The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siripa_26, 2022-11-29 17:12:26

ลักษณะภาษาไทย

ลักษณะภาษาไทย

หนวยที่ 2 ลกั ษณะของภาษาไทย

ลกั ษณะสําคญั ของภาษาไทย

ในวงการธุรกจิ การสื่อสารดว ยการเขยี นเปน สิง่ หนง่ึ ท่สี าํ คญั ยงิ่ นกั ธุรกจิ ตอ งเลอื กใชว ธิ ีการ
เขยี นทเ่ี หมาะสมกบั งานเขยี นแตละประเภท การเรยี นรถู งึ วิธกี ารใชภ าษาไทยในการเขียนไดอยา ง
เหมาะสมจะชว ยใหป ระสบความสาํ เร็จในงานอาชพี ไดเปน อยา งดี การนําภาษาไทยไปใชในการ
เขยี นเพอ่ื การส่อื สารธุรกจิ ใหไดผลดี ผเู ขียนจาํ เปนตอ งรูจกั ลักษณะสาํ คญั ของภาษาไทย และรู
หลกั การใชภาษาไทยทถี่ กู ตอ งซง่ึ รวมถงึ การสะกดการนั ต การใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนและอักษร
ยอ ดวย ภาษาไทยเปน ภาษาทีม่ ีลกั ษณะเปน ของตนเองแตกตางจากภาษาอนื่ ลักษณะทส่ี าํ คญั
ของภาษาไทยมดี งั นี้

1. ภาษาไทยเปนภาษาเรยี งคํา การเรยี งคําในภาษาไทยเปน เรื่องสาํ คญั ถา เรียงคาํ
เปลย่ี นท่ีไป ความหมายของขอความจะเปลีย่ นไป เชน

ก) ผูจัดการใชเงนิ ใหค ุณสมศรี
ข) ผจู ัดการใหเ งนิ คุณสมศรีใช
2. ภาษาไทยเปน ภาษาวรรณยกุ ต คาํ ในภาษาไทยจะมรี ะดับเสยี งสูงต่ําตางกนั ซง่ึ
เรยี กวา เสียงวรรณยุกต และระดับเสยี งทตี่ า งกนั นท้ี ําใหค วามหมายของคําตางกนั ดว ย เชน ขาว –
ขาว – ขาว ทงั้ 3 คํามีระดบั เสยี งตางกนั และความหมายก็ตา งกันดว ย เชน นายขาวบอกขา ววา
เขาขายขา วไดร าคาดี
3. ภาษาไทยเปน ภาษาทม่ี ีลกั ษณนาม โดยปกตลิ ักษณนามจะใชต ามหลงั จํานวนนับ
เชน นักดนตรี 3 คน ขาวโพด 10 ฝก แตล ักษณนามอาจใชต ามหลงั คํานามขา งหนา เพ่ือเนน ความ
และเพือ่ บอกใหร ูลกั ษณะที่ตา งกนั ของนามน้ัน เชน กระดาษแผนนี้ , กระดาษมวนนี้
4. ภาษาไทยเปน ภาษาทมี่ รี ะดับภาษา การใชถ อ ยคาํ ในภาษาไทยจะตองใชใหเหมาะ
แกบุคคลและโอกาส ภาษาแบง เปน 2 ระดับ คือ
4.1 ภาษาเปน ทางการ หมายถึง ภาษาทมี่ ลี ักษณะถกู ตองตามระเบยี บแบบแผนของ
ภาษา เปน ภาษาท่ใี ชใ นการเขียนเรื่องทเี่ ปน ทางการ เชน เอกสารราชการ ตํารา บทความทาง
วิชาการ และรายงานทางวชิ าการ
4.2 ภาษาไมเปนทางการ หมายถงึ ภาษาทใี่ ชสนทนากนั ทวั่ ไปในชวี ิตประจาํ วนั ในหมูคนที่
รจู กั สนิทสนมกนั ถาใชใ นงานเขียนกต็ อ งใชในเรือ่ งทไ่ี มเ ปนทางการ เชน จดหมายสว นตวั บนั ทึก
สวนตัว เปน ตน

15

การใชค ํา

“คํา” หมายถึง เสียงพูด หรือลายลักษณอักษรที่เขียนหรือพิมพข้ึนเพ่ือแสดงความคิด โดย

ปกติถือวาเปนหนวยที่เล็กที่สุดซ่ึงมีความหมายในตัว (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

2525:184) “ภาษา” หมายถงึ เสยี งหรือกิริยาอาการท่ีทําความเขาใจกันได, คําพูด, ถอยคําที่ใชพูด

กัน ตัว (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525:608) คําเปนหนวยที่เล็กที่สุดของการใชภาษา

เพื่อการสื่อความหมายท้ังการพูดและการเขียน การเลือกใชคําตองระมัดระวังเพราะความหมาย

ของคํา ไมไดมเี ฉพาะความหมายโดยตรงเทานัน้ แตคาํ บางคาํ อาจมคี วามหมายแฝงอยูดวย ในการ

เขียนตองเลือกสรรกลั่นกรองถอยคําใหถูกตอง ตรงความหมายและเหมาะสมกับสภาพของงาน

เขียนนน้ั ๆดว ย กอ นอ่ืนควรทราบวา ความหมายของคําแบงออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ

1. ความหมายโดยตรง หมายถึง ความหมายที่แทจริงของคํา เราจะคนหาความหมาย

โดยตรงของคําไดจาก พจนานุกรม เม่ือเราพูดคําวา กิน ความหมายโดยตรง ก็คือ อาการเค้ียว

กลืน เชน กินขา ว กนิ ขนม เปน ตน

2. ความหมายโดยนัย หมายถึง ความหมายที่แฝงเรนอยูในคํา ขึ้นอยูกับความเขาใจ

ทัศนคติ และประสบการณของแตละคน ซ่ึงอาจจะไมตรงกันทีเดียว แตสําหรับคนชาติเดียวกันที่มี

วัฒนธรรม คานิยม และส่ิงแวดลอมเดียวกัน ประกอบกับไดรับการอบรมสั่งสอนมาคลายๆกัน

มักจะมีความคิดเห็นและรับรูความหมายแฝงของคําคลายคลึงกัน ตัวอยางคําวา กิน ความหมาย

โดยตรง คือ อาการเคี้ยว กลืน แตมีความหมายโดยนัย คือ การทุจริต การฉอโกง เชน กินปา หิน

หนิ กนิ ทราย เปนตน ความหมายแฝงมีประโยชนตอ การใชคํา เพราะจะทําใหใชคํานอย ไมเยิ่นเยอ

แตผ ลทีไ่ ดร บั คอื กนิ ความหมายมาก

ลักษณะการเลือกใชค าํ ผเู ขยี นควรพิจารณาในประเด็นตอไปน้ี

1. ใชคําใหตรงความหมายท่สี ุด

ผูเ ขยี นตองทาํ ความเขาใจความหมายของคําแลว เลอื กใชค าํ ใหต รงตามความหมายที่

ผเู ขียนตองการ โดยผูเ ขยี นตองมปี ระสบการณท างภาษามาก คาํ บางคํามีความหมายใกลเคยี ง

กัน แตไมอ าจใชแ ทนกนั ไดใ นบางสาํ นวนหรอื บางประโยค เชน คาํ วา เจบ็ กับ ปวด จอ ง กบั มอง

เปนตน ถา ผเู ขียนไมแ นใ จเกี่ยวกบั ความหมายของคํา ใหคน หาความหมายจากพจนานกุ รมเพอ่ื

ปองกนั การใชค ําที่ผิดความหมายไดใ นภาษาไทยคาํ บางคําอาจมคี วามหมายหลายอยา ง

ขณะเดยี วกนั ก็มคี ําหลายคาํ ทีม่ คี วามหมายคลา ยคลงึ กันหรือใกลเคียงกนั แตไ มเ หมือนกันทีเดยี ว

และไมสามารถใชแทนกนั ได ตัวอยางของคาํ ทม่ี คี วามหมายใกลเ คียงกนั

ก) ผลติ ทาํ ใหเ กิดมีขึ้นตามที่ตองการดว ยอาศยั แรงงานหรือเครือ่ งจักร เปน ตน

เชน ผลติ ขาว ผลติ รถยนต

ผลติ กรรม การทาํ ใหเปน ผล

16

ผลติ ผล ผลท่ีทาํ ขน้ึ ผลทไ่ี ดจากการผลิตดวยอาศัยแรงหรือเคร่อื งจักร เปน ตน

ผลติ ภัณฑ ส่ิงทที่ ําขน้ึ

ข) ทรัพย เงนิ ตรา, สมบตั พิ สั ถาน โดยปริยายหมายถึง สง่ิ ทถี่ อื วา มคี า อาจมีรปู รา ง

หรือไมมีรูปรา งกไ็ ด เชน มปี ญ ญาเปนทรัพย

ทรพั ยสนิ วัตถุทง้ั ทม่ี ีรูปรา งและไมมรี ปู รา งซงึ่ อาจมีราคาและถือเอาได เชน แกว

แหวนเงนิ ทองหรอื ของมคี าอน่ื ๆ

สนิ ทรพั ย ทรพั ยส นิ รวมทง้ั หนที้ พ่ี ึงเรยี กรองเอาได

ค) แขง ชิงเอาชนะกนั , ชงิ ด,ี ชงิ ขึน้ หนา

แขงขนั ชงิ เอาชนะเพอื่ รางวลั ,ขันสเู อาชนะกนั

ง) ตก กริ ยิ าทลี่ ดลงสรู ะดับตํา่ หรอื ลดลง เชน ตกบนั ได เครอ่ื งบนิ ตก ผีมอื ตก

เสียงตก

ตาํ่ มีระดับนอยหรือนอ ยกวา ปกติ

ตกตา่ํ มฐี านะหรือคา ลดลงกวาเดมิ

2. ใชค าํ ใหถูกหนาท่ี

คําในภาษาไทยมหี ลายชนดิ แตละชนดิ จะทาํ หนา ทตี่ า งกัน ดงั นี้

คํานาม ทําหนา ทเ่ี ปนประธานของประโยค หรอื เปน ผกู ระทํา และเปน กรรมหรอื ผู

ถูกกระทาํ

คําสรรพนาม ทําหนา ที่แทนคาํ นาม เปน ประธาน หรือเปน กรรม

คาํ กริยา ทาํ หนา ที่บอกอาการหรอื การกระทาํ ของคาํ นามหรือคําสรรพนาม

คาํ วิเศษณ ทาํ หนา ทปี่ ระกอบคาํ นาม บอกรายละเอยี ดของคาํ นามน้นั ใหชัดเจนยงิ่

ขน้ึ หรือประกอบคํากรยิ า บอกรายละเอยี ดของอาการหรือการกระทาํ

คาํ บพุ บท ทําหนา ทเี่ ชื่อมคํา

คําสันธาน ทําหนา ทเ่ี ช่ือมประโยค

คําลักษณนาม ทาํ หนา ท่ีบอกลกั ษณะ รูปรา งของคํานาม

3. ใชคําใหเหมาะแกสํานวนภาษา

สํานวนภาษาทีใ่ ชก นั โดยทั่วไปแบงออกไดเ ปน 2 ระดับ คือ สํานวนภาษาเปน ทางการและ

สาํ นวนภาษาไมเ ปน ทางการ

1.สาํ นวนภาษาเปนทางการ หมายถงึ สาํ นวนภาษาทใ่ี ชในการพูดหรอื การเขยี นอยางมี

แบบแผน เชน การแสดงปาฐกถา การเสนอบทความทางวชิ าการ การพดู ในท่ีประชมุ สภา

ผูแทนราษฎร การเขยี นหนังสอื ราชการ การเขยี นรายงานทางวิชาการ

17

2. สํานวนภาษาไมเ ปน ทางการ หมายถงึ สํานวนภาษาทใ่ี ชกนั อยูในชวี ติ ประจาํ วนั เชน

ในการสนทนาไตถ ามทกุ ขส ขุ เลา เร่อื งราวหรอื ประสบการณใหก นั ฟง หรือพดู จาแสดงความคดิ เหน็

ในหมเู พ่อื นฝูงหรอื คนทสี่ นทิ สนมคุนเคยกนั

ตัวอยางของคาํ ทใี่ ชใ นภาษาระดบั เปน ทางการและระดับไมเ ปน ทางการ

ภาษาเปนทางการ ภาษาไมเปนทางการ

ประสงค อยาก

พจิ ารณา ตรวจตรา

จาํ หนา ย ขาย

ปรบั ปรงุ ยกเครอ่ื ง

สนองความตอ งการ ปอ น

หัวหนา ฝายประชาสมั พนั ธป ระสงค จะ หวั หนา ฝายประชาสัมพนั ธอ ยากสง

เสนอโครงการโฆษณาใหค ณะกรรมการ โครงการโฆษณาใหค ณะกรรมการ

บรหิ ารพจิ ารณากอนลงมติใหจําหนา ย บรหิ ารตรวจตรากอนลงความเหน็

สนิ คาชนิดน้ี ใหข ายสนิ คา ชนดิ น้ี

4. ไมใชค ําภาษาตา งประเทศนอกจากท่ีจาํ เปน

ในการเขียนเพื่อการสื่อสารธุรกิจจําเปนตองเลือกใชคําใหเหมาะสม ควรยึดหลักสําคัญไว

วา ในกรณีท่ีมีศัพทบัญญัติหรือคําภาษาไทยที่มีความหมายตรงกับคําภาษาตางประเทศซ่ึงเปนท่ี

ยอมรับและใชกันอยูแพรหลายก็ควรใชศัพทภาษาไทย นอกจากบางคํายังไมมีการบัญญัติศัพท

หรอื ยงั หาคําไทยทีม่ ีความหมายตรงกับคําภาษาตางประเทศไมไ ด จงึ จะอนโุ ลมใหใ ชคาํ ทบั ศพั ท

การใชศพั ทและสาํ นวนธรุ กิจ

ในวงการธรุ กิจจะมีศพั ทเ ฉพาะท่ใี ชส ่ือความหมายกันเฉพาะกลุมเชนเดียวกับวงการอาชีพ

อ่ืนๆ เน่ืองจากการประกอบธุรกิจในปจจุบันขยายวงออกไปกวางมาก มีการติดตอซื้อขายกับ

ตางประเทศและรับเอาวิธีการทางการคาจากตางประเทศเขามามาก มีการศึกษาหาความรูจาก

ตําราตางประเทศซ่ึงสวนใหญเปนภาษาอังกฤษ ทําใหรับเอาศัพทและสํานวนภาษาอังกฤษเขามา

ใชมาก ศพั ทธุรกจิ ที่ใชกนั อยใู นปจ จุบันอาจจําแนกออกเปน 4 ประเภท ดังน้ี

1. ศัพทบัญญัติทางธุรกิจ ไดแก ศัพทธุรกิจที่แปลความหมายจากภาษาอังกฤษแลว

คณะกรรมการบัญญัติศัพทของราชบัณฑตยสถานกําหนดคําซ่ึงสวนใหญเปนคําบาลีสันสกฤตที่มี

ความหมายตรงกับคําเดิมขึ้น ใชกันจนเปนท่ียอมรับและนิยมใชกันอยางแพรหลาย เชน ธนาคาร

– bank , อตุ สาหกรรม – industry , กรมธรรม – policy , ผลติ ภณั ฑ - product

2. คําแปล ไดแก ศัพทธุรกิจท่ีแปลความหมายจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทยซึ่งเปนที่

ยอมรับและนยิ มใชกันแพรห ลาย เชน เงินสด – cash , กําไร – profit , สํานักงาน – office

18

3. คําทับศัพท ไดแก ศัพทธุรกิจที่เปนคําภาษาอังกฤษส้ันๆ บางคร้ังการกําหนดศัพท

บญั ญัติขึ้นใชหรือแปลเปนคําภาษาไทยอาจไมไดคําท่ีมีความหมายชัดเจนและกระชับเทากับศัพท

เดมิ จึงนิยมใชคาํ ทับศพั ท เชน เช็ค – cheque -.ใบสั่งจา ยเงิน , บลิ – bill – ใบเรยี กเกบ็ เงนิ , คปู อง

– coupon – บตั รแลกสิ่งของ , ฟรี – free – ใหเ ปลา , โชวร ูม – showroom - หอ งแสดงสินคา

4. คําแปลและคําทับศัพท ไดแก ศัพทธุรกิจที่มีคําแปลเปนภาษาไทยซึ่งเปนท่ียอมรับ

และนิยมใชก ันอยางแพรหลายอยูแลว แตย งั มีบางคนทน่ี ยิ มใชคาํ ทับศัพทเดิมและในวงการธุรกิจก็

ยอมรับท้ังสองอยาง เชน สินเช่ือ – เครดิต – credit , ตัวแทน – เอเยนต – agent , พนักงานขาย –

เซลสแมน – saleman , เครื่องเรือน – เฟอรนิเจอร – furniture , บริษัทเงินทุน – ทรัสต – trust

นอกจากศัพทธุรกิจท่ีมาจากภาษาอังกฤษแลวยังมีศัพทที่มาจากภาษาตางประเทศอื่นอีก สวน

ใหญเปนศัพทท่ีมาจากภาษาจีน ซ่ึงนิยมใชกันในภาษาไมเปนทางการโดยเฉพาะการพูดมากกวา

การเขียนเชน ยี่หอ – ตราหรือเครื่องหมายการคา , ย่ีปว – ตัวแทนจําหนาย , โสหุย – คาใชจาย ,

แปะเจีย๊ ะ – เงินกนิ เปลา , เซง – โอนกิจการใหคนอนื่ โดยไดรบั คา ตอบแทน

นอกจากศพั ทธุรกจิ ทต่ี องใชใ หต รงความหมายในการเขยี นแลวยงั มีคาํ ทใี่ ชในความหมายที่

ไมตรงกับความหมายเดิมของคํานั้นๆ คําเหลานี้พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเรียกวา

“สาํ นวน” สว นใหญน ยิ มใชก นั ในสอื่ มวลชนประเภทหนังสือพมิ พ บางสาํ นวนคอ นขา งจะเปนภาษา

พดู มากกวาท่จี ะใชในการเขยี นเพ่ือการสื่อสารธรุ กจิ เชน

ระดม รวบรวมจากท่ตี า งๆ เชน ระดมทนุ ระดมเงินออม

กระจาย ขยายวงการขาย เชน กระจายหนุ (เปดโอกาสใหผ สู นใจซ้ือหนุ หรอื นาํ เงนิ

มาลงทุนดวย)

ขาดดุล รายจายมากกวารายรบั เชน ขาดดุลการคา (ซื้อมากกวา ขาย)

ขานรบั ตอบสนอง ปฏิบตั ิตาม เชน ขานรบั นโยบายของรัฐบาล

รณรงค ดําเนินการเพ่อื เผยแพรใหเ ปน ทรี่ ูจักหรือปฏิบตั ติ าม เชน รณรงคใหใช

สนิ คา ที่ผลิตภายในประเทศ

สภาพคลอง ดาํ เนนิ ไปไดดหี รอื สะดวก เชน การสงขา วโพดไปยงั ตลาดตางประเทศอยู

ในสภาพคลอ ง

ภาวะซบเซา ดําเนินไปไมดี สนิ คาขายไมดี เชน ตลาดรถยนตใชแลวกาํ ลังอยูในภาวะ

ซบเซา

เปด ตลาด เรือสงสนิ คา ไปจาํ หนาย เชน ไทยจะเปด ตลาดสนิ คา เคร่อื งจักสานใน

ประเทศตะวนั ออกกลาง

19

การใชประโยค

ประโยค คือ คาํ ทเ่ี รียงกนั อยา งมีระเบยี บและมีความหมายครบถว น อยา งนอยตองมี

ประธานหรอื ผกู ระทาํ และกรยิ าหรือการกระทําเปนสว นประกอบสาํ คญั การเรยี งลําดบั คาํ ถอื เปน

สงิ่ สาํ คญั ทส่ี ดุ ของการเขยี นประโยค ถา เรยี งคําผดิ ลําดบั ความหมายของประโยคนน้ั จะเปลยี่ นไป

โดยทัว่ ไปประโยคในภาษาไทยจะขนึ้ ตนดว ยประธาน กรยิ าและกรรม ถา มคี ําขยายสวนใดก็จะใส

คาํ ขยายไวห ลงั สวนนน้ั แตม บี างประโยคทนี่ ยิ มขนึ้ ตน ดว ยกรรมแลวจึงตามดว ยประธานและกรยิ า

หรืออาจจะละประธานไวในฐานทีเ่ ขา ใจ เชน

ก) ธนาคารของรัฐบาลจา ยเงนิ ปน ผลประจาํ ปแกผ ถู ือหนุ ในเดอื นมกราคม

ธนาคาร เปนประธาน ของรฐั บาล เปน สว นขยายประธาน

จาย เปนกรยิ า เงนิ ปน ผล เปนกรรมตรง

ประจาํ ป เปน สวนขยายกรรมตรง แก เปนสว นเช่ือมกรยิ ากบั กรรมรอง

ผถู ือหุน เปน กรรมรอง ในเดือนมกราคม เปน สวนขยายกริยา

ข) เสือ้ ผา สาํ เร็จรปู เหลาน้ผี ลิตในประเทศไทย

เส้อื ผา เปนกรรม สําเรจ็ รปู ,เหลา น้ี เปนสว นขยายกรรม

ผลติ เปน กรยิ า ในประเทศไทย เปนสว นขยายกรยิ า

ประโยคนี้ละประธาน คือ ผูผลิตไวในฐานทเี่ ขา ใจ

หลักการใชป ระโยคในการเขยี นเพือ่ การสือ่ สารธรุ กิจ มดี ังน้ี

1. ใชประโยคทถ่ี ูกตอง คือ ถกู หลกั ไวยากรณไ ทย มีสวนประกอบครบถวน ไมข าดสว น

สําคญั ไมม ีสว นเกนิ และเรยี งลําดบั คาํ ในประโยคถกู ตอ ง เชน

ประโยคท่ไี มถกู ตอง สาํ หรบั ธุรกิจหลายประเภทในเชยี งใหม การแขง ขันเพ่ิงจะเริม่ ตน เทานนั้

ควรแกไ ขเปน ธรุ กิจหลายประเภทในเชยี งใหมเพิ่งเร่ิมตน แขงขัน

2. ใชป ระโยคกะทดั รดั คือ ประโยคส้นั แตไ ดใ จความครบถว น เชน

ประโยคทไ่ี มก ะทดั รัด

จากแนวโนม การขยายตวั อยา งรวดเรว็ ของธรุ กิจในเชยี งใหม กอปรกบั ความเปน เมือง

ทอ งเที่ยวทมี่ ลี กั ษณะพเิ ศษตางไปจากเมืองทอ งเที่ยวอนื่ ๆ อกี ทงั้ รปู แบบชวี ติ ความเปนอยขู อง

ประชาชนทม่ี เี อกลักษณเ ฉพาะตวั มีววิ ฒั นาการทางสงั คมและวฒั นธรรมทีส่ ืบทอดกนั มานาน

เกอื บ 700 ป ทาํ ใหเ ชียงใหมก ลายเปนตลาดยุทธศาสตรท่ีมีเสนห  ไดร ับความสนใจจากนกั ลงทนุ

ตางเมอื งมากเปน พเิ ศษ โดยเฉพาะบรรดาพอคานกั ธุกจิ จากเมอื งหลวง

ควรแกไ ขเปน

20

นักธุรกิจจากกรุงเทพฯสนใจทจี่ ะลงทนุ ประกอบธุรกิจในเชียงใหมเพราะเชียงใหมเปน เมือง
ทองเท่ยี วทม่ี ีวฒั นธรรมเกา แกแ ละธรุ กจิ กาํ ลงั กาวหนา อยา งรวดเร็ว

3. ไมใชป ระโยคท่เี ปนสาํ นวนภาษาตา งประเทศ คือ ไมใชป ระโยคที่ขึน้ ตนดว ยกรรม
และมีคาํ “ถกู ” นาํ หนากรยิ า และไมใช “โดย” นําหนา ประธาน เลียนแบบประโยคของ
ภาษาอังกฤษ คาํ “ถกู ” ท่ใี ชน ําหนา กริยาน้นั คนไทยนยิ มใชเ ฉพาะในความหมายทไ่ี มดหี รอื
ผถู กู กระทาํ ไมพ อใจเทา นน้ั เชน ถูกตี ถูกดา ถกู แทง ถูกฆา เปนตน
ประโยคทีไ่ มถ กู ตอง

ท่ดี นิ ยา นการคาในเชยี งใหมก ําลงั ถูกกวา นซอื้ โดยนักลงทนุ ตา งถน่ิ ทห่ี วังกาํ ไร
ควรแกไขเปน

นกั ลงทนุ ตางถ่ินทีห่ วังกาํ ไรกําลงั กวา นซือ้ ที่ดนิ ยา นการคา ในเชยี งใหม


Click to View FlipBook Version