The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Gja Jaja, 2022-12-10 23:44:34

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 (ป.6)

หน่วยที่ 4

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹¡ÒÃ㪧Œ Ò¹

4 à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È

¹¡Ñ àÃÕ¹ÁÕÇ¸Ô ¡Õ ÒÃ㪧Œ Ò¹
à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È
ÍÂÒ‹ §äÃãË»Œ ÅÍ´ÀÂÑ

ตวั ชว้ี ัด
ว 4.2 ป.6/4 ใ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศท�างานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิ
ของผ้อู ่นื แจง้ ผูเ้ ก่ียวขอ้ งเม่อื พบขอ้ มลู หรอื บุคคลที่ไมเ่ หมาะสม

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 82

4 ¤ÇÒÁ»Å˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè
à·¤â¹âÅ
ลองทาํ ดู

รจู กั กนั ผานแอป
หลอกยมื เงนิ แ

หญิงสาววัยรุนรูจักเพ่ือน
รายน้ีไดพูดคุยกันผานแอปพล
ชายหนุมไดบอกกับหญิงสาววา
วาตนเองอยูโรงพยาบาล และข
เฉฉบลบั ย คา รกั ษาพยาบาล โดยอา งวา ตนเ
ใหภ ายหลงั จากออกจากโรงพยา
เพราะเชอ่ื ใจ และหลังจากนัน้ ก็ไ

ตัวชี้วดั ว 4.2 ป.6/4

ÅÍ´ÀÂÑ ã¹¡ÒÃ㪧Œ Ò¹
ÅÂÕÊÒÃʹà·È

ปพลิเคชันเพยี ง 7 วัน
แลว ตดิ ตอ กลับไมไ ด

นหนุมผานแอปพลิเคชัน หญิงสาว
ลิเคชันกับชายหนุมเปนเวลา 7 วัน
าตนเองปวยหนัก พรอมสงภาพถาย
ขอยืมเงินของหญิงสาวเพ่ือนําไปจาย
เองไมไ ดน าํ เงนิ ตดิ ตวั มาและจะคนื เงนิ
าบาลแลว ฝา ยหญงิ สาวจงึ โอนเงนิ ให
ไมสามารถติดตอชายหนมุ คนน้ไี ดอ ีก

อนั ตรายจากการ 1. ¡ÒÃ㪧Œ ҹ෤â¹âÅÂÕ
ใชง านเทคโนโลยี ÊÒÃʹà·È

สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
มอี ะไรบา ง Technology: IT) คอื การประยกุ ต ์ใชค้ อมพวิ เตอร์
และอปุ กรณ ์โทรคมนาคม (เทคโนโลย)ี เพอ่ื จดั เกบ็
ค้นหา ส่งผ่าน และประมวลผลข้อมูล ซึ่งข้อมูลที่ถูกประมวลผล
เรียบร้อยแล้วจะเรียกว่า สารสนเทศ

1.1 อันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต

การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
ชว่ ยใหผ้ ู้ใชง้ านสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารและเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ ง ๆ
ได้สะดวกและรวดเร็ว แต่ในทางกลับกันหากใช้งานอินเทอร์เน็ต
อยา่ งไมร่ ะมดั ระวงั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกผ่ ู้ใชง้ านได ้ โดยอนั ตราย
ที่เกดิ ข้นึ บ่อยครงั้ จากการใชง้ านอินเทอร์เนต็ มีดงั น้ี

การเผยแพร่ข้อมูล การลอ่ ลวงเยาวชน การหลอกลวง
ทไี่ ม่เหมาะสม แบบฟช ชงิ
(Phishing)

การก่อ การกระทา� ผิด
อาชญากรรมทาง กฎหมายโดยรู้
เท่าไม่ถงึ การณ์
อินเทอรเ์ นต็
83
ภาพจาก หนังสือเรียน หนา้ 83

Í¹Ñ µÃÒ¨ҡ¡ÒÃ㪌§Ò¹ÍÔ¹à·ÍÏà¹çµ

1 การเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม เป็นการใช้
อินเทอรเ์ นต็ ในการเผยแพร่ขอ้ มลู ท่ผี ดิ กฎหมาย เช่น
ข้อมูลอันเป็นเท็จหรือท�าให้ผู้อ่ืนได้รับความเสียหาย
และเสื่อมเสยี ชือ่ เสียง

การลอ่ ลวงเยาวชน ปญั หาของการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็

4 เพื่อล่อลวงเด็ก โดยเฉพาะการพูดคุยในโปรแกรม

8

2สนทนาผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ทนี่ า� ไปสกู่ ารนดั พบกนั ของ

คสู่ นทนาซงึ่ ไม่เคยเหน็ หน้ากนั มากอ่ น

3 การหลอกลวงแบบฟิชชงิ (Phishing) เป็นเทคนคิ
การหลอกลวงโดยใชจ้ ติ วทิ ยาผา่ นทางอนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่
ขอข้อมูลท่ีส�าคัญ มักมาในรูปของอีเมลหรือเว็บไซต์
เพอื่ หลอกให้เหย่ือเปด เผยข้อมลู ทเ่ี ป็นความลับตา่ ง ๆ

การกอ่ อาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การใช้ 4

คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเป็นเคร่ืองมือในการ
กระทา� ความผดิ เพื่อใหผ้ ู้อื่นไดร้ บั ความเสยี หาย เช่น
การละเมิดลิขสิทธ์ ิ การกอ่ อาชญากรรมทางการเงิน

5 การกระท�าผิดกฎหมายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

84 เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ที่ขัดต่อกฎหมายว่าด้วยการ
กระท�าผิดเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ โดยร้เู ทา่ ไมถ่ ึงการณ์

ภาพจาก หนังสือเรยี น หนา 84

ด ผทู้ กี่ ระทา� ความผดิ เกย่ี วกบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื การกอ่

า อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต ถือเป็นการกระท�าท่ีมีความผิดตาม
บ. พพร.ระ.รบา.ชคบอญัมพญวิ ตั เตวิ า่อดร1ว้ ์ ยซกึ่งาเปรกน็ รกะฎทหา� คมวาายมทผถ่ี ดิ ูกเอกอยี่ กวกแบับคบอมมาพเพวิ อ่ืเตคอมุ้ รค ์ หรอรอืง
ม ผู้ ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต หากมีการกระท�าความผิด
มี เกิดข้ึน พ.ร.บ.ฉบับนี้จะช่วยให้ผู้กระท�าผิดได้รับการลงโทษตาม
ห

บ. กฎหมาย โดยมีข้อกฎหมายทคี่ วรทราบเบื้องต้น ดงั น้ี

เขา้ ถึงขอ้ มูลของผ้อู ่ืนโดย แก ้ไข เปลย่ี นแปลง การกระท�าทีก่ ่อกวน
ไม่ไดร้ บั อนุญาต หรือท�าลายข้อมูลของผู้อ่ืน การท�างานของระบบ
คอมพิวเตอร์ของผ้อู ื่น
จา� คุกไม่เกนิ 2 ป  หรือปรับ โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต จ�าคกุ ไมเ่ กนิ 5 ป หรอื
ไม่เกนิ 40,000 บาท จ�าคกุ ไมเ่ กนิ 5 ป  หรอื ปรบั ไมเ่ กิน 100,000 บาท
หรอื ทง้ั จ�าทง้ั ปรับ ปรับไม่เกนิ 100,000 บาท หรือท้ังจา� ทัง้ ปรับ

หรอื ทัง้ จ�าทง้ั ปรบั

ส่งขอ้ ความหรอื อีเมล เผยแพร่เนอ้ื หา ภาพตัดต่อท่ที �าให้
ทก่ี ่อใหเ้ กิดความ ท่ีไมเ่ หมาะสม เสื่อมเสียชอื่ เสียง
เดือดร้อนแก่ผอู้ ่ืน จ�าคุกไม่เกิน 3 ป  หรือ จา� คุกไม่เกนิ 3 ป
ปรบั ไม่เกิน ปรบั ไม่เกนิ 60,000 บาท หรอื ปรับไมเ่ กิน
200,000 บาท หรือทง้ั จา� ทง้ั ปรบั 200,000 บาท

เขา้ ถงึ ระบบคอมพิวเตอร์ เผยแพร่วธิ กี ารเขา้ ถงึ ระบบ ขโมยข้อมลู ของผอู้ นื่
ของผอู้ น่ื โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต คอมพิวเตอรข์ องผู้อืน่ บนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็
จ�าคกุ ไมเ่ กิน 6 เดือน หรอื จ�าคกุ ไมเ่ กิน 1 ป  หรอื จ�าคุกไม่เกนิ 3 ป หรือ
ปรบั ไม่เกนิ 10,000 บาท ปรบั ไม่เกิน 20,000 บาท ปรับไมเ่ กิน 60,000 บาท
หรือทั้งจ�าทงั้ ปรับ
หรือทง้ั จ�าทัง้ ปรับ หรือท้งั จา� ทงั้ ปรับ

หมายเหตุ : ขอ้ มลู จากพระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ฉบบั ท ่ี 2 พ.ศ. 2560 85

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา้ 85

µÇÑ ÍÂÒ‹ § Í¹Ñ µÃÒ¨ҡ¡ÒÃ㪧Œ Ò¹Í¹Ô à·ÍÃà ¹çµ

โป้ได้รับข้อความจากเพื่อนคนหนึ่งท่ีส่งมาในโปรแกรมสนทนาว่า
คุณครูที่สอนวิชาพลศึกษาเรียกให้โป้ไปพบด่วน เน่ืองจากคุณครูหา
กระดาษค�าตอบในการสอบของโป้ไม่พบ หลังจากท่ีโป้ไปพบคุณครู
ที่ห้องพักครู ปรากฏว่า คุณครูไม่ได้เรียกให้โป้ไปพบ ซึ่งโป้อาจโดน
เพ่ือนแกล้งก็ได้ นกั เรียนคดิ วา่ โป้ควรทา� อยา่ งไร

Chat (3)

คณุ ครูสอนวิชาพลศึกษาหา
กระดาษคําตอบของโปไ มเ จอ
ใหไปหาดว น

จากสถานการณด์ งั กลา่ ว โปค้ วรจะเตอื นเพอื่ นวา่ การกระทา� แบบน้ี
มีความผิดต่อพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการกระท�าความผิดโดยการส่งข้อความหรืออีเมล
ที่ก่อใหเ้ กิดความเดอื ดรอ้ นแกผ่ ู้อนื่ มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท

86

ภาพจาก หนังสอื เรียน หนา้ 86

i ¡Ô¨¡ÃÃÁ Com Sci
บ ½¡ƒ ·Ñ¡ÉÐ

ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาสถานการณต์ อ่ ไปน ้ี แลว้ ตอบคา� ถามวา่ เปน อนั ตราย
ทเ่ี กดิ จากการใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ตแบบใด พร้อมทั้งใหเ้ หตุผลประกอบ

สถานการณ์ : ปูพบข้อความที่แชร์ต่อกันมาทางอินเทอร์เน็ต
เกย่ี วกบั การประกาศหาตัวคนรา้ ยที่ขโมยทรพั ย์สนิ ของผูอ้ ื่นไป
ปูจึงได้แชร์ข้อความนั้น เพื่อช่วยให้จับคนร้ายได้เร็ว ๆ แต่ปู
ไดม้ าทราบภายหลงั วา่ โพสตน์ น้ั เปน็ การใสร่ า้ ย กลน่ั แกลง้ ผอู้ นื่
ให้ ได้รบั ความเสยี หาย ปูจึงไดล้ บโพสต์นน้ั ท้ิงไป

เปน็ อนั ตรายจากการใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ ประเภท

เนื่องจาก บันทึกลงในสมดุ

ทักษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษท ่ี 21 2. ทกั ษะการรู้เทา่ ทันเทคโนโลยี 87
1. ทกั ษะการแก้ปัญหา

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 87

1.2 แนวทางในการปอ้ งกนั อนั ตรายจากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็

ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทต่อชีวิตประจ�าวันเป็นอย่างมาก
เพ่ือเป็นการป้องกันอันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต จึงควร
ปฏิบัตติ นตามแนวทาง ดงั น้ี

ไมเ่ ขา้ เวบ็ ไซตท์ เี่ ผยแพรเ่ นอ้ื หาผดิ กฎหมาย เชน่ สอื่ ลามกอนาจาร
การพนัน โปรแกรมผิดกฎหมาย
ไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตวั เชน่ ชอ่ื -นามสกลุ จรงิ ทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศพั ท์
หลักฐานส�าคญั อืน่ ๆ ลงบนเว็บไซต์ตา่ ง ๆ
ไม่หลงเชื่อข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตโดยง่าย ควรศึกษาข้อมูลจาก
หลายแหลง่ กอ่ นตัดสนิ ใจเชือ่ ในสง่ิ ท่ีไดร้ ับรู้
แจ้งผู้ปกครองหรือคุณครูหากพบเห็นการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ที่ไม่เหมาะสม หรือการกลัน่ แกลง้ ทางอนิ เทอรเ์ น็ต
ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามท่ีรู้จักทางอินเทอร์เน็ตเพียงล�าพัง
และควรแจ้งใหผ้ ้ปู กครองทราบ
ตดิ ตงั้ โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั และตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ ไดต้ งั้ คา่ ให้
โปรแกรมท�างานแลว้
ตั้งรหัสผ่านในการเข้าสู่ระบบ และอุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ ให้
คาดเดาได้ยาก และควรเปล่ียนรหสั ผ่านทกุ ๆ 2-3 เดอื น
ศกึ ษาขอ้ กฎหมายเกยี่ วกบั การใชง้ านคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็
เพือ่ หลกี เลย่ี งการกระทา� ผิดตามกฎหมาย

88

ภาพจาก หนังสอื เรยี น หนา 88

µÑÇÍÂÒ‹ § á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû͇ §¡Ñ¹ÍѹµÃÒÂ
¨Ò¡¡ÒÃ㪌§Ò¹ÍÔ¹à·ÍÃà ¹çµ
ในขณะทปี่ กู า� ลงั ใชง้ านโซเชยี ลมเี ดยี อย ู่ พบวา่ มขี อ้ ความทเี่ พอ่ื น ๆ
ส่งต่อกันมาว่าโป้ได้ลอกการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ของเพื่อน พร้อมภาพ
ขณะท่ีโป้ก�าลังลอกการบ้าน ซึ่งปูทราบว่าไม่เป็นความจริงและภาพ
ดังกล่าวถูกตัดต่อ เนื่องจากในวันนั้นปูและโป้ได้ช่วยกันท�าการบ้าน
จนเสร็จ นกั เรยี นคดิ วา่ ปคู วรท�าอยา่ งไร

เมอ่ื วานโปแ อบเอา
สมุดการบานของ
ตนกลาไปลอกที่
หอ งสมุด

จากสถานการณ์ดังกล่าว ปูควรบอกโป้และคุณครูให้ทราบถึงเรื่อง
ท่ีเกิดขึ้น และอธิบายกับเพ่ือนคนอื่น ๆ ท่ีส่งข้อความดังกล่าวมาว่า
ควรหยุดส่งต่อและควรลบข้อความดังกล่าวทิ้ง เนื่องจากข้อความท่ีส่ง
มาน้นั ไมเ่ ปน็ ความจรงิ เป็นการกลั่นแกล้งกนั ทางอนิ เทอร์เนต็ และเป็น
การกระทา� ทมี่ คี วามผดิ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทา� ความผดิ เกย่ี วกบั
คอมพวิ เตอร ์ เรอื่ งการเผยแพรภ่ าพตดั ตอ่ ทท่ี า� ใหเ้ สอ่ื มเสยี ชอ่ื เสยี งอกี ดว้ ย

89

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา้ 89

¡¨Ô ¡ÃÃÁ Com Sci
½¡ƒ ·¡Ñ ÉÐ

ใหน้ กั เรยี นทา� เครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ทคี่ วรทา� และทา� เครอ่ื งหมาย ✗
หน้าขอ้ ทีไ่ ม่ ควรทา�

……………………….. 1. โป้ชกั ชวนใหเ้ พอ่ื นเขา้ เว็บไซต์พนนั บอล
……………………….. 2. ป นู ัดพบกบั เพื่อนท่รี ้จู กั กันผ่านโปรแกรม

สนทนาออนไลน์
……………………….. 3. เ ปร้ียวสอนใหเ้ พอ่ื นลงโปรแกรมสแกนไวรัส
……บ…นั …ท…ึก…ล…ง…ใน…ส.. ม4ุด. ปแ ปล้อานะงตกต้ังนังั้ ครไ่าหวโรสัปสั ผรา่แนกเรขมา้ ใสหูร่ ท้ ะบ�างบาคนอ มเพพ่อื วิ เเปตน็ อกรด์ารว้ ย

ตวั เลขงา่ ย ๆ เพอื่ ใหส้ ะดวกในการใชง้ าน
……………………….. 5. ป นศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการใชง้ าน

คอมพวิ เตอร ์ เพอื่ หลกี เลีย่ งการกระท�าผดิ
กฎหมาย
……………………….. 6. ป ้อมโพสต์ภาพบตั รประจา� ตัวประชาชน
ทีเ่ พ่ิงไปท�ามาใหมล่ งบนเพจในอนิ เทอรเ์ น็ต

ทักษะการเรียนรู ้ในศตวรรษท่ี 21

90 1. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 2. ทักษะการรเู้ ท่าทันเทคโนโลยี

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 90

ง 1.3 การกา� หนดรหัสผ่าน

การก�าหนดรหัสผ่าน เป็นวิธีการตรวจสอบตัวตนในการเข้า
า สู่ระบบและการเข้าใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อป้องกัน
น อันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่นิยมมากท่ีสุด เน่ืองจากเป็น
วิธีที่ง่ายและไม่มีค่าใช้จ่าย โดยมีข้อแนะน�าในการต้ังและใช้งาน
น รหสั ผา่ นให้มคี วามปลอดภัย ดังน้ี

ข้อแนะน�าในการตงั้ รหัสผ่าน สง่ิ ทไี่ มค่ วรนา� มาใชเ้ ปน รหสั ผา่ น

✓ มคี วามยาวอยา่ งนอ้ ย 8 ตวั อกั ษร ✗ ขอ้ มูลส่วนตวั เช่น ชอ่ื -นามสกลุ
✓ ประกอบด้วยอักษรตัวพิมพ์ ใหญ่ วันเกดิ เบอร์ โทรศพั ท์

ตวั พมิ พเ์ ลก็ ตวั เลข และสญั ลกั ษณ์ ✗ ช อ่ื บุคคลหรือสิง่ ของต่าง ๆ ที่
เช่น Kgs_F5071 เก่ยี วขอ้ งกับผู้ ใช้
✓ ควรต้ังให้จดจ�าได้ง่ายแต่ยากต่อ
การคาดเดา เชน่ ชอื่ อาหารทชี่ อบ ✗ คา� ที่มีอยใู่ นพจนานุกรม
แตเ่ ขยี นตวั อกั ษรจากหลงั มาหนา้ ✗ ร ปู แบบตัวอกั ษรหรือตัวเลข

ทเ่ี ปน็ ท่นี ยิ ม เช่น 123456789,
111111, password

ขอ้ ควรปฏิบตั ิเพม่ิ เตมิ 4. ตั้งรหสั ผา่ นท่ีแตกต่างกันใน
แตล่ ะบัญชผี ู้ ใช้
1. ไ ม่เปดเผยรหสั ผ่านใหผ้ อู้ น่ื
รับทราบ 5. ไ มบ่ ันทึกรหสั ผ่านแบบอัตโนมัติ
ลงบนเบราวเ์ ซอร์
2. เปล่ยี นรหสั ผา่ นทุก ๆ 2-3 เดือน
3. อ อกจากระบบทุกครั้งเมื่อเลิกใช้ 6. ไม่จดรหสั ผา่ นลงกระดาษและ
อปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ
บรกิ ารต่าง ๆ บนอินเทอรเ์ น็ต

91

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 91

¡Ô¨¡ÃÃÁ Com Sci
½¡ƒ ·Ñ¡ÉÐ

ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาการต้ังรหสั ผา่ นจากสถานการณต์ ่อไปน ี้ แลว้ พดู
คยุ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กบั เพอ่ื นในชนั้ เรยี นวา่ การตง้ั รหสั ผา่ นดงั กลา่ ว
เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร

1. โ ปต้ ้ังรหสั ผา่ นบนเวบ็ ไซต์ 2. โ ปต้ ง้ั รหัสผา่ นโดยการสุ่ม
หน่ึงเป็น 54321 เพอ่ื ให้ ตวั อกั ษร ตวั เลข และ
งา่ ยตอ่ การจดจ�า สัญลกั ษณ ์ ดังน้ ี
Gy4&d9s%hv

3. ปูเกิดวันท ่ี 15 พฤษภาบคนั มทกึ ลงในส4ม.ดุ ป ูมแี มวชือ่ Tommy และ
พ.ศ. 2552 จงึ ต้งั รหัส เกิดวนั ที่ 3 กมุ ภาพนั ธ ์
ผ่านว่า 15052552 พ.ศ. 2559 จึงน�ามา
ตัง้ เปน็ รหัสผา่ น คอื
Tom_3m2y59

ทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21

92 1. ทักษะการรู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี 2. ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์

ภาพจาก หนงั สอื เรียน หนา 92


ธ์ิ 1.4 การก�าหนดสิทธใ์ิ นการเข้าใช้งาน

น การก�าหนดสิทธ์ิในการเข้าใช้งาน เป็นการก�าหนดสิทธ์ิในการ
เข้าถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานและเพิ่มความปลอดภัย
น ใหก้ ับข้อมลู
ง การกา� หนดสทิ ธใิ์ นการใชง้ านนเี้ ปน็ การปอ้ งกนั ผไู้ มห่ วงั ดเี ขา้ มา
ธ์ิ ท�าลายข้อมูล ขโมยข้อมูล หรือเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต

ซงึ่ การก�าหนดสทิ ธิ์ในการเข้าใช้งานน้นั สามารถท�าได้หลายวธิ ี เช่น
โปรแกรม Google Drive ซึ่งมีข้นั ตอนในการใช้งาน ดงั น้ี

Google Drive

12

3

1 เขา้ เว็บไซตโ์ ดยพิมพค์ �าว่า www.google.com 93
2 คลกิ ทไ่ี อคอน ซง่ึ เปน็ บริการต่าง ๆ ของ Google
3 คลกิ เพือ่ เข้าใชง้ านโปรแกรม Google Drive

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 93

การก�าหนดสิทธ์ิการเข้าใช้งานในโปรแกรม Google Drive
มขี นั้ ตอน ดงั นี้

1. เ ปด โปรแกรม Google Drive เลอื กไฟลง์ านทต่ี อ้ งการ

จากนน้ั คลกิ ขวาทคี่ า� วา่ แชร์

2. เ มอื่ ปรากฏหนา้ จอการกา� หนดสทิ ธก์ิ ารเขา้ ใชง้ าน

สามารถกรอกขอ้ มลู ตามภาพได ้ ดงั น ี้

12
3

1 กรอกอีเมลของผรู้ บั ลงในช่องบุคคล
2 ก�าหนดสิทธิก์ ารเขา้ ใช้งานของผรู้ ับ
3 กดสง่ เพอ่ื แชร์ลิงก์

ภาพท่ี 4.1 ตวั อยางการใชงาน Google Drive

94

ภาพจาก หนงั สอื เรยี น หนา 94

i ¡Ô¨¡ÃÃÁ
½¡ƒ ·¡Ñ ÉÐ
Com Sci



ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาสถานการณต์ อ่ ไปน ้ี แลว้ ตอบคา� ถามวา่ ควรกา� หนด
สิทธิ์ในการเข้าใช้งานอย่างไร พร้อมท้ังให้เหตุผลประกอบ และแสดงวิธี
ในการก�าหนดสิทธ์ใิ นการเขา้ ใชง้ าน

สถานการณ ์ : ในการท�ารายงานวิชาภาษาไทย ปูและโปจ้ ะตอ้ ง
ทา� งานรว่ มกนั โปจ้ งึ ไดส้ รา้ งไฟลง์ านขนึ้ แลว้ กา� หนดสทิ ธใ์ิ นการ
เข้าใชง้ านใหก้ บั ตนเองและปู

สทิ ธ์ิในการเข้าถึงข้อมลู ทก่ี �าหนด คอื

เนอ่ื งจาก บันทึกลงในสมุด

ทกั ษะการเรยี นร ู้ในศตวรรษท ่ี 21 2. ทกั ษะการรู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี 95
1. ทักษะการแก้ปญั หา
3. ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์
ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 95

การปอ งกนั ไวรัส 2. ¡ÒõԴµé§Ñ «Í¿µáÇÏ
เขา สคู อมพวิ เตอร ¨Ò¡Í¹Ô à·ÍÏ๵ç
สามารถทาํ ได
การติดต้ังซอฟต์แวร์จากอินเทอร์เน็ต
อยา งไร เป็นการติดต้ังโปรแกรมหรือชุดค�าสั่งโดยการน�า
ซอฟตแ์ วรท์ อี่ ยบู่ นอนิ เทอรเ์ นต็ มาตดิ ตง้ั บนอปุ กรณ์
เทคโนโลยี ซ่ึงในบางคร้ังอาจท�าให้อุปกรณ์
2.1 อนั ตรายจาเทกคกโานรโลตยดิ นี ต้นั งั้ เซกดิอคฟวตาแ์มวเสร1ีย์ หายไ2ด้

การติดต้ังซอฟต์แวร์ท่ีอยู่บนอินเทอร์เน็ตมาลงบนเครื่อง
คอมพวิ เตอร ์ มกั พบโปรแกรมทเ่ี รยี กวา่ มลั แวร ์ (Malicious Software:
Malware) ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือส�าหรับการก่อปัญหาอาชญากรรมทาง
อินเทอร์เน็ตที่แฝงมากับซอฟต์แวร์ท่ีติดตั้ง โดยมัลแวร์ที่พบใน
ปัจจุบันมหี ลายประเภท ดังนี้

ม้าโทรจัน ไวรัส
โปรแกรม คอมพิวเตอร์
เรียกคา่ ไถ่
มลั แวร์ หนอน
โปรแกรม อินเทอรเ์ น็ต
โฆษณา โปรแกรม
ดักจบั ขอ้ มลู

ภาพที่ 4.2 แผนภาพแสดงมัลแวรป ระเภทตา งๆ

96

ภาพจาก หนังสอื เรยี น หนา 96

ห
ร
8 1. ไวรัสคอมพวิ เตอร์ (Computer Virus)

น เป็นโปรแกรมที่เขียนข้ึนเพื่อขัดขวาง
บ การท�างานของคอมพิวเตอร์ ท�าให้ผู้ ใช้งาน
เกิดความร�าคาญ ก่อให้เกิดความเสียหาย
ตอ่ ขอ้ มลู หรอื ระบบการทา� งานของคอมพวิ เตอร์
โดยไวรัสคอมพิวเตอร์มักติดมากับไฟล์งาน ภาพท่ี 4.3 ไวรสั คอมพิวเตอร
ต่าง ๆ และจะท�างานเมื่อมีการเปดใช้งาน
ไฟลน์ น้ั ข้ึนมา

2. หนอนอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื วอรม์ (Worm)

เปน็ โปรแกรมอนั ตรายท ี่ใชว้ ธิ หี าจดุ ออ่ น
ของระบบรักษาความปลอดภัย แล้วแพร่
กระจายไปสู่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน
ระบบเครือข่ายได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ว
ท�าให้คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายเกิด ภาพที่ 4.4 หนอนอินเทอรเ นต็
ความเสยี หายท่รี นุ แรง

33. โปรแกรมดกั จับขอ้ มูล หรอื สปายแวร์
(Spyware)
เป็นโปรแกรมท่ีแอบขโมยข้อมูลของ
ผู้ ใช้ระหวา่ งใชง้ านคอมพวิ เตอร ์ เพอื่ นา� ไป ใช้
แสวงหาผลประโยชน์ต่าง ๆ เช่น เก็บข้อมูล
พฤตกิ รรมการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ เพอ่ื นา� ไป ใช ้ ภาพท่ี 4.5 โปรแกรมดกั จบั ขอมลู
ในการโฆษณา
97

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา้ 97

44. โปรแกรมโฆษณา หรอื แอ็ดแวร์

(Advertising Supported Software:
Adware)
เป็นโปรแกรมที่แฝงมากับโปรแกรม
ทว่ั ไป ทา� หน้าทีแ่ สดงโฆษณาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
หรอื ดาวน์ โหลดโฆษณาอัตโนมัต ิ กอ่ ให้เกดิ ภาพท่ี 4.6 โปรแกรมโฆษณา
ความร�าคาญแก่ผ้ ูใช้

55. โปรแกรมเรยี กคา่ ไถ ่ (Ransomeware) ภาพท่ี 4.7 โปรแกรมเรียกคาไถ

เปน็ โปรแกรมทข่ี ดั ขวางการเขา้ ถงึ ไฟล์
ข้อมูลภายในอุปกรณ์เทคโนโลยีด้วยการ
เขา้ รหสั จนกวา่ ผ ู้ใชจ้ ะจา่ ยเงนิ ใหผ้ เู้ รยี กคา่ ไถ่
จึงจะได้รับรหัสผ่านเพ่ือเข้าใช้งานไฟล์
ดังกล่าว

6. มา้ โทรจนั (Trojan Horse) ภาพท่ี 4.8 มา โทรจัน

เปน็ โปรแกรมทห่ี ลอกลวงผ ู้ใช ้ใหต้ ดิ ตง้ั
และเรียกใช้งาน แต่เมื่อเรียกใช้งานแล้วจะ
เร่ิมท�างานเพ่ือสร้างปัญหาตามท่ีผู้เขียน
ก�าหนด เช่น ลักลอบส่งออกข้อมูลส่วนตัว
ของผ้ ูใช้งาน ทา� ลายระบบ

98 ไวรสั คอมพวิ เตอร

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 98

า ¡¨Ô ¡ÃÃÁ Com Sci
½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ

ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปน ้ี แลว้ ตอบคา� ถามวา่ เปน รปู แบบ
m ของมลั แวร์แบบใด

1. เ ปน็ โปรแกรมท่แี อบขโมย มลั แวรป์ ระเภท
ขอ้ มลู ของผ้ ูใช้ระหว่างการ
ใช้งานคอมพิวเตอร์ ........................................................................................

2. เ ปน็ การเขยี นโปรแกรมขึ้น มัลแวรป์ ระเภท
3. ข มเปอาน็ เงพโคป่ืออรกมแ่อพกกิวรวเมนตทอก่ขี ราัด์รทขว�าางบงาันกนทากึ รลงในสมดุ ..................ม.....ัล......แ.....ว.....ร....์ป......ร....ะ....เ...ภ......ท......................
เข้าถงึ ขอ้ มูล จนกว่าผ ู้ใชจ้ ะ
จา่ ยเงินให้ ........................................................................................

4. เ ป็นโปรแกรมทท่ี �าหน้าท่ใี น มลั แวรป์ ระเภท
การแสดง หรอื ดาวน์ โหลด
โฆษณาอัตโนมัติ ........................................................................................

ทักษะการเรยี นร้ ูในศตวรรษที่ 21 2. ทกั ษะการรูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี 99
1. ทกั ษะการแก้ปญั หา
ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 99

2.2 แนวทางในการตรวจสอบและปอ้ งกนั มลั แวร์

ในการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ มกั พบปญั หาจากมลั แวรท์ แี่ ฝงมากบั
ซอฟตแ์ วรท์ ต่ี ดิ ตง้ั โดยปกตมิ ลั แวรเ์ หลา่ นม้ี กั มกี ารซอ่ นตวั เพอ่ื หลอก
ให้ผู้ ใช้งานติดตั้งซอฟต์แวร์ ท�าให้ผู้ ใช้ ไม่รู้ตัวจนกระทั่งติดต้ังเสร็จ
เรียบร้อย ซ่ึงหากคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นถูกติดตั้งมัลแวร์ ไปแล้ว
สามารถตรวจสอบได ้ ดังนี้

11. สงั เกตความเร็วของ 2. ตรวจสอบความเรว็ ของ

อุปกรณเ์ ทคโนโลยี เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็
อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ติด อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ติด
มัลแวร์มักท�างานช้าลง หรือ มัลแวร์มักไม่สามารถเชื่อมต่อ
อปุ กรณ์นัน้ อาจคา้ งบ่อยข้นึ อนิ เทอรเ์ นต็ ไดห้ รอื เชอื่ มตอ่ ไดช้ า้

3. สงั เกตความผดิ ปกติ 4. เรยี กใชง้ านโปรแกรม

ในการใช้งาน ตรวจจับมลั แวร์
อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ติด ในปัจจุบันนี้ มีโปรแกรม
มัลแวร์บางครั้งอาจจะพบปัญหา ตรวจจับมัลแวร์หลายโปรแกรม
เชน่ ไฟลข์ อ้ มลู หายบอ่ ย ม ีโฆษณา ทีเ่ ปดให้ ใชบ้ รกิ ารไดฟ้ รี
หรอื ข้อความแปลก ๆ ขนึ้ มา

¤Ò¶ÒÁ·ÒŒ ·Ò¡ÒäԴ¢é¹Ñ ÊÙ§

หากนักเรียนตรวจสอบอุปกรณ์เทคโนโลยีแล้ว พบว่า
อุปกรณ์น้ันถูกโจมตีด้วยมัลแวร์ นักเรียนจะมีแนวทางในการ
แกป้ ญั หาอยา่ งไร

100

ภาพจาก หนังสือเรยี น หนา 100

ร์

ว การเช่ือมต่ออุปกรณ์เทคโนโลยีกับอินเทอร์เน็ตมักพบปัญหา
น การถูกโจมตีด้วยมัลแวร์ ซ่ึงวิธีที่ดีท่ีสุดในการรับมือ คือ หลีกเล่ียง
ถ โอกาสในการถูกโจมตีด้วยมัลแวร์ รวมถึงการติดต้ังระบบความ
ปลอดภยั ต่าง ๆ ให้กับอปุ กรณ ์ โดยมแี นวทางในการป้องกนั มลั แวร์
ห้ ดงั นี้

ง 1. ระมัดระวงั การใชง้ านอุปกรณ์เชอ่ื มตอ่ จากภายนอก

อุปกรณ์เชื่อมต่อจากภายนอก เช่น แฟลชไดรฟ ควรท�าการ
สแกนไวรสั ทกุ ครง้ั กอ่ นใช้งาน

2. หลกี เลยี่ งการเปดิ ไฟล์แนบในอีเมลท่ีไมร่ ู้จกั

เมอื่ ไดร้ บั ไฟลแ์ นบจากบคุ คลทไ่ี มร่ จู้ กั ควรหลกี เลย่ี งในการเปด
ไฟล์แนบนั้น หรือต้องตรวจสอบทุกคร้ังก่อนดาวน์โหลดหรือ
เปดไฟล์

3. ส�ารองไฟล์ข้อมลู

นอกจากการเก็บไฟล์ ไว้ ในคอมพิวเตอร์ส่วนตัว ควรมีการ
ส�ารองข้อมูลไว้ ในท่ีเก็บข้อมูลภายนอกด้วย เช่น ฮาร์ดดิสก์
แฟลชไดรฟ  หากไฟลข์ อ้ มลู ในคอมพวิ เตอรถ์ กู โจมตดี ว้ ยมลั แวร์
จะไดม้ ีไฟลข์ ้อมลู ส�ารองให้สามารถใชง้ านตอ่ ได้

4. ระวงั การใช้งาน Wi-Fi สาธารณะ

Wi-Fi ท่ีเปดให้ ใช้งานได้ ในสถานที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะ Wi-Fi
ที่ไม่มีการเข้ารหัสผ่าน ท�าให้ผู้ ไม่หวังดีสามารถเข้ามาใช้งาน
และเขา้ ถึงอุปกรณท์ อี่ ยใู่ นเครอื ขา่ ยเดียวกันไดง้ า่ ยขึ้น

101

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 101

5. ติดตั้งซอฟต์แวร์ป้องกันมลั แวร ์ (Anti-malware)
เม่ือติดต้ังซอฟต์แวร์ป้องกันมัลแวร์แล้ว ควรจะต้ังค่าให้
ซอฟตแ์ วรอ์ ปั เดตอยเู่ สมอ และตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ ไดต้ งั้ คา่ ให้
โปรแกรมทา� งานแลว้

6. อัปเดตคอมพิวเตอรแ์ ละซอฟตแ์ วรส์ ม่า� เสมอ
เนอื่ งจากไวรสั ถกู สรา้ งขนึ้ ตลอดเวลา จงึ ตอ้ งอปั เดตระบบรกั ษา
ความปลอดภยั เพ่ือแก้ไขปญั หาคอมพวิ เตอรอ์ ยเู่ สมอ

µÇÑ Í‹ҧ á¹Ç·Ò§ã¹¡ÒõÃǨÊͺáÅл͇ §¡Ñ¹ÁÅÑ áÇÏ

ในขณะที่โป้ก�าลังใช้งานคอมพิวเตอร์อยู่ ปูได้น�าแฟลชไดรฟ
มาให้โป้เปดและส่งงานคุณครูผ่านอีเมลให้ เม่ือโป้ส่งงานให้ปูเสร็จแล้ว
โป้เกิดสงสัยขึ้นว่า คอมพิวเตอร์ของตนเองจะติดไวรัสหรือไม่ โป้จะมี
วธิ กี ารตรวจสอบได้อยา่ งไร
จากสถานการณ์ดังกล่าว โป้
ควรจะตรวจสอบการท�างานของ
คอมพิวเตอร์ก่อนว่า มีการท�างาน
ผดิ ปกต ิ เชน่ คอมพวิ เตอร์ท�างาน
ช้าลง ขอ้ มูลหายหรือไม่ ถ้าพบวา่
เป็นเช่นน้ันให้รีบสแกนไวรัส เพื่อ
ตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ติดไวรัส
หรอื ไม่

102

ภาพจาก หนังสอื เรียน หนา 102

ci ¡¨Ô ¡ÃÃÁ Com Sci
น ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ
ดี

ห้ ให้นักเรยี นจบั กลมุ่ แล้วรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั ข้อด ี ขอ้ ควรระวัง
น และข้อควรปฏิบัติในการใช้งานอินเทอร์เน็ตสาธารณะหรือไวไฟฟรี
า เพื่อใหป้ ลอดภัยตอ่ มัลแวร์


1. สถานทท่ี ีพ่ บอนิ เทอร์เน็ตสาธารณะ

2. ขอ้ ดขี องอนิ เทอร์เนต็ สาธารณะ
3. ขอ้ ควรระวงั ของอินเทอรบเ์นั นท็ตกึ ลสงใานธสามดุรณะ

4. ขอ้ ควรปฏิบัติในการใช้งานอินเทอร์เนต็ สาธารณะ

ทักษะการเรยี นร้ ูในศตวรรษท ่ี 21 2. ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์ 103
1. ทักษะการรู้เทา่ ทันเทคโนโลย ี
3. ทักษะการท�างานรว่ มกับผ้อู ่ืน
ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 103

เเกล่นม กับ Com Sci

เกมมลั แวรอ ะไรเอย ?

กตกิ า

ให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนแล้วหันหน้าเข้าหากัน จากนั้น
ให้คุณครูพูดค�าว่า “มัลแวร์อะไรเอ่ย ? ที่มีลักษณะ….”
แล้วบอกลักษณะของมัลแวร์ใดก็ได้ นักเรียนแต่ละคู่จะต้อง
แข่งกันทายช่ือมัลแวร์จากลักษณะท่ีครูก�าหนดให้ หาก
นักเรียนคนใดตอบช้าหรือตอบผิดให้ตกรอบและไปต่อหลัง
คนทชี่ นะ แลว้ ใหค้ นทช่ี นะหาคใู่ หม ่ เลน่ จนกวา่ จะเหลอื ผชู้ นะ

เพยี งคนเดียว จงึ ส้ินสุดเกม

µÃǨÊͺµ¹àͧ กจิ กรรม สรปุ ความรปู ระจาํ หนว ยท่ี 4

หลงั จากเรยี นจบหนว่ ยนแี้ ลว้ ใหบ้ อกสญั ลกั ษณท์ ตี่ รงกบั ระดบั ความสามารถของตนเอง

รายการ เกณฑ์

ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ

1. ใ ช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่าง
ปลอดภัย

2. เข้าใจหลกั การในการกา� หนดรหสั ผา่ น

3. เข้าใจวธิ ีการก�าหนดสิทธ์ใิ นการเขา้ ใชง้ าน

4. เขา้ ใจวิธีการตรวจสอบและปอ้ งกันมัลแวร์
5. ท ราบถึงอันตรายจากการตดิ ตั้งซอฟตแ์ วร์

104 จากอินเทอรเ์ น็ต

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา้ 104

มี ÊÃØ» ÊÒÃÐÊÒí ¤ÞÑ

ง แจง ผปู กครองหรือครู
ยี ไมห ลงเช่อื ขอมูล หากพบเห็นการใชง าน
บนอนิ เทอรเ น็ตโดยงาย อนิ เทอรเนต็ ที่ไมเหมาะสม ไมค วรไปพบบุคคลใดกต็ าม
ทรี่ จู กั ทางอินเทอรเนต็ เพยี งลาํ พงั
ะ ไมเ ขาเว็บไซตท่ีเผยแพร
ศ เนอื้ หาผดิ กฎหมาย อแันนตวทรอาานิ ยงเจใทนาอกกรากเรานปรต็ ใอ ชงง กานัน ตดิ ต้งั โปรแกรมปองกนั ไวรัส
ต้งั รหสั ผานในการเขา สรู ะบบ
ไมเ ปดเผย
ขอ มูลสว นตวั

การกอ อาชญากรรม การกระทําผดิ กฎหมาย ศึกษาขอ กฎหมายเกยี่ วกับการใช
ทางอนิ เทอรเ นต็ โดยรเู ทา ไมถงึ การณ งานคอมพวิ เตอรและอนิ เทอรเน็ต

อนั ตรายจากการใชง าน การใชงานเทคโนโลยี การกําหนด
อินเทอรเ นต็ สารสนเทศ รหสั ผา น
การกาํ หนดสิทธิ์
การหลอกลวง การลอลวง ในการเขา ใชงาน
แบบฟช ชิง เยาวชน

การเผยแพรข อ มลู
ที่ ไมเหมาะสม

§¤Ò¹ÇÒà·Á¤»âŹÍâ´ÅÀÂÂÑÊÕ ãҹáÊÒ¹Ãà·ãªÈŒ

หนอน ไวรสั สังเกตความเรว็ ของ
อินเทอรเ น็ต คอมพิวเตอร อปุ กรณเ ทคโนโลยี

โปรแกรมดักจบั การติดตั้งซอฟตแวร ตรวจสอบความเร็ว
ขอมลู อันตรายจากการ จากอินเทอรเน็ต แนวทางในการ ของเครือขาย
โปรแกรม ตดิ ต้งั ซอฟตแ วร ตรวจสอบมัลแวร อนิ เทอรเ นต็
เรียกใชงาน
โปรแกรม
โฆษณา ตรวจจับมลั แวร
ระมดั ระวังการใชง าน แนวทางในการ สังเกตความผดิ ปกติ
มาโทรจนั โปรแกรม อปุ กรณเ ช่อื มตอจาก ตรวจสอบ ในการใชงาน
เรียกคา ไถ และปอ งกนั มัลแวร
ภายนอก

หลีกเใลนย่ี องีเกมสาลาํรทรเปี่อไมดงรไไฟฟจู ลกัลขแ อ นมบลู Wรiะ-วFังiกสแาปรานอใธวชงางทกราันณานงมะใัลนแกตวาปดิรรอต งงั้ กซนั อมฟัลตแแ ววรรแ ค ลอสะอมมซัปพํ่าอเเฟวิ สดเตมตตแออวรร 

105

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 105

กิจกรรม
เสริมสรางการเรียนรู

1. ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภิปรายกับเพือ่ นในชนั้ เรยี นวา่ หากนกั เรียน
ได้รับอีเมลดังต่อไปน้ี นักเรียนควรท�าอย่างไร เพราะเหตุใด
พรอ้ มบอกวธิ กี ารสงั เกตและปอ้ งกนั อนั ตรายจากการใชง้ านอเี มล
บนั ทกึ ค�าตอบลงในสมุด

From: [email protected]

เรยี น ทา นสมาชกิ
เราไดระงับการใชงานบัญชีของคุณดวยเหตุผลดานความปลอดภัย เนื่องจาก

บญั ชีของคณุ ลาสมัย และตองการการอัปเดตขอ มูล
หากตองการใชงานบัญชีของคุณอีกครั้ง เราขอแนะนําใหคุณกดปุมตรวจสอบ

บัญชีดานลาง เพื่อทาํ การล็อกอนิ และอัปเดตขอมลู สว นตัวกอ น 12 ชวั่ โมง มเิ ชนน้ัน
บญั ชีของคุณจะถกู ลอ็ กอยา งถาวร

ตรวจสอบบัญชี

ลงชือ่ ใชง าน
ใชบัญชี Google ของคุณ

อเี มลหรือโทรศัพท
รหัสผาน

เขา สรู ะบบ

106

ภาพจาก หนังสือเรยี น หนา 106

ว 2. ใ ห้นักเรียนทดลองตั้งรหัสผ่านของตนเองโดยมีความยาว 8-12
ตัวอักษร แล้วทดสอบความปลอดภัยของรหัสผ่านท่ีต้ังข้ึนกับ
เว็บไซต์ท่ีให้บริการตรวจสอบรหัสผ่าน หากผลลัพธ์ที่ได้พบว่า
 รหัสผ่านมีระดับความปลอดภัยต่�า ให้นักเรียนเปล่ียนรหัสผ่าน
และทดสอบความปลอดภยั ใหมจ่ นกวา่ จะไดร้ ะดบั ความปลอดภยั สงู
โดยให้บนั ทึกรหัสผา่ นที่ตงั้ ขึน้ ลงในสมดุ

µÇÑ ÍÂÒ‹ § เวบ็ ไซต์ทใี่ ห้บริการตรวจสอบรหัสผา่ น

https://howsecureismypassword.net https://password.kaspersky.com

บนั ทึกรหสั ผ่าน ระดบั ความปลอดภยั
1. ระดับความปลอดภัย
2. ระดบั ความปลอดภยั
3. ระดับความปลอดภยั
4.

107

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา้ 107


Click to View FlipBook Version