำคัญให้
เดน่ ขน้ึ

การวิเคราะห์และวิจารณ์ตัวละคร
การวิเคราะห์และวจิ ารณ์ตวั ละครจะตอ้ งเห็นภาพตัวละคร ดงั นี้
1) รปู ภายนอกของตัวละคร เชน่ สวย หล่อ พกิ าร ตัวดำ ขาว ผมหยกิ แขนยาว ขาสั้น รวมไปถึง

ลกั ษณะการแตง่ ตัวของตัวละคร ซ่ึงคนเขยี นจะต้องเหน็ รายละเอียดเหลา่ นี้เป็นภาพเลย และตอ้ งเหน็ ภาพ
เหล่าน้ีของตัวละครทุกตัว ไม่ใชเ่ หน็ แต่เฉพาะพระเอกนางเอก

2) ภมู ิหลงั ของตวั ละคร เช่น ตัวละครที่มีนสิ ัยเห็นแก่ตวั มกั จะมาจากครอบครัวทีแ่ ตกแยก
3) มุมมอง ทศั นคติของตวั ละคร เป็นลักษณะภายในความรู้สกึ นกึ คิด มมุ มองที่ใชเ้ ผชญิ กับโลก
ในละคร ทัศนคติของตัวละครเปน็ ตวั ท่ีขบั เคล่ือนให้ตวั ละครตดั สนิ ใจในเร่ืองทอ่ี าจจะถูกต้อง หรือผิดพลาด
ครง้ั ยิง่ ใหญ่ และเปน็ หวั ใจท่จี ะทำใหต้ ัวละครนน้ั มีจุดยนื ในโลกละครท่ีแตกต่างไปจากตวั ละครตวั อน่ื ๆ

๑๔

แบบฝึกทักษะท่ี 5

คำชแ้ี จง นกั เรยี นวิจารณ์ตัวละครตอ่ ไปนี้ (10 คะแนน)

พระพันวษา

ตอบ ............................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ...........................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

ขุนช้าง
ตอบ ........................................................................................................................................
........................................................................................................... .......................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

ขุนแผน
ตอบ ............................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ...........................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

๑๕

จมน่ื ไวย
ตอบ ............................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ...........................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................. .................................................................
............................................................................................................................. .....................
.......................................................................................................... ........................................
............................................................................................................................. .....................

นางวนั ทอง
ตอบ ........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

๑๖

แบบฝกึ ทกั ษะที่ 6

คำชแ้ี จง นกั เรียนวจิ ารณ์ตวั ละครจากบทประพนั ธ์ตอ่ ไปนี้ (5 ข้อ ขอ้ ละ 2 คะแนน)

1. ขนุ ช้างตื่นขนึ้ มเิ ป็นการ เขาจะพาลรกุ รานทำขม่ เหง
จะเกดิ ผิดแม่คดิ คะนงึ เกรง ฉวยสบเพลงพลาดพล้ำมิเป็นการ

ตอบ ..........................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

2. เสียแรงเปน็ ลูกผู้ชายไม่อายเพื่อน จะพาแม่ไปเรือนใหจ้ งได้

แมน้ มไิ ปใหง้ ามก็ตามใจ จะบาปกรรมอยา่ งไรก็ตามที

จะตัดเอาศรี ษะของแมไ่ ป ทิ้งแต่ตวั ไว้อยูน่ ่ี

แมอ่ ย่าเจรจาใหช้ า้ ที จวนแจง้ แสงศรีจะรีบไป

ตอบ ..........................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................... ..............................................................................

3. คราน้นั ขนุ ชา้ งฟงั บ่าวบอก เหงือ่ ออกโซมลา้ นกระบาลใส
คดิ คิดใหแ้ คน้ แสนเจ็บใจ ชา่ งทำได้ตา่ งต่างทุกอยา่ งจริง
สองหนสามหนกน่ แตห่ นี พลง้ั ทีลงรอดนางยอดหญงิ
ครานัน้ ขุนแผนมันแง้นชงิ นีค่ ราวนี้วงิ่ หนไี ปกับใคร

ตอบ ..........................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

๑๗

4. จึงแกลง้ เพทุบายทำนายไป ฝนั อยา่ งนมี้ ิใชจ่ ะเกดิ เขญ็
เพราะวิตกหมกไหม้จงึ ไดเ้ ป็น เนอื้ เย็นอยู่กบั ผวั อยา่ กลวั ทกุ ข์

ตอบ ........................................................................................................................ ..................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... .............................

5. ครานน้ั พระองคท์ รงธรณนิ ทร์ หาได้ยินวนั ทองทลู ขนึ้ ไม่
พระตรสั ความถามซกั ไปทันใด ฤามงึ ไมร่ กั ใครจงว่ามา
จะรกั ชู้ชังผวั มึงกลัวอาย จะอยดู่ ้วยลูกชายกไ็ ม่ว่า
ตามใจกูจะให้ดังวาจา แตน่ ้ีเบ้อื หน้าขาดเดด็ ไป

ตอบ ..........................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

๑๘

แบบทดสอบหลังเรยี น

คำช้แี จง นกั เรยี นอ่านข้อคำถาม และคำตอบใหล้ ะเอียด แลว้ ทำเครอ่ื งหมายกากบาท ()
ทับอกั ษร ก, ข, ค หรือ ง ลงในกระดาษคำตอบที่ตรงกบั ตวั เลอื กทน่ี กั เรียนเหน็ ว่าถูกตอ้ ง
ที่สดุ เพียงข้อเดยี ว (๑๐ คะแนน)

............................................................................................................................... .......................................
1. ขอ้ ใดไมเ่ ก่ยี วข้องกับการพจิ ารณาคุณค่าดา้ นเน้ือหาในวรรณคดี
ก. เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ทป่ี รากฏในวรรณคดี
ข. การวิเคราะหร์ ปู แบบของคำประพนั ธ์
ค. การพจิ ารณาวิธกี ารวางโครงเรือ่ ง
ง. การพจิ ารณาประวตั ิผู้แต่ง

2. ข้อใดไมใ่ ช่การวเิ คราะหค์ ณุ คา่ ด้านเนอ้ื หา
ก. มีการเปิดเรื่องโดยการบรรยายถึงลกั ษณะของตวั ละคร
ข. ตวั ละครในเรื่องแสดงพฤติกรรมออกมาทั้งด้านดีและไม่ดี
ค. ผู้แตง่ มีวธิ กี ารวางโครงเรือ่ งเป็นย้อนกลบั
ง. เรอ่ื งนี้มีการใช้โวหารภาพพจน์และรสวรรณคดีท่หี ลากหลาย

3. พิจารณาข้อความต่อไปน้ีว่าเปน็ การวเิ คราะห์ในประเดน็ ใด
“เร่อื งบ้านเกดิ จัดเปน็ เรื่องสั้นชนิดแสดงแนวคิด เนอ่ื งจากผเู้ ขยี นแสดงทศั นะ แนวคิดแก่ผ้อู า่ น

และเขา้ ใจความจรงิ ของชวี ติ ของผเู้ ขยี นโดยสะท้อนและถ่ายทอดโดยไมไ่ ดบ้ อกตรง ๆ แต่ผ้อู า่ นสามารถสรุป
ไดเ้ อง เม่ืออา่ นจบผู้อ่านจะเกดิ ความรสู้ กึ ฉุดใจคิด ตัวละคร เหตกุ ารณ์ ฉากและบรรยากาศเปน็ สงิ่ ท่ี
ส่งเสรมิ ใหแ้ นวคิดของเร่ืองนน้ั เดน่ ชัดมากขึน้ ”

ก. รูปแบบ
ข. ตัวละคร
ค. บรรยากาศ
ง. บทสนทนา

4. ข้อใดกล่าวถึงเรือ่ งขนุ ชา้ งขุนแผนตอนขนุ ช้างถวายฎีกาไม่ถูกต้อง
ก. มีการเปิดเรือ่ งโดยตัวละคร
ข. ตอนทา้ ยจบแบบโศกนาฎกรรม
ค. ตอนนีเ้ ปน็ การคลายปมปัญหาของเร่ืองราว
ง. เรอ่ื งนี้มกี ารวางโครงเรอ่ื งแบบเลา่ ย้อนกลับ

๑๙

5. ขอ้ เป็นไม่ใช่ลักษณะของการวิจารณ์ตวั ละคร
ก. นางวนั ทองถกู ตราหนา้ ว่าเป็นหญิงสองใจซ่ึงเปน็ คำกลา่ วหาท่ีไม่จริง
ข. ในตอนนี้คนทผ่ี ิดคือพลายงามเปน็ คนท่ีใชอ้ ารมณ์เหนือเหตผุ ลจึงทำใหเ้ กดิ ความวนุ่ วาย
ค. หากพระพันวษาใจเยน็ ลงอกี สักหน่อยเรื่องราวคงไม่แยจ่ นกระทง่ั นางวนั ทองตาย
ง. เรือ่ งน้ีมีตัวละครทีส่ ำคัญของเร่ือง 5 คน แต่ละคนมีลักษณะนิสัยทแี่ ตกตา่ งกันไป

ดว้ ยเป็นขา้ ลักไปไทลักมา เห็นเบอื้ งหน้าจะอึงแมจ่ งึ หา้ ม
ถ้าเจา้ เห็นเป็นสขุ ไมล่ กุ ลาม กต็ ามเถดิ มารดาจะคลาไคล

6. ขอ้ ใดไม่เกย่ี วข้องกับคำประพันธ์ข้างต้น
ก. เตือนสตลิ ูก
ข. ตีตนไปก่อนไข้
ค. เกรงว่าจะมีความผิด
ง. พระไวยกระทำไม่ถูกต้อง

7. พิจารณาคำกลา่ วของบุคคลตอ่ ไปนี้ ข้อใดเป็นการถ่ายทอดลกั ษณะของการอา่ นวิจารณ์วรรณคดี
ก. อนงค์กลา่ ววา่ “กระบวนกลอนมีรสคมคายดูดดื่มใจไม่รู้เบอ่ื ใชถ้ ้อยคำสำนวนเหมาะสมแก่ลลี าของ

เรื่อง เสภาเร่ืองน้ียังเป็นกระจกส่องวิถีชีวิตของผคู้ นในสังคมสมัยตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ตงั้ แต่เกดิ จนตาย”
ข. ธิดากล่าวว่า “จากเรอ่ื งกวไี ดเ้ สนอตัวละคร และพฤติกรรมของตัว ละครหลายแบบต่างกัน

พฤติกรรมของตัวละครเหล่านั้น ไดส้ ะท้อนให้เหน็ ถึงวธิ ีการดำเนนิ ชวี ติ ของชาวไทยในอดีต และใหแ้ ง่คดิ อัน
เป็นคติแก่ผู้อา่ น”

ค. นารีกลา่ ววา่ “ความนา่ สนใจของเร่ืองขนุ ช้างขุนแผนอยู่ทก่ี ารเสนอชวี ติ ของชาวบ้าน ตวั ละครเอกแม้
เป็นขนุ นางแต่กม็ ิได้ใชช้ วี ิตอยู่ในราชสำ นกั จงึ มีผกู้ ลา่ ววา่ ขุนช้างขุนแผนเปน็ วรรณคดีท่ีบันทกึ วถิ ีชีวติ
ประเพณี พิธกี รรมและความคิดของสังคมสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ไว้อย่างชดั เจน”

ง. นงเยาว์กล่าวว่า “วรรณคดสี โมสรในรัชกาลท่ี 6 ตัดสนิ ใหเ้ สภาเรอื่ งขุนช้างขุนแผนเป็นยอดแห่ง
กลอนสุภาพ เพราะเสภาเร่ืองนีม้ ีลกั ษณะดีเด่นหลายประการ”

จะตัดเอาศีรษะของแมไ่ ป ท้งิ แตต่ ัวไว้อยูน่ ี่

แมอ่ ย่าเจรจาใหช้ ้าที จวนแจง้ แสงศรจี ะรบี ไป

8. ข้อใดไม่สอดคล้องกบั คำประพันธข์ า้ งตน้

ก. การเตอื นสติ

ข. การใช้อารมณ์

ค. ไมร่ บั ฟงั เหตุผล

ง. ความต้องการให้ได้ตามจุดประสงค์

๒๐

9. ข้อใดไมถ่ ูกต้อง
ก. เร่ืองราวตอนขนุ ช้างถวายฎีกา นบั เป็นตอนทส่ี ำคัญท่ีสุดของเร่ืองขนุ ช้างขุนแผน กล่าวคือเปน็ ตอน

ที่ปญั หาความวนุ่ วายท่ีเกดิ จากการแย่งชิงนางวันทองได้สิน้ สุดลง
ข. สมเด็จพระพันวษามีรบั สัง่ ให้นางวันทองตัดสินใจใหเ้ ดด็ ขาดวา่ จะเลอื กอยู่กับขุนชา้ ง ขุนแผน หรอื จะ

อยกู่ บั ลกู
ค. ขุนชา้ งขนุ แผนเป็นวรรณคดีเอกในสมยั สโุ ขทยั ทร่ี ู้จักกันมากที่สุด เป็นเรื่องราวชาวบา้ นท่ีถ่ายทอด

เร่ืองราวนา่ สนใจ
ง. นางวันทองเกรงวา่ หากกราบทูลผดิ ไปจากที่สมเดจ็ พระพันวษาทรงคาดคิดแล้วก็จะพิโรธไดจ้ ึงขอ

กราบทูลไปตามความรู้สึกจรงิ ๆ

10. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ ลักษณะนสิ ัยของพระพันวษาต่างจากขอ้ อื่น

ก. มงึ น่ีถ่อยย่งิ กวา่ ถ่อยอีทา้ ยเมือง จะเอาเรื่องไม่ไดส้ กั สิง่ สรรพ์

ละโมบมากตัณหาตาเป็นมนั สกั รอ้ ยพันให้มงึ ไมถ่ ึงใจ

ข. ครานัน้ พระองค์ผทู้ รงเดช ป่ินปกั นคเรศเรืองศรี

เหน็ สามราเขา้ มาอญั ชลี พระปรานีเหมือนลูกในอุทร

ค. อยูก่ บั อ้ายชา้ งไมอ่ ยู่ได้ เกิดรังเกียจเกลยี ดใจด้วยชงั หัว

ดยู กั ใหม่ยา้ ยเกา่ เฝา้ เปล่ียนตวั ตกวา่ ช่ัวแล้วมงึ ไมใ่ ยดี

ง. มึงเหมือนววั เคยขาม้าเคยขี่ ถึงบอกกวู ่าดหี าเชื่อไม่

อ้ายชา้ งมันก็ฟ้องเปน็ สองใน วา่ อา้ ยไวยลกั แม่ให้บิดา

๒๑

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรยี น

ชอื่ -นามสกุล.....................................................................ช้นั ............. เลขที่ ..............

คำชแ้ี จง จงเลอื กตวั อกั ษร ก, ข, ค, หรอื ง และทำเครื่องหมายกากบาท (X) ได้คะแนน
ในช่องทถ่ี ูกทส่ี ุด (๑๐ คะแนน)

ขอ้ ก ข ค ง

2
3
4
5
6
7
8
9
10

๒๒

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2557). หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทยวรรณคดวี จิ กั ษณ.์ กรงุ เทพฯ:
คุรุสภาลาดพรา้ ว.

ณัฐวฒุ ิ คล้ายสบุ รรณ และวนั เพ็ญ เหลอื งอรณุ . (2562). พินิจวรรณคดีจากหนังสือแบบเรียน
มัธยมศึกษาตอนปลาย. กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชน่ั .

ภาสกร เกิดอ่อน และคณะ. (ม.ป.ป.). ภาษาไทยวรรณคดีและวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์
อจท.

๒๓

ภาคผนวก

๒๔

เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียน-หลังเรียน

ก่อนเรยี น หลงั เรยี น
1. ง 1. ง
2. ก 2. ง
3. ง 3. ก
4. ก 4. ง
5. ข 5. ง
6. ง 6. ข
7. ค 7. ก
8. ก 8. ก
9. ข 9. ค
10. ง 10. ข

เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับคะแนน
๑๐
แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑก์ ารให้คะแนน ๐

เลือกคำตอบถูกต้อง ไดข้ ้อละ ๑ คะแนน (๑๐ ขอ้ )
เลือกคำตอบไม่ถกู ต้องหรือไม่ตอบทุกข้อ

๒๕

เฉลย/แนวคำตอบ
แบบฝกึ ทักษะท่ี 1-6

๒๖

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1

คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นทำเครื่องหมายถูก (✓) หนา้ ข้อท่ีเห็นวา่ ถกู ตอ้ ง และทำเครื่องหมายกากบาท ()
หนา้ ขอ้ ความที่ไม่ถกู ต้อง (10 คะแนน)
....... ✓....... ๑. การพิจารณาความหมายในคำประพนั ธป์ ระเภทรอ้ ยแกว้ ขึน้ อยู่กับ
จดุ ประสงค์และเนื้อหาของเรอ่ื ง
........ ✓...... 2. โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย คอื รอ้ ยแกรอง
................. 3. การเพม่ิ สัมผสั คลอ้ งจองภายในวรรคเปน็ ฉนั ทลักษณบ์ งั คับของรอ้ ยกรอง
................ 4. การพจิ ารณาคณุ คา่ ด้านเนือ้ หามแี นวทางในการพจิ ารณาในเรอ่ื งรูปแบบและ
ภาษาท่ีใช้ในเร่ือง
.........✓...... 5. การอา่ นคำประพันธ์เปน็ จังหวะ ทำนองตามลักษณะคำประพนั ธ์จะชว่ ยรับรู้
อารมณ์ของกวซี ง่ึ เปน็ ส่วนหนงึ่ ในการพิจารณาคุณคา่ ด้านเนือ้ หา
.........✓....... 6. ฉากและบรรยากาศเป็นการพจิ ารณาคณุ คา่ ดา้ นเน้อื หาเกีย่ วกับ
องค์ประกอบของเรื่อง
.........✓...... 7. ในการพิจารณษคณุ ค่าดา้ นเน้อื หาควรจับประเดน็ สำคัญและสาระสำคญั
ของเร่อื ง
................ 8. การเปดิ เรอ่ื งการปดิ เรื่อง วางลำดบั เหตกุ ารณ์ ลกั ษณนิสยั ของตัวละคร
คอื การวางโครงเร่ือง
.........✓...... 9. ในการวิเคราะหค์ ุณคา่ ดา้ นเน้อื หาทเ่ี กย่ี วกับตวั ละครตอ้ งพจิ ารณา
ในเรือ่ งบุคลกิ ภาพ บทบาทในเรอ่ื ง
........✓...... 10. แมจ้ ะเป็นการพจิ ารณาคุณค่าดา้ นเนื้อหาแต่ก็ตอ้ งวเิ คราะห์กลวิธกี ารแต่ง

๒๗

เฉลยแบบฝึกทกั ษะท่ี 2

คำช้แี จง วเิ คราะห์วจิ ารณ์คุณคา่ ด้านเนื้อหาจากเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎีกา
ในประเดน็ ต่อไปน้ี โดยยกตัวอย่างบทประพันธ์ในเร่ืองประกอบ (10 คะแนน)

1. พิจารณาบทประพันธต์ ่อไปนี้แล้ววเิ คราะห์วจิ ารณ์คุณค่าดา้ นเน้ือหาที่เกย่ี วกับรูปแบบคำประพันธ์
(5 คะแนน)

จะกลา่ วถงึ เจ้าจอมหมอ่ มขนุ ช้าง นอนครางหลบั กรนอยู่ป่นเปื้อน

อัศจรรย์ฝันแปรแชเชอื น ว่าข้ีเรื้อนขน้ึ ตัวท่วั ท้ังน้ี

หาหมอมารักษายาเขา้ ปรอท มนั กนิ ปอดกนิ ไตออกไหลล่ัน

ทง้ั ไส้น้อยไส้ใหญ่แลไส้ตนั ฟงั ฟางกห็ ักจากปากตัว

ตอบ จากบทประพันธ์ข้างต้นมีรูปแบบคำประพันธ์ที่เรียกว่าร้อยกรอง เป็นลักษณะคำประพันธ์
ที่เรียกว่ากลอนสุภาพซึ่งเรื่องขุนช้างขุนแผนใช้ในการขับเสภา จำนวนคำในแต่ละวรรคมีจำนวน 7-9 คำ
ซึ่งบทประพันธ์นี้มีจำนวน 2 บท โดยบทที่ 1 มีสัมผัสนอกในคำว่า ช้าง-คราง, เปื้อน-เชือน-เรื้อน และบท
ที่ 2 มีสัมผัสนอกในคำว่า ปรอท-ปอด, ลั่น-ตัน ซึ่งในบาทสุดท้ายนี้หากเป็นลักษณะของการแต่งที่ถูกต้อง
ตามฉันทลักษณ์นั้น คำว่า ตัน ต้องไปสัมผัสกับคำในตำแหน่งที่ 3-5 ของวรรคสุดท้าย แต่บทนี้ไม่มีสัมผัส
นอก เนื่องจากเป็นลักษณะของกลอนที่ใช้ในการขับเสภาจึงไม่ได้เคร่งครัดในเรื่องฉันทลักษณ์มากนัก
ประกอบกบั ไม่ไดบ้ งั คับเสียงสงู ตำ่ ของคำทา้ ยวรรค

2. วิเคราะห์วจิ ารณค์ ณุ คา่ ด้านเน้อื หาจากเรื่องขุนช้างขนุ แผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎกี าในเร่ืองรปู แบบ
โดยยกตัวอยา่ งบทประพันธใ์ นเรื่องประกอบ (5 คะแนน)

ตอบ เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา เป็นรูปแบบคำประพันธ์ที่เรียกว่าร้อยกรองซึ่งใช้คำ

ประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ โดยใช้ในการขับเสภาจึงกำหนดคำไม่แน่นอน มุ่งการขับเสภาเป็นสำคัญ

จึงใช้คำ ๗ คำ ถึง ๙ คำ โดยกลอนหนึ่งบทมีสองบาท หนึ่งบาทมีสองวรรค การส่งสัมผัสนอกเหมือนกับ

กลอนสุภาพ แต่ไม่บังคับหรือห้ามเสียงสูง ต่ำ ของคำท้ายวรรคซึ่งจากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้าง

ถวายฎีกานี้จะมีรูปแบบการแต่งแบบนี้ตลอดเรื่อง และมักจะขึ้นต้นด้วยคำว่า “ครานั้น” และคำว่า

“จะกล่าวถึง” ดังเชน่

คราน้นั วันทองผ่องโสภา เห็นลกู ยากดั ฟันมนั ไส้

ถอื ดาบฟ้าฟื้นยนื แกวง่ ไกว ตกใจกลัวว่าจะฆ่าฟนั

จะเห็นได้ว่าบทข้างต้นมีการขึ้นต้นด้วยคำวา่ “ครานั้น” มีสัมผัสเหมือนกลอนสุภาพ แต่เนื่องจาก
เรื่องนี้ใช้ในการขับเสภาจึงไม่บังคับเสียงสูงต่ำท้ายวรรคเพื่อให้เกิดความไพเราะเหมือน กลอนสุภาพ
จงึ นบั วา่ เรอ่ื งน้เี ป็นวรรณคดที ีม่ กี ารใช้รปู แบบคำประพันธท์ ีเ่ หมาะสม

๒๘

เฉลยแบบฝึกทกั ษะที่ 3

คำช้แี จง พิจารณาประเดน็ การวิเคราะหว์ ิจารณ์คณุ คา่ ด้านเนือ้ หาที่เกย่ี วกบั องคป์ ระกอบ
ของเร่ืองในประเด็นตอ่ ไปน้ี (10 คะแนน)

1. วเิ คราะหว์ จิ ารณค์ ุณคา่ ดา้ นเน้ือหาในเร่ือง “สาระ” ของเรอื่ งขนุ ช้างขนุ แผน ตอนขุนชา้ งถวายฎีกา
(5 คะแนน)

ตอบ จากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา สาระที่ผู้แต่งได้ถ่ายทอดออกมานั้นคือ
มีเนื้อความตรงตามชื่อตอนที่กล่าวถึงขุนช้างถวายฎีกาอันเนื่องมาจากการที่ไม่พอใจที่จมื่นไวยไปลัก
นางวันทองมาจากตนแล้วจุดเริ่มต้นนี้เองจึงเป็นจุดจบของนางวันทองที่ถูกตัดสินปร ะหารชีวิตและเป็น
จุดคลี่คลายปัญหาของเรื่องทั้งหมด เนื่องจากเรื่องนี้กล่าวถึงปัญหาความรักของคนสามคน คือ ขุนช้าง
ขุนแผน และนางวันทอง โดยเปน็ ความรักทเ่ี ตม็ ไปด้วยปัญหา และความไมส่ มหวัง นางวันทองอยกู่ บั ขุนแผน
ถูกขุนช้างแย่งชิงให้ตกเป็นเมีย แล้วขุนแผนก็รับกลับมา ขุนช้างก็แย่งกลับมาอีก จนกระทั่งถึงตอนนี้
ที่พระไวยบุตรชายของขุนแผนกับนางวันทอง ประสงค์ที่จะรับแม่กลับมอยู่ด้วยกันเพื่อให้เป็นครอบครัว
ทส่ี มบูรณจ์ งึ เปน็ สาเหตุท่ีทำให้ขนุ ช้างไม่พอใจ จึงเขยี นฎีกาถวายพระพันวษาในครั้งน้ี จนทำให้พระพันวษา
ต้องให้นางวันทองเลือกว่าจะอยู่กับใคร แต่นางวันทองพูดเป็นกลาง ทำให้พระพันวษากริ้วมากจึงสั่งตัดสนิ
ประหารชวี ิตนางวนั ทองเพราะปญั หาเกิดจากนาง เมอื่ ไม่มีนางปญั หาทุกอยา่ งกจ็ ะจบลง

2. วิเคราะห์วจิ ารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาเกย่ี วกบั “โครงเร่อื ง” ของเรอ่ื งขนุ ช้างขุนแผน
ตอน ขุนช้างถวายฎกี า (5 คะแนน)

ตอบ เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา มีการดำเนินเรื่องตามลำดับปฏิทิน เปิดเรื่องโดย
บรรยายถึงตัวละครคือพลายงามที่มีความสุขแล้วแต่ขาดแม่เพราะแม่ไปอยู่กับขุนช้างที่ไม่คู่ควรกันเลย
สักนิด จึงบุกขึ้นเรือนขุนช้างในตอนกลางคืนเพื่อรับนางวันทองมา จนทำให้ขุนช้างโกรธจึงถวายฎีกาต่อ
พระพันวษา จากนั้นพระพันวษาจึงเรียกทุกคนมาเพื่อไต่สวนในคดคี วามแล้วให้นางวันทองตัดสินใจว่าจะ
เลือกใครกล่าวคือนางวันทองเป็นผู้หญิงที่ต้องเลือกว่าไปอยู่กับผู้ชายคนใดคนหนึ่งซึ่งคนหน่ึงตนก็รักมาก
อีกคนหนึ่งก็ดีต่อตนมาก จนกระทั่งนำไปสู่การจบเรื่องแบบโศกนาฏกรรมคือไม่เป็นไปตามที่หวัง สุดท้าย
นางวันทองจึงถกู สัง่ ประหารชีวิต

๒๙

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 4

คำช้แี จง พิจารณาคำประพนั ธ์ตอ่ ไปน้ีแลว้ วเิ คราะหว์ ิจารณค์ ุณคา่ ดา้ นเนื้อหาในเร่ือง “ฉากและ
บรรยากาศ” ของเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎีกา (จำนวน 5 ข้อ ขอ้ ละ 2 คะแนน)

1. ข้าไทนอนหลับลงทบั กัน สะเดาะห์กลอนถอนล่นั ถึงชนั้ สาม
กระจกฉากหลากสลบั วับแวมวาม อรา่ มแสงโคมแกว้ แววจับตา
ม่านมูลมี่ ฉี ากประจำก้ัน อฒั จันทรเ์ คร่ืองแกว้ กห็ นักหนา
ชมพลางย่างเยื้องชำเลืองมา เปิดมงุ้ เหน็ หน้าแม่วันทอง

ตอบ จากบทประพันธ์ขา้ งต้นกวีไดบ้ รรยายฉากท่ีเรือนของขนุ ช้างว่ามลี ักษณะอยา่ งไร ซ่งึ ฉากและ
บรรยากาศมีความเหมาะสมของการเป็นเรือนเศรษฐี กล่าวคือมีข้าไทไว้ใช้สอยดูแลซึ่งขณะนี้ได้โดนมนตร์
สะกดให้หลับ ลักษณะของเรือนมีกลอนประตู กว้างใหญ่ มีการประดับประดาด้วยม่านมูลี่ ชั้นวาง
เครื่องแก้วของประดับตกแต่งเรือนอันแสดงถึงความมีฐานะซึ่งสอดคล้องเหมาะสมของการเป็นเรือนของ
เศรษฐีอย่างขุนช้าง เมื่อผู้อ่านได้อ่านบทนี้แล้วทำให้รู้สึกเห็นภาพจากการบรรยายเรือนของขุนช้าง
อย่างชัดเจน

2. ฟา้ ขาวดาวเด่นดวงสวา่ ง จนั ทรก์ ระจา่ งทรงกลดหมดเมฆสิน้
จึงเซน่ เหลา้ ขา้ วปลาให้พรายกิน เสกขม้นิ ว่านยาเข้าทาตวั

ตอบ จากเร่อื งขุนช้างขุนแผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎีกา มีการบรรยายฉากและบรรยากาศทใี่ ช้
ถ้อยคำงา่ ยๆ แต่มีบรรยายได้ละเอียดและทำใหเ้ หน็ ภาพของเรอื่ งโดยในตอนกลางคืนทม่ี ีแสงของดวงดาว
พระจันทร์ทรงกลดและเซ่นเหลา้ ขา้ วปลาอาหารให้พรายกิน จากนนั้ จึงเสกขมิ้นทาตวั ซึง่ จากฉาก
บรรยากาศน้เี องทำให้เหน็ ถึงวิถีชีวิตของคนไทยในสมยั นน้ั ที่เต็มไปด้วยความเชอื่ ทางไสยศาสตร์

3. ขา้ ไทได้ฟงั ขนุ ช้างใช้ ต่างเทย่ี วคน้ ดน้ ไปจะเอาหน้า
ทั้งหอ้ งนอกหอ้ งในไม่พบพา ท่ัวเคหาแล้วไปค้นจนแผ่นดนิ
เห็นประตูร้ัวบ้านบานเปดิ กว้าง ผคู้ นนอนสลา้ งไม่ตนื่ สิน้
เสาแรกแตกตน้ เปน็ มลทนิ กินใจกลบั มาหาขนุ ช้าง

ตอบ จากเรือ่ งขนุ ช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎกี า ในบทน้ีทำใหเ้ หน็ ภาพและบรรยากาศ กวีใช้
คำง่ายๆ เล่าเรอ่ื งไปเหน็ ถงึ ความโกลาหลที่เรอื นของขนุ ชา้ งโดยเหล่าบา่ วไพร่พยายามตามหานางวันทองว่า
อยู่ทไ่ี หน ค้นหาทั่วบา้ นก็ไม่เจอ ประตูตา่ ง ๆ ถกู เปิดออก บ่าวไพรก่ ็ยังนอนหลับอยู่ และพบว่าเสาเอกของ
บ้านเป็นรอยแตก

๓๐

4. พอเรือพระที่น่ังประทับท่ี ขนุ ช้างกร็ ลี่ งตนี ทา่
ลอยคอชูหนังสือดอ้ื เขา้ มา ผุดโผลโ่ งหน้ายึดแคมเรอื
เข้าตรงบโทนอ้นตน้ กญั ญา เพอื่ นโขกลงกะลาว่าผเี ส้อื
มหาดเล็กอยู่งานพัดพลดั ตกเรือ รอ้ งวา่ เสอื ตัวใหญ่ว่ายน้ำมา

ตอบ จากเรอ่ื งขนุ ช้างขุนแผน ตอนขุนชา้ งถวายฎีกา ในบทนท้ี ำให้เห็นภาพและบรรยากาศ กวใี ช้
คำบรรยายเร่ืองได้เหน็ ภาพตอนที่เรือพระท่นี ่ังของพระพนั วษากำลงั มาแล้วขุนชา้ งกล็ งไปในนำ้ แลว้ ในคำวา่
“ลอยคอชูหนังสือ” ก็ทำให้เห็นภาพทชี่ ดั เจนยิ่งข้นึ จากน้นั จงึ ไปจับเรอื ทำให้เหล่าทหารทีน่ ่ังมาในเรือน้นั
ตา่ งตกใจตีหัวขนุ ชา้ งดว้ ยกะลาซึง่ ตรงนี้ทำให้ทราบวา่ ในเรือนั้นจะมกี ะลาอยดู่ ว้ ยเพ่ือใชต้ ักน้ำทกี่ ระเซ็น
เข้ามาในเรือ นอกจากน้ียังเห็นภาพของทหารท่ีตกใจจนพลดั ตกเรอื

5. พระสูตรรดู กรา่ งกระจ่างองค์ ขุนนางกราบลงเป็นขนดั

ทัง้ หน้าหลังเบียดเสยี ดเยยี ดยัด หมอบอดั ถดั กนั เป็นหล่ันไป

ตอบ จากเรือ่ งขนุ ชา้ งขุนแผน ตอนขุนชา้ งถวายฎกี า ในบทนี้ทำใหเ้ หน็ ภาพและบรรยากาศของ
การเขา้ เฝ้าพระพันวษาโดยจะมีม่านเปดิ ออก กวใี ช้คำวา่ “กระจา่ งองค”์ ซ่ึงหมายถึงเห็นพระองค์ หลงั จาก
ท่ีมา่ นถูกเปดิ ออก นอกจากนี้ในวรรคท่สี องก็เห็นภาพของเหล่าขุนนางหมอบกราบพระพนั วษากนั อย่าง
หนาแนน่ ในคำว่า “เบยี ดเสยี ดเยยี ดยดั ” และเปน็ แถวลดหล่นั กนั ไป

คำตอบอยใู่ นดุลยพินิจของครผู ู้สอน

๓๑

แบบฝกึ ทกั ษะที่ 5

คำชแี้ จง นกั เรียนวิจารณ์ตัวละครต่อไปน้ี (จำนวน 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน)

สมเด็จพระพนั วษา

ตอบ สมเด็จพระพันวษาทรงมีบทบาทในเรื่องขุนช้างขุนแผนอยู่ตลอดทั้งเรื่อง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์
ท่ียงิ่ ใหญ่ พระองคจ์ ึงทรงมีพระราชอำนาจมาก แตท่ ว่าพระองค์นั้นมีนิสยั วูว่ าม เจา้ อารมณ์ ชอบสงั่
ประหารชีวิตผู้ที่ทำให้ขัดเคืองพระทัยซึ่งพ่อของขุนแผนก็เช่นเดียวกัน ฝ่ายนางวันทองก็คงจะรู้
พระราชอัธยาศัยสมเด็จพระพันวษาดี ดังนั้นเมื่อนางต้องเข้าเฝ้าสมเด็จพระพันวษา นางจึงมีอาการ
ตกประหม่าทำอะไรไม่ถูก และไม่รู้ว่าจะตัดสินใจเลือกอยู่กับใครเลยพูดเป็นกลางแล้วแต่พระองค์จะว่า
อย่างไร ซ่ึงในตอนทศี่ ึกษาคือขนุ ชา้ งขุนแผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎกี านี้จะเหน็ ลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละครที่โกรธ
โมโห ใช้ถ้อยคำรุนแรงในการว่ากล่าวตัวละครอื่น ๆ โดยเฉพาะในตอนท้ายเรื่องที่สั่งทุกคนมาไต่ความคดี
แตก่ ็ใช่ว่าตวั ละครตัวน้ีจะใชแ้ ต่อารมณ์อยู่เหนือเหตุผลเสียทงั้ หมด พระองค์ก็ยงั เปิดโอกาสให้นางวันทองได้
เลอื กตอ่ ว่าหากแมน้ ไม่เลือกขุนแผน ขนุ ช้าง กอ็ าจเลือกอยู่กับลกู ชายได้

ขุนช้าง

ตอบ ขุนชา้ งเป็นตวั ละครมมี บี ุคลกิ ลกั ษณะคอื อ้วน หัวลา้ น หนา้ ตาขี้เหร่ แต่ร่ำรวยเงินทองจงึ มกั ถูกดแู คลน
จากขุนแผนและพลายงาม เป็นผู้หลงมัวเมากับความรัก แม้ว่าขุนช้างจะรักนางวันทองมากมายสักเพียงใด
แต่ด้วยความหลงมัวมาในความรัก จึงกลับทำให้นางวันทองต้องเดือดร้อนจนถึงแก่ชีวิตในท่ีสุด ขุนช้างเป็น
คนเห็นแก่ตัว เอาแต่ได้ไม่คำนึงถึงความถูกต้อง ทั้ง ๆ ที่ขุนช้างก็รู้ว่านางวันทองมีสามีแล้วก็ยังไปฉุดเอามา
อยู่ด้วย ครั้นนางวันทองถูกชิงตัวไป ขุนช้างก็โกรธแค้นนางวนั ทองมาก คิดว่านางหนีตามชู้ไป แทนที่จะคิด
เปน็ ห่วงขนุ ชา้ งก็ไม่คดิ กลับดา่ ประณามนางวนั ทองดว้ ยถอ้ ยคำท่ีรนุ แรง

ขนุ แผน

ตอบ บทบาทของขนุ แผนในตอน ขุนชา้ งถวายฎกี าน้ีมไี มม่ ากนัก แต่จากการศกึ ษาตวั บทวรรณคดี ทำให้เรา
เห็นถึงลักษณะนิสัยของขุนแผนอย่างหนึ่งที่ไม่เคยเปลี่ยน นั่นคือความเจ้าชู้ ในตอนนี้ขุนแผนมีภรรยาอีก
สองคนอยู่ข้างกาย คือ นางแก้วกริ ิยา และนางลาวทอง แต่ทว่าขนุ แผนกย็ ังไมท่ ง้ิ นสิ ัยเจ้าชู้ เมอ่ื ทราบวา่ จมนื่
ไวยไปรับนางวันทองกลับมา เมื่อได้โอกาสก็รีบไปหานางวันทองเพื่อที่จะไปขอ “สู่สวาทน้อง" และคิด
เข้าข้างตัวเองว่านางวันทอ ก็คงจะชะเง้อคอยหาอยูต่ นเองอยู่เหมือนกัน แต่แม้ว่าจะเป็นลักษณะของความ
เจา้ ชู้กย็ งั สมผั สั ได้วา่ ขุนแผนห่วงใยนางวนั ทอง ตอนที่นางวนั ทองฝัน แล้วขุนแผนกท็ ราบวา่ เป็นฝันร้าย เมื่อ
พระพันวษาใหท้ หารมาตามตัวทกุ คนไปเข้าเฝ้าพระพันวษาขุนแผนก็ช่วยนางวนั ทองดว้ ยเวทมนตร์คาถาหวัง
จะใหเ้ หตกุ ารณค์ ร้ังน้ไี มร่ นุ แรง

๓๒

จม่ืนไวย
ตอบ จมืน่ ไวยหรือพลายงาม นบั เปน็ ตัวละครทส่ี ำคัญของตอนน้เี พราะเปน็ ตัวการทท่ี ำให้เกิดเร่อื งว่นุ วาย
ทงั้ หมดเนื่องจากไปบุกเรอื นขุนช้างเพอ่ื นำนางวนั ทองกลบั มาอยดู่ ว้ ยกันครอบครวั จะได้พรอ้ มหนา้ พรอ้ มตา
ซง่ึ ตรงนี้เองจะเหน็ วา่ พฤติกรรมของจมื่นไวยเปน็ คนใชอ้ ารมณ์เป็นใหญ่ ไม่รับฟังเหตุผล กระทำทุกอย่าง
เพอื่ ใหไ้ ดใ้ นส่งิ ทตี่ นเองต้องการ แมก้ ระทั่งตอนที่นางวนั ทองเตือนสตวิ า่ หากบุกเรือนขนุ ชา้ งมากลางคืนแลว้
รบั แม่ไปซ่ึงการกระทำแบบน้ีจะทำให้ขนุ ชา้ งโกรธแลว้ จะเป็นเรอื่ งราว จมืน่ ไวยก็ไม่ฟังยงั ยืนยนั ท่ีจะเอาแม่
กลับไปให้ไดก้ ระทงั่ ขแู่ ม่ว่าหากไม่ไปก็จะตัดศีรษะซึ่งจากการศึกษาเรื่องราวจมืน่ ไวยเป็นตัวการที่ทำให้เหน็
เหตุวุ่นวายจนกระท่ังทำใหน้ างวันทองถูกประการชวี ติ ในที่สุด

นางวันทอง
ตอบ นางวันทองเป็นตัวละครที่อาภัพต้องถูกตราหน้าว่าเป็นหญิงสองใจอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อศึกษา
เรื่องราวขุนช้างขุนแผนแล้วจะทราบว่านางไม่ได้เป็นแบบนั้นเลย ทุก ๆ เหตุการณ์นางไม่ได้เป็นคนเลือก
ประกอบกับ ในสภาพเช่นนี้เพราะบริบททางสังคมในสมัยนั้นกำหนดให้เป็นเกิดเป็นหญิงจึงถูกกรอบของ
ขนบธรรมเนียมประเพณีครอบงำไม่สามารถทำอะไรด้วยตนเองได้ ชีวิตของนางจึงเหลวแหลก แต่นาง
ยอมรับในชะตาชีวิต จนอายุมากขึ้น นางผ่านชีวิตมามาก จึงทำให้นางวันทองมีความสุขุม รู้จักยับยั้งชั่งใจ
จะทำอะไรกค็ ดิ กอ่ นเสมอ ดงั จะเห็นไดจ้ ากตอนท่ีขนุ แผนเชา้ มาหาถึงท้อง เมื่อเวลาทีน่ างมาอยกู่ บั พลายงาม
ที่บ้านแล้ว เหตุท่ีขุนแผนมาหาเพราะต้องการสัมพันธ์กับนางแบบสามีภรรยา แต่นางวันทองไม่ยอมเพราะ
เห็นวา่ ไม่สมควร และเตือนให้ชุนแผนกราบทลู สมเด็จพระพนั วษาใหท้ ราบเร่ืองน้กี ่อน และในตอนท้ายที่นาง
ไม่ได้ตัดสนิ ว่าจะอยู่กบั ใครกลับพูดเปน็ กลาง ทั้งนี้ก็เนื่องจาก “ชีวิตอยู่ใต้พระบาทา” แต่คำพูดนี้กลับทำให้
นางถูกสง่ั ประหารชีวติ

คำตอบอยู่ในดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน

๓๓

เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะที่ 6

คำช้ีแจง นกั เรียนวจิ ารณ์ตัวละครจากบทประพนั ธ์ตอ่ ไปน้ี (5 ข้อ ขอ้ ละ 2 คะแนน)

1. ขุนช้างตื่นขนึ้ มิเป็นการ เขาจะพาลรุกรานทำข่มเหง
จะเกดิ ผิดแมค่ ิดคะนึงเกรง ฉวยสบเพลงพลาดพล้ำมเิ ป็นการ

ตอบ คำประพันธบ์ ทนีก้ ลา่ วถึงนางวันทองซงึ่ เปน็ ตวั ละครสำคญั ของเรอื่ ง ท่กี ลา่ วเตือนสติ
จมื่นไวยวา่ หากขนุ ช้างต่ืนเขาจะโกรธและทำให้เกิดความเดือนร้อนซึ่งเม่ือพิจารณาแล้วจะเห็นลักษณะนิสยั
ของนางวันทองว่าเป็นคนที่มีเหตุผล เตือนสติลูกให้มีความรอบคอบไม่ควรทำในสิ่งนี้เนื่องจากจะทำให้เกิด
ความเดือดรอ้ น

2. เสยี แรงเปน็ ลกู ผชู้ ายไม่อายเพื่อน จะพาแม่ไปเรอื นใหจ้ งได้

แม้นมิไปใหง้ ามกต็ ามใจ จะบาปกรรมอย่างไรก็ตามที

จะตัดเอาศีรษะของแม่ไป ท้งิ แต่ตัวไว้อย่นู ่ี

แมอ่ ย่าเจรจาใหช้ ้าที จวนแจ้งแสงศรีจะรีบไป

ตอบ บทนกี้ ล่าวถึงจมืน่ ไวยในตอนที่เจรจากับนางวันทอวา่ จะรบั ไปอยูด่ ้วยกัน จะเห็นได้ว่า

จมื่นไวยเป็นคนใจร้อน อยากได้อะไรก็จะต้องได้ตามท่หี วัง ซ่ึงบทนี้ถ่ายทอดลักษณะนิสัยของจม่นื ไวยในมุม

ท่ีเม่ือมารบั แม่แลว้ ต้องกลบั ไปด้วยกนั จะเกิดอะไรขึ้นกจ็ ะตอ้ งรบั กลับไปให้ไดแ้ มจ้ ะตดั หวั กลับไปกต็ ามซ่ึง

แสดงถึงลักษณะนิสัยในทางลบของตวั ละคร

3. ครานนั้ ขุนชา้ งฟังบ่าวบอก เหงื่อออกโซมลา้ นกระบาลใส
คดิ คดิ ใหแ้ คน้ แสนเจบ็ ใจ ชา่ งทำไดต้ ่างต่างทุกอย่างจรงิ
สองหนสามหนก่นแตห่ นี พล้งั ทลี งรอดนางยอดหญิง
ครานน้ั ขนุ แผนมันแงน้ ชิง น่คี ราวน้วี ่งิ หนีไปกบั ใคร

ตอบ บทนกี้ ลา่ วถงึ ตวั ละครที่ช่ือขุนชา้ งเปน็ ตอนท่ขี ุนช้างทราบว่านางวนั ทองหายไปจึงให้บา่ วไพร่
ตามหาปรากฏวา่ บ่าวไพร่ไม่เจอจึงเกิดความโกรธและวา่ นางวนั ทองว่าหนีไปอกี แลว้ ซง่ึ ก่อนนห้ี นีไปกับ
ขุนแผนแล้วครั้งนห้ี นไี ปกับใครอีกซง่ึ หากพจิ ารณาแล้วก็ยังไม่ร้วู า่ เกดิ อะไรกบั นางวันทองแต่ขนุ ช้างก็มีอคติ
อยแู่ ลว้ จงึ มองและโทษวา่ นางวันทองนัน้ หนไี ป

๓๔

4. จงึ แกลง้ เพทบุ ายทำนายไป ฝนั อยา่ งนี้มิใชจ่ ะเกดิ เขญ็
เพราะวติ กหมกไหมจ้ ึงไดเ้ ป็น เนือ้ เยน็ อยู่กับผวั อยา่ กลัวทกุ ข์

ตอบ บทนี้เปน็ ฉากท่ีกล่าวถึงขนุ แผนในตอนทีน่ างวันทองเลา่ ความฝันให้ฟงั ซ่ึงนับเปน็ ฝันรา้ ย
ขุนแผนจงึ ปลอบวา่ นางวันทองวติ กกงั วลมากไปจึงเกบ็ ไปฝัน ไมต่ ้องกงั วล ทัง้ นี้จากเน้อื ความทำให้เหน็ มมุ
ของขุนแผนทคี่ นโดยทว่ั ไปจะตดิ ภาพวา่ เป้นชายหนมุ่ รูปงามแลเจ้าชู้ ทีเ่ ปน็ หว่ ง และรกั นางวันทองและ
แกล้งปลอบโยน ใชค้ ำพดู เจรจาใหน้ างได้ผ่อนคลายความกังวลตอ่ ความฝนั

5. ครานน้ั พระองค์ทรงธรณนิ ทร์ หาไดย้ นิ วันทองทลู ขึน้ ไม่
พระตรัสความถามซักไปทันใด ฤามงึ ไม่รักใครจงว่ามา
จะรักชชู้ งั ผวั มงึ กลวั อาย จะอยู่ดว้ ยลูกชายก็ไม่วา่
ตามใจกูจะให้ดังวาจา แตน่ ้ีเบอื้ หนา้ ขาดเดด็ ไป

ตอบ บทนก้ี ล่าวถึงพระพนั วษาในฉากท่ีใหน้ างวนั ทองเลือกวา่ จะอยู่กบั ใคร ระหวา่ งขุนแผน
ขนุ ชา้ ง หรอื หากไมเ่ ลือกใครก็ให้อยกู่ บั ลูก ซ่งึ หากพิจารณาโดยทวั่ ไปจะเห็นว่าตวั ละครตวั น้ีเปน็ ผู้ท่มี อี ำนาจ
สงุ สดุ ซึ่งจากบทน้ีเองจะเหน็ ถงึ ความมีเหตผุ ลของพระพันวษาท่ยี งั มเี มตตาในการใหน้ างตัดสนิ ใจเลอื กโดย
การย่นื ข้อเสนอใหน้ างอีกคร้งั โดยเปน็ การเปิดโอกาสใหน้ างเลือกนั่นเอง

คำตอบอยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน

๓๕

เกณฑ์การใหค้ ะแนน แบบฝกึ ทักษะที่ ๑-6

แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑ (10 คะแนน) ระดบั คะแนน
1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ทำเครือ่ งหมาย ถูก (✓) หรอื กากบาท () ถกู ต้อง 0 คะแนน
ได้ข้อละ ๑ คะแนน (10 ข้อ)
ทำเครื่องหมาย ถูก (✓) หรือกากบาท () ไม่ถูกต้องหรือไม่ทำเคร่ืองหมาย
ได้ข้อละ 0 คะแนน

แบบฝกึ ทกั ษะที่ 2

ข้อ 1 วิเคราะห์วิจารณ์คณุ คา่ ด้านเนื้อหาทเ่ี กย่ี วกบั รูปแบบคำประพนั ธ์ (5 คะแนน)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับคะแนน
วเิ คราะห์วิจารณ์คุณคา่ ดา้ นเนื้อหาทเี่ กี่ยวกับรูปแบบคำประพันธ์ ได้ถูกตอ้ ง 5 คะแนน
ครบถว้ น สมบรู ณ์ เนอ้ื หามคี วามสอดคล้องสัมพันธก์ นั
4 คะแนน
วิเคราะหว์ ิจารณ์คุณค่าดา้ นเนื้อหาที่เกยี่ วกับรูปแบบคำประพันธ์ ไดถ้ ูกต้อง
ครบถว้ น แตย่ งั ไม่สมบูรณ์ เนื้อหามีความสอดคล้องสัมพันธ์กันเลก็ นอ้ ย 3 คะแนน
วเิ คราะห์วิจารณค์ ุณค่าด้านเน้ือหาทเ่ี กย่ี วกบั รปู แบบคำประพันธ์ ถกู ต้องบา้ ง
แตย่ ังไมส่ มบรู ณ์ เนื้อหา มคี วามสอดคล้องสมั พนั ธ์กนั เลก็ น้อย 2 คะแนน

วเิ คราะห์วิจารณ์คุณคา่ ด้านเนื้อหาท่เี กย่ี วกับรปู แบบคำประพันธ์ ได้ถูกต้อง 1 คะแนน
เปน็ ส่วนนอ้ ย เนอ้ื หาสมั พนั ธ์กันบา้ ง
วิเคราะหว์ ิจารณ์คุณค่าดา้ นเน้ือหาทเี่ กี่ยวกบั รูปแบบคำประพนั ธ์ ถูกต้อง
เป็นส่วนนอ้ ย

๓๖

แบบฝึกทกั ษะที่ 2 (ต่อ)

ข้อ 2 วิเคราะหว์ ิจารณ์คุณค่าด้านเนอื้ หาจากเร่ืองขุนช้างขนุ แผน ตอนขุนชา้ งถวายฎีกา
ในเรื่องรปู แบบโดยยกตวั อยา่ งบทประพนั ธ์ในเรื่องประกอบ (5 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
วเิ คราะห์วิจารณค์ ุณคา่ ด้านเน้ือหาจากเร่ืองขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้าง 5 คะแนน
ถวายฎกี าในเรอ่ื งรูปแบบ โดยมีการยกตวั อย่างบทประพันธ์ได้ถูกต้อง ครบถ้วน
สมบูรณ์ เนื้อหามีความสอดคล้องสัมพันธ์กนั 4 คะแนน

วิเคราะห์วจิ ารณค์ ุณค่าด้านเน้ือหาจากเร่ืองขุนชา้ งขุนแผน ตอนขุนชา้ ง 3 คะแนน
ถวายฎกี าในเรือ่ งรปู แบบ โดยมีการยกตวั อย่างบทประพันธ์ได้ถูกตอ้ ง ครบถ้วน
แต่ยงั ไมส่ มบรู ณ์ เน้ือหา มคี วามสอดคล้องสมั พันธ์กันเล็กน้อย 2 คะแนน

วิเคราะห์วิจารณค์ ุณค่าด้านเนื้อหาจากเร่ืองขุนช้างขุนแผน ตอนขุนชา้ งถวาย 1 คะแนน
ฎีกาในเรอ่ื งรูปแบบ โดยมีการยกตวั อยา่ งบทประพนั ธ์ถูกต้องบ้าง แต่ยังไม่
สมบูรณ์ เน้ือหา มีความสอดคล้องสมั พันธก์ ันเล็กน้อย

วเิ คราะห์วจิ ารณ์คุณคา่ ด้านเน้ือหาจากเร่ืองขนุ ช้างขุนแผน ตอนขนุ ช้างถวาย
ฎกี าในเรื่องรูปแบบ โดยมกี ารยกตวั อย่างประพนั ธ์ ได้ถกู ตอ้ ง เป็นสว่ นน้อย
เน้อื หาสัมพนั ธ์กันบา้ ง

วิเคราะหว์ จิ ารณ์คุณคา่ ด้านเน้ือหาจากเร่ืองขุนช้างขนุ แผน ตอนขุนช้างถวาย
ฎกี าในเรือ่ งรปู แบบโดยมีการยกตวั อย่างบทประพนั ธ์ถูกตอ้ งเป็นส่วนน้อย

๓๗

แบบฝึกทักษะท่ี 3

1. วเิ คราะห์วจิ ารณค์ ุณคา่ ดา้ นเนื้อหาในเรื่อง “สาระ” ของเรอื่ งขุนช้างขนุ แผน ตอนขุนชา้ งถวายฎีกา
(5 คะแนน)

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดับคะแนน
วิเคราะหว์ จิ ารณ์คุณคา่ ดา้ นเนื้อหาในเรื่อง “สาระ” ของเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผน 5 คะแนน
ตอนขนุ ช้างถวายฎกี า ได้ถกู ต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ เน้ือหามคี วามสอดคลอ้ ง
สมั พนั ธก์ นั 4 คะแนน

วเิ คราะห์วจิ ารณค์ ุณค่าดา้ นเนื้อหาในเรื่อง “สาระ” ของเรือ่ งขนุ ชา้ งขุนแผน 3 คะแนน
ตอนขุนช้างถวายฎีกา ได้ถูกต้อง ครบถ้วน แต่ยังไม่สมบรู ณ์ เนอ้ื หา มคี วาม
สอดคล้องสมั พันธก์ นั เล็กน้อย 2 คะแนน
1 คะแนน
วเิ คราะหว์ จิ ารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาในเรื่อง “สาระ” ของเรอ่ื งขนุ ชา้ งขุนแผน
ตอนขนุ ชา้ งถวายฎีกา ถกู ต้องบ้าง แต่ยังไมส่ มบูรณ์ เนื้อหา มคี วามสอดคล้อง
สัมพันธ์กนั เล็กน้อย

วเิ คราะหว์ จิ ารณค์ ุณค่าดา้ นเนื้อหาในเรื่อง “สาระ” ของเรอ่ื งขุนชา้ งขุนแผน
ตอนขุนช้างถวายฎกี า ได้ถกู ต้อง เป็นส่วนนอ้ ย เนอื้ หาสมั พันธ์กนั บ้าง

วิเคราะห์วจิ ารณ์คุณค่าดา้ นเนื้อหาในเร่ือง “สาระ” ของเร่อื งขนุ ช้างขนุ แผน
ตอนขนุ ช้างถวายฎีกา ถูกต้องเปน็ สว่ นนอ้ ย

๓๘

แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 3 (ต่อ)

ข้อ 2 วิเคราะห์วิจารณ์คณุ คา่ ดา้ นเน้อื หาเกีย่ วกบั “โครงเรื่อง” ของเร่ืองขนุ ชา้ งขุนแผน
ตอน ขนุ ชา้ งถวายฎีกา (5 คะแนน)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดบั คะแนน
วเิ คราะห์วิจารณค์ ุณค่าดา้ นเนื้อหาเกยี่ วกบั “โครงเรื่อง” ของเรือ่ งขนุ ชา้ ง 5 คะแนน
ขนุ แผน ตอน ขนุ ช้างถวายฎีกา ได้ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน สมบูรณ์ เน้ือหา
มีความสอดคลอ้ งสัมพนั ธก์ นั 4 คะแนน

วิเคราะหว์ ิจารณค์ ุณค่าด้านเนื้อหาเกี่ยวกบั “โครงเรื่อง” ของเรือ่ งขนุ ช้าง 3 คะแนน
ขุนแผน ตอน ขนุ ช้างถวายฎีกา ได้ถกู ต้อง ครบถว้ น แต่ยงั ไม่สมบูรณ์ เนอ้ื หา
มคี วามสอดคล้องสัมพนั ธ์กันเล็กน้อย 2 คะแนน

วิเคราะห์วจิ ารณ์คุณคา่ ดา้ นเน้ือหาเกี่ยวกบั “โครงเรอ่ื ง” ของเรื่องขุนช้าง 1 คะแนน
ขนุ แผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ถกู ต้องบา้ ง แต่ยังไมส่ มบูรณ์ เนื้อหา
มีความสอดคลอ้ งสัมพันธ์กันเลก็ นอ้ ย

วิเคราะหว์ จิ ารณ์คุณคา่ ด้านเนื้อหาเก่ียวกับ “โครงเรื่อง” ของเรอ่ื งขนุ ช้าง
ขนุ แผน ตอน ขุนชา้ งถวายฎีกา ได้ถกู ต้อง เป็นสว่ นนอ้ ย เน้ือหาสมั พันธ์
กันบา้ ง

วเิ คราะห์วจิ ารณค์ ุณค่าดา้ นเนื้อหาเกีย่ วกับ “โครงเรื่อง” ของเรื่องขนุ ชา้ ง
ขนุ แผน ตอน ขนุ ชา้ งถวายฎีกา ถกู ต้องเปน็ ส่วนนอ้ ย

๓๙

แบบฝกึ ทกั ษะที่ 4 (จำนวน 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดบั คะแนน
วเิ คราะห์วจิ ารณค์ ุณค่าดา้ นเน้ือหาในเร่ือง “ฉากและบรรยากาศ” 2 คะแนน
ของเร่ืองขนุ ชา้ งขุนแผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎกี าได้ถูกต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์
เน้ือหามคี วามสอดคล้องสมั พันธ์กนั 1 คะแนน

วเิ คราะหว์ ิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาในเรื่อง “ฉากและบรรยากาศ” ของเร่ืองขนุ 0 คะแนน
ชา้ งขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎกี าได้ถูกต้อง ครบถว้ น แตย่ ังไมส่ มบรู ณ์ เนื้อหา
มคี วามสอดคลอ้ งสัมพันธ์กนั เลก็ นอ้ ย

วเิ คราะห์วิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาในเรื่อง “ฉากและบรรยากาศ” ของเร่ืองขุน
ช้างขนุ แผน ตอนขนุ ช้างถวายฎกี าไม่ได้เลย

แบบฝกึ ทกั ษะที่ 5 (จำนวน 5 ขอ้ ข้อละ 2 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
วเิ คราะห์วิจารณ์ตวั ละครได้ถูกตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์ เน้ือหามคี วามสอดคลอ้ ง 2 คะแนน
สมั พนั ธ์กัน
1 คะแนน
วเิ คราะห์วจิ ารณ์ตัวละครไดถ้ ูกต้อง ครบถว้ น แต่ยังไมส่ มบูรณ์ เนื้อหา
มีความสอดคล้องสัมพันธ์กันเล็กนอ้ ย 0 คะแนน

วเิ คราะห์วจิ ารณ์ตัวละครไม่ไดเ้ ลย

แบบฝึกทักษะที่ 6 (จำนวน 5 ขอ้ ข้อละ 2 คะแนน)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับคะแนน
วิเคราะหว์ จิ ารณ์ตัวละครจากบทประพันธ์ไดถ้ ูกต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์ เนื้อหา 2 คะแนน
มีความสอดคล้องสัมพนั ธ์กัน
1 คะแนน
วิเคราะหว์ จิ ารณ์ตัวละครจากบทประพันธ์ได้ถูกต้อง ครบถ้วน แตย่ งั ไมส่ มบรู ณ์
เน้อื หา มีความสอดคล้องสัมพันธ์กันเล็กนอ้ ย 0 คะแนน

วิเคราะห์วจิ ารณ์ตวั ละครจากบทประพันธ์ไม่ไดเ้ ลย

๔๐

เกณฑก์ ารผา่ น

- แบบฝกึ ทกั ษะเกณฑก์ ารผา่ น คิดเป็นคะแนนรวม 8๐ คะแนน นักเรยี นทำคะแนน
ได้ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ได้คะแนนตั้งแต่ 48 คะแนนขนึ้ ไป ถือวา่ ผ่าน

- คำอธบิ ายระดับคุณภาพ
51 - 60 คะแนน หมายถงึ ดีเย่ยี ม
41 - 50 คะแนน หมายถึง ดีมาก
31 - 40 คะแนน หมายถึง ดี
16 - 30 คะแนน หมายถึง พอใช้
๐ - 15 คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง


Click to View FlipBook Version