The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Sustainable Development Goals 3 : Good Health And Well-Being

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Matchima Janthong, 2024-05-08 14:01:16

SDGs3

Sustainable Development Goals 3 : Good Health And Well-Being

S GOOD D HEALTH A G ND WELL-BEING LOREM IPSUM IS SIMPLY DUMMY TEXT OF THE PRINTING AND TYPESETTING INDUSTRY. LOREM IPSUM HAS BEEN THE INDUSTRY'S STANDARD DUMMY TEXT SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS สุขภาวะทางจิตในวัยรุ่น 3


1 2 3 ผู้อ่านสามารถมีพฤติกรรม ที่ส่งเสริมการมีสุขภาวะที่ดีตาม ช่วงวัยของตน ผู้อ่านสามารถหลีกเลี่ยงต่อ สุขภาพจิตได้อย่างเหมาะสม ผู้อ่านสามารถนำ องค์ความรู้ที่ได้หลังการอ่านไป ปรับใช้ในการพัฒนา ยกระดับ ความเป็นอยู่ทั้งในระดับบุคคล ชุมชน และท้องถิ่น


ที่มา • ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลกระทบต่อความ สามารถในการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของเด็ก ทั้งในห้องเรียนและในชีวิตประจำ วัน ทำ ให้ปัจจุบัน มีเยาวชนไทยประสบปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะทาง จิตจำ นวนมาก หลายคนเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ที่ อาจส่งผลต่อสุขภาพจิต เช่น ความยากจน ความ เหลื่อมล้ำ และการยอมรับในความหลากหลายทาง เพศหรือความรุนแรง เหล่านี้สามารถก่อให้เกิด ปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น ดังนั้นการส่งเสริมและ ปกป้องสุขภาพจิตในวัยรุ่นจึงมีความสำ คัญ เพื่อ ลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงอื่น ๆ ตามมา และเพื่อสร้างเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจ ให้สมบูรณ์เพื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ต่อไป ความสำ คัญ และ


• จากผลกระทบของกระแสโลกาภิวัฒน์ (GLOBALIZATION) ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ในสังคมไทยที่มีความเจริญด้านเทคโนโลยีและมี สภาพความเป็นสังคมเมืองมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลให้ ค่านิยมทางด้านวัตถุ สภาพเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชนนั้นเปลี่ยนแปลงไปจนทำ ให้การ ดำ เนินชีวิตต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เวลา นอกจากนี้ยังพบว่า การดำ เนินชีวิตที่มีการ แข่งขันและความเห็นแก่ตัวสูงขึ้นนั้น ส่งผลให้ความ เป็นอยู่แบบถ้อยทีถ้อยอาศัยอย่างสังคมชนบทในอดีต ลดลง ซึ่งหากใครที่ไม่สามารถปรับตัวกับความ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของกระแสสังคมได้ อาจมี แนวโน้มเป็นผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต จนทำ ให้เกิด พฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนำ ไปสู่ปัญหาทางสุขภาวะได้ เช่น ปัญหาภาวะโรคซึมเศร้าในวันรุ่นที่มีจำ นวนเพิ่ม ขึ้น พฤติกรรมที่ก้าวร้าวรุนแรง รุนแรงที่สุดอาจจะ ถึงการฆ่าตัวตาย เป็นต้น สาเหตุของปัญหาสุขภาพ จิตในวัยรุ่นมักเป็นผลมาจากเรื่องพฤติกรรมเสี่ยง ตามวัย เช่น การคบเพื่อน การติดโซเชียลมีเดีย ติด เกม ติดซื้อของออนไลน์ ใช้ยาเสพติด พฤติกรรมทาง เพศไม่เหมาะสม หรืออาจเป็นเรื่องปัญหาทางอารมณ์ ของวัยรุ่น เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล เป็นต้น ของปัญหา สาเหตุ


COMIC เห้ย! ทำ ไมเล่น แต่กับเด็ก ผู้หญิงวะ ถามไม่ตอบ ไม่ได้ยินหรอออ?! อย่ามาแกล้ง พวกเราเลย สลด! เด็กชายคว้าอาวุธ ทำ ร้ายเพื่ิอน คาดว่าเกิด จากปมถูกบูลลี่ และกลั่นแกล้ง


เหตุการณ์ตัวอย่างนี้คือ “เด็กม.1 ฆ่าเด็ก ม.1” เป็นเรื่องของเด็กชายโฟร์ อายุ 12 ปี ลักขโมยปืนของพ่อมาก่อเหตุยิงเด็กชายแบ็ง อายุ 13 ปี เสียชีวิต สาเหตุมาจากการที่ผู้ก่อเหตุนั้นถูกผู้ตายกลั่นแกล้งด้วยการตบหัว และถูกล้อ ว่าเป็นตุ๊ดเป็นเกย์ รวมไปถึงเพื่อนคนอื่น ๆ ก็ล้อเลียนเช่นกัน เหตุการณ์นี้ สะท้อนให้เห็นถึงความรุนแรงจากการถูกกลั่นแกล้งภายในโรงเรียน คาดได้ว่า ผู้ก่อเหตุซึ่งเป็นผู้ที่ถูกกลั่นแกล้งอาจมีแนวโน้มที่จะประสบกับภาวะซึมเศร้า และเกิดเป็นความเครียดสะสม จึงว่าแผนแล้วก่อให้เกิดเหตุไม่คาดฝันดังกล่าว การล้อเลียนนับเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำ ให้เกิดภาวะซึมเศร้าหรือวิตกกังวลในวัยรุ่น จากตัวอย่างเห็นได้ว่าการถูกล้อเลียนเป็นตุ๊ด เกย์ เพศที่สาม หรือ LGBTQIA+ สำ หรับเด็ก ม.1 นั้น อาจยากที่จะทำ ความเข้าใจหรือปฏิเสธ บาง คนอาจปฏิเสธโดยการใช้ความรุนแรง จากกรณีนี้ ต้นตอปัญหามาจากความ รุนแรงในโรงเรียนจากการถูกกลั่นแกล้งและถูกล้อเลียน สะท้อนให้เห็นว่าใน ระบบการศึกษานั้นยังมีความท้าทายในการที่จะปลูกฝังให้เด็กไม่ใช้ความ รุนแรงมากลั่นแกล้ง ล้อเลียนกัน ทั้งนี้ควรมีการส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยว กับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ไม่ใช้ความรุนแรงกลั่นแกล้งผู้อื่น และเข้าใจถึง ความเปิดกว้างทางเพศ เช่น การมีภูมิคุ้มกันที่ดีขึ้น การมีกิจกรรมทางกายที่ มากขึ้น และสามารถฟื้นตัวเร็วขึ้นจากอาการเจ็บป่วยทางกาย ตัวอย่างสถานการณ์ที่ 1 ผลจากการ ถูถู ถูถู กกลั่ลั่ ลั่ลั่ นแกล้ล้ ล้ล้ ง โดนล้ล้ ล้ล้ อเลีลี ลีลี ยน ! !


COMIC ฉันโดนกดดันเรื่อง การเรียนจากครอบครัว ทำ ไมฉันถึงไม่ได้ทำ ในสิ่งที่ฉัน อยากทำ และเป็นตัวของฉันเอง ? ทำ ไมฉันต้องโดน เปรียบเทียบอยู่เสมอ แม่อยากให้แซสเนส เป็นหมอนะ ทำ ไมกันนะ ฉันดีไม่พอ หรอ?? ดูอย่างลูกบ้านนั้นสิ เรียนก็เก่ง ฿฿#&&#6 7%8% แม่อยากให้ลูกเป็น แบบนี้มากกว่านะคืองี้ค่ะ พี่ต้นหอม พี่เผือก และพี่ลูกกอล์ฟ ฿฿#&&#6 7%8% มีอะไรระบายมาได้เลยค่ะน้องแซสเนส ฉันแค่อยากให้ พวกเขารู้และ รับฟังฉันบ้าง ฉันไม่อยาก โดนเปรียบ เทียบกับ ใคร


เด็กหญิงอายุ 16 ปี โดนกดดันเรื่องเรียนจาก ที่บ้าน ถูกเปรียบเทียบกับลูกบ้านอื่นจนเกิดภาวะ ซึมเศร้า คิดอยากฆ่าตัวตาย โดยเธอนั้นอยากให้ พ่อแม่รับฟังตัวเธอมากกว่านี้ อยากให้พวกเขาให้ กำ ลังใจเธอบ้าง โดย “น้องโม (นามสมมุติ)” ได้ เล่าว่าตอนเด็ก ๆ เธอเป็นคนเรียนหนังสือไม่เก่ง อ่านหนังสือไม่ค่อยออก ถ้าสอบได้คะแนนไม่ดี เกรดตก พ่อแม่ก็จะกดดันและไม่ให้กำ ลังใจ เขา ชอบพูดว่าทำ ไมเธอถึงไม่ได้เหมือนคนอื่น ๆ และ เริ่มกดดันเธอตั้งแต่ตอนประถมแต่ช่วงที่โดนกดดัน หนัก ๆ จะเป็นช่วง ป.5-ป.6 ที่ช่วงนึงเธอสอบได้ ที่สุดท้ายของห้องและของชั้นเรียน เมื่อพ่อแม่รู้ก็ พูดกดดันว่า ทำ ไมทำ ได้แบบนี้? ทำ ไมทำ ได้ไม่ดี? ทำ ให้เธอเก็บกดและมีอาการเหมือนจะเป็นโรคซึมเศร้าและเคยคิดที่จะจบชีวิต คิดว่าถ้าไม่มีเธออยู่ พ่อแม่คงน่าจะรู้สึกดีขึ้น ตอนนี้เธออยู่ ม.4 เรียน สายวิทย์-คณิต และเริ่มชอบดาราเกาหลี ชอบดู การ์ตูน ซีรีส์ และมีดาราเกาหลีคนโปรดกับตัวการ์ตูนที่ชอบเป็นแรงบันดาลใจคอยช่วย เธอ อยากให้พ่อแม่รับฟังตัวเองมากกว่านี้ อยากให้ พวกเขาให้กำ ลังใจ ให้ความอบอุ่นมากกว่านี้ เพราะช่วงที่ผ่านมาเธอไม่กล้าคุย ไม่กล้าบอก พ่อแม่เลย เธอเก็บกดมาหลายปีแล้ว พอถึงเวลาที่ จะบอก แม่ก็ดันมาป่วยเป็นมะเร็งระยะที่ 3 ตัวอย่างสถานการณ์ที่ 2 ผลจาก แรงกดดัดั ดัดั นเรื่รื่ รื่รื่ องเรีรี รีรี ยน จากกรณีนี้สะท้อนให้เห็นว่าสภาพแวดล้อม ในครอบครัวมีผลต่อสุขภาวะทางจิตของน้องโม เห็นได้จากที่เธอโดนครอบครัวกดดันเรื่อง การเรียน ทำ ให้เธอไม่มีความกล้าที่จะบอกความในใจหรือความต้องการที่แท้จริงออกไป ได้รับ ความกดดันและเก็บกดจนมีภาวะเสี่ยงที่จะเป็น โรคซึมเศร้าและมีความคิดที่จะจบชีวิตลง ซึ่ง ความสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นปัจจัยภายนอกที่ส่ง อิทธิพลต่อสุขภาวะทางจิต การที่ปัจจัยนี้ส่งผลดี ต่อสุขภาวะทางจิตจะส่งผลให้บุคคลนั้นมีความสุข และเห็นคุณค่าในตนเอง แต่ในกรณีดังกล่าวครอบครัวกลับเป็น ปัจจัยที่บั่นทอนความมั่นใจของน้องโมลงและ เป็นต้นเหตุให้ตัวเธอไม่กล้าที่จะบอกความในใจ ออกไป ในตัวอย่างนี้การสื่อสารและการแสดงออก ถือเป็นปัจจัยสำ คัญที่จะทำ ให้สถาบันครอบครัว อันเป็นจุดเริ่มต้นของการมีความสุขและการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นเข้มแข็งการส่งเสริม ความชอบส่วนตัวของลูกเป็นสิ่งสำ คัญที่จะให้ พวกเขากล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ไม่ปกปิด อารมณ์ความรู้สึก และหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ก่อให้เกิด ปัญหาสุขภาวะทางจิต ซึ่งเป็นปัญหาที่พบเจอได้- บ่อยในวัยรุ่น


ภาครัฐควรให้ความสำ คัญเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องความหลากหลายทาง เพศ เพื่อส่งเสริมให้ผู้อ่านได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสมอภาค ความหลากหลายระหว่างเพศ สู่การไม่เลือกปฏิบัติไม่ว่ากับเพศใด 3 ฝึกฝนความคิดและสมาธิ มองโลกในแง่ดีและคิดแต่สิ่งที่ดี ทุกปัญหา มีทางออกให้ค่อยๆ คิดและแก้ไขไปทีละปัญหา การสื่อสารเชิงบวก เริ่มต้นที่การสร้างบรรยากาศที่ดีภายในบ้าน ผู้ปกครองควรเป็นผู้ฟังที่ดี รับฟังเพื่อให้ได้ทราบเรื่องราวปัญหาและ ความรู้สึกของลูก 1 4 แนวทาง ควรส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เปิดกว้างและถูกต้อง ในการแกปั้ ปั ญหา 2


คณะผู้จัดทำ ในฐานะนิสิตครูสังคมศึกษาที่ จะเป็นครูมืออาชีพในอนาคต มีความเห็นว่าครู สามารถส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนมีสุขภาวะทาง จิตที่ดีได้ผ่านการจัดการเรียนการสอน โดยสอด แทรกผ่านเนื้อหาในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ให้ผู้เรียนเข้าใจถึงโครงสร้างทาง สังคม ความแตกต่างหลากหลาย รู้เท่าทัน และ เข้าใจถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมและลดปัจจัยเสี่ยง ร้ายแรงอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นเกี่ยวกับสุขภาวะทางจิต เพื่อให้ผู้เรียนเติบโตเป็นพลเมืองที่สมบูรณ์ทั้งทาง กายและทางจิตใจ ในส่วนของภาครัฐและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ควรมีการประชาสัมพันธ์ถึงวิธีป้องกัน ช่วยเหลือ หรือส่งเสริมการตรวจสุขภาวะทางจิต มีสื่อที่สรุปเนื้อหาได้ครอบคลุมชัดเจน เพื่อให้ ประชาชนเข้าถึงเนื้อหาหรือแหล่งข้อมูลได้อย่างทั่ว ถึงสะดวก รวดเร็ว และทำ ความเข้าใจกับปัญหาได้ ง่ายขึ้น แนวทาง ในการแกปัญหา ้


แบบประเมินสุขภาพจิต BY : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (Department of the mental health ) ลองทำทำทำทำด ู


Thank you for your attention :) Read more! Online ebook


Click to View FlipBook Version